SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
โครงเรื่อง
บทนำ
ระบบสุขภาพในอุดมคติ
ตอน ๑
ระบบบริการสุขภาพในอุดมคติ
ตอน ๒
ระบบการพัฒนาอยางบูรณาการ
ตอน ๓
ระบบนโยบายสาธารณะ
บทสรุป
ระบบสุขภาพองครวม
2
โครงการสงเสริมระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิอัจฉริยะ
(Smart Primary Health Care System)
จุดคานงัดสูระบบสุขภาพองครวม
(ยกรางจากการปรึกษาหารือ)
โดย ประเวศ วะสี
เมื่อ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕
3
บทนำ
๑
ระบบสุขภาพในอุดมคติ
สุขภาพ หมายถึง สุขภาวะที่สมบูรณ ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปญญา
สุขภาพจึงไมได หมายถึง มดหมอ หยูกยา และโรงพยาบาลเทานั้น
แตบูรณาการอยูในการพัฒนาทั้งหมด
ดังมีคำกลาววา "สุขภาพคือทั้งหมด" (Health is the whole)
ระบบสุขภาพจึงกินความถึง ๓ ระบบ ที่คลายกันอยู คือ
๑. ระบบบริการสุขภาพ
๒. ระบบการพัฒนาอยางบูรณาการ
๓. ระบบนโยบายสาธารณะ
ระบบบริการสุขภาพมี ๓ ระดับ คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ
การพัฒนาอยางบูรณาการทำใหเกิดความสมดุล ความสมดุล คือ ความเปนปรกติ ความสุข
หรือสุขภาวะของคนทั้งมวล
นโยบายสาธารณที่ดีทำใหเกิดประโยชนสุขตอมหาชน หรือสุขภาวะของคนทั้งมวล
ระบบสุขภาพจึงประกอบดวย ทั้ง ๓ ระบบ ที่ซอนทับ หรือคลองกันอยู
ระบบบริการปฐมภูมิ มีอาณาบริเวณตั้งแตในบานของประชาชน คือ การดูแลรักษาตัวเองและ
ครอบครัว ไปจนถึงใกลบานและชุมชน
ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิซอนทับกันอยูกับ ระบบสุขภาพชุมชน
4
ตอน ๑
ระบบบริการสุขภาพในอุดมคติ
๑. วัตถุประสงค คนไทยทุกคน ไมวาจะจนอยางไร ไดรับบริการที่สะดวก ทั่วถึง เปนธรรม
และคุณภาพดีที่สุด
๒. องคประกอบของระบบ
๑. โครงสรางของระบบบริการ
๒. จิต หรือการทำหนาที่ ซึ่งอาจเรียกวา ปญญา
๓. การสนับสนุนทางการเงิน
๔. การสนับสนุนทางนโยบาย
๓. องคกรที่รับผิดชอบ
๑. องคกรหลัก-กระทรวงสาธารณสุข องคกรชุมชน องคกรทองถิ่น
๒. องคกรสนับสนุน องคกรตระกูลส. ทั้งหลาย และอื่น ๆ
๔. จุดคานงัด คือ ระบบบริการปฐมภูมิ ระบบบริการปฐมภูมิ ที่ทั่วถึง เปนธรรม และมีคุณภาพสูง
นอกจากเปนปจจัยใหเกิดสุขภาพถวนหนาแลว ยังมีผลกระทบทำใหระบบบริการ
ระดับอื่น ๆ ทั้งหมดดีขึ้น ทำใหคาใชจายทั้งหมดลดลง เรียกวาเปน Good HeaIth at
Low Cost หรือระบบสุขภาพดีที่มีคุณลักษณะ ๓ ประการ
คือ EQE E = Equity
Q = Quality
E = Efficiency
๕. ยุทธศาสตร ระดมสรรพกำลังสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิ
๖. จุดยุทธศาสตร โรงพยาบาลชุมชน
๗. โครงสรางระบบบริการปฐมภูมิ
ประกอบดวย ๗ หนวย คือ
5
(๑) ประชาชนทุกคนสามารถดูแลตนเอง และครอบครัว
(๒) รานขายยาในชุมชน
(๓) หนวยสุขภาพในชุมชน ๑ หนวยตอประชากรประมาณ ๑,๐๐๐ เรียกวา หนวย ๑ : ๑,๐๐๐
(๔) ศูนยการแพทยแผนไทยและทางเลือก ตำบลละ ๑ แหง
(๕) คลินิคเอกชนที่ตั้งอยูใกลชิดชุมชน
(๖) สถานีอนามัยตำบล หรือ รพ.สต. ซึ่งมีครบทุกตำบล
(๗) โรงพยาบาลชุมชนระดับอำเภอ
.............................................................................................................................................................................................
ระบบสุขภาพปฐมภูมิ เชื่อมโยงกับ
(๘) โรงพยาบาลทั่วไป ซึ่งมีทุกจังหวัด ซึ่งเปนทุติยฦมิ
(๙) โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลเอกชน ซึ่งมีผูเชี่ยวชาญเฉพาะ
ทาง ซึ่งเปนตติยภูมิ
ทั้ง ๙ หนวย เชื่อมโยงกันดวยเทคโนโลยีการสื่อสารดิจิทัลที่ทันสมัย ทำใหขอมูล ความรู การ
ปรึกษาหารือ และเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ ไหลเวียนติดตอถึงกันอยางทั่วถึง
ขอมูลประสบการณและความรูที่เกิดจากการเชื่อมโยงหนวยทั้ง ๙ จะมีปริมาณมหาศาล
สามารถนำมาสังเคราะหเปนนโยบาย และทำ AI ที่เหมาะแกการใชงานทุกระดับ เพิ่มคุณภาพและ
ประสิทธิภาพขึ้นไปเรื่อย ๆ ไมมีที่สั้นสุด
6
๘. การวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ตองมีการวิจัยและพัฒนาในแตละหนวยบริการทั้ง ๙ หนวย และการทำงานรวมกันถึง
ปญหาที่พบ การทำหนาที่ ความเหมาะสมของบุคลากร เทคโนโลยีที่ใช การคลอบคลุมประชากร
ครบถวน การประเมินผล และการปรับปรุง
นี่คือการวิจัยระบบที่สำคัญที่สุด
๙. โรงพยาบาลชุมชนทำหนาที่วิจัย และพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ในพื้นที่แตละอำเภอ ทั่ว
ประเทศประมาณ ๘๐๐ อำเภอ
โรงพยาบาลชุมชนจะกลายเปนสถาบันทางวิชาการ
(District Hospital Academy)
ที่ทำหนาที่ทั้งใหบริการ วิจัย และพัฒนาระบบ และสถาบันพัฒนากำลังคนทางดาน
สุขภาพที่เหมาะสมที่สุด ตามแนว 21st
century Health Professions Education
รพ.สต.
๖.
ร้านขายยา
๒.
คลินิคเอกชน
๕.
ศูนย์การแพทย์แผนไทย
๔.
๗. โรงพยาบาลชุมชน
๘. โรงพยาบาลทั�วไป
๙. โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
โรงพยาบาลเอกชน
ภาพโครงสร้างระบบบริการสุขภาพ
๑ – ๗ = หน่วยบริการปฐมภูมิ
ประชาชน
ดูแลตนเอง
๑.
และครอบครัว
ศูนย์สุขภาพในชุมชน
๓.
๙ หน่วย
๑ : ๑,๐๐๐
7
โรงพยาบาลชุมชนมีถึง ๘๐๐ แหง จะเชื่อมโยงกันเปนเครือขายสถาบันวิชาการที่มีพลัง
มหาศาล ในการพัฒนาแผนดินไทยใหเปนแผนดินศานติสุข
ผูอำนวยการและบุคลากรในโรงพยาบาลชุมชนที่เกง ๆ และกัมมันตะมีจำนวนมาก
สามารถทำไดอยางรวดเร็วและกวาง
๑๐. การสนับสนุนโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลชุมชนควรไดรับการสนับสนุนอยางเต็มที่ ทั้ง
ดานความรู เทคโนโลยี และงบประมาณ เปนตน จากทั้งภาครัฐ สถาบันวิจัย เชน สวรส.
มหาวิทยาลัย ภาคธุรกิจ องคกรตระกูลส. ทั้งหมด มูลนิธิโรงพยาบาลรามาธิบดีไดตั้งกองทุน
สนับสนุนโรงพยาบาลชุมชนถือเปนตัวอยางที่ดี มหาวิทยาลัยทั้งหมดควรสนับสนุนโรงพยาบาล
ชุมชน และชุมชน
๑๑. การสนับสนุนดวยเทคโนโลยีดิจิทัลใหเปนระบบอัจฉริยะ ควรมีศูนยนวัตกรรมดิจิทัลทาง
สุขภาพ เพื่อนำเทคโนโลยีที่กาวหนาที่สุดมาใชในระบบสุขภาพ เพื่อคุณภาพชีวิตหรือมีความ
เปนอัจฉริยะ
ศูนยนวัตกรรมดิจิทัลทางสุขภาพ ควรทำงานวิจัยและพัฒนาควบคูไปกับโรงพยาบาล
ชุมชน ๘๐๐ แหง โรงพยาบาลชุมชนซึ่งจะเปนสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ เมื่อทำงาน
ควบคูกันกับศูนยนวัตกรรมดิจิทัลทางสุขภาพ จะทำใหสะดวกและเพิ่มศักยภาพซึ่งกันและกัน
ศูนยนวัตกรรมดิจิทัลทางสุขภาพ ประกอบไปดวยผูเชี่ยวชาญทางเทคโนโลยีดิจิทัลที่
กาวหนาทันสมัยระดับโลก และผูเชี่ยวชาญในการบูรณาการขอมูลสุขภาพ ควรเปนอิสระ อยู
ภายใตความเปนเจาของรวมของสำนักบริการสุขภาพปฐมภูมิ กระทรวงสาธารณสุข คณะ
แพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ และกสทช.
๑๒. ระบบการเงินสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิอัจฉริยะ สปสช.
ควรมีบทบาทในการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิใหมีแรงจูงใจที่จะทำหนาที่ บริบาล
ประชาชนอยางสมบูรณ และมีคุณภาพ ทั้ง ๔ ดาน คือ ปองกันโรค เสริมสรางสุขภาพดี รักษา
โรค และฟนฟูสุขภาพ
ซึ่งควรรวมถึงสามารถดูแลปญหาการแพทยฉุกเฉินไดอยางทันทวงที รวมทั้งบริบาล
ผูสูงอายุทั้งหมดดวยคุณภาพสูง
8
๑๓. การพัฒนาและรับรองคุณภาพของระบบบริการปฐมภูมิ
สรพ. (สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล) ทำงานมากวา ๒๐ ป ไดผลดีมากและมี
ความเขมแข็ง ควรขยายความหมายของคำวา สถานพยาบาล ใหครอบคลุมโครงสรางของ
ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิทั้งหมดดวย
การมีสรพ.มาชวยพัฒนาและรับรองคุณภาพระบบบริการปฐมภูมิ จะทำใหระบบ
บริการปฐมภูมิมีคุณภาพสูงขึ้นเรื่อย ๆ และทำใหวงจรการพัฒนาครบรอบ คือ ผลการประเมิน
คุณภาพจะเปนขอมูลปอนกลับ ทำใหระบบปรับตัวใหดีขึ้นอยางตอเนื่อง
อนึ่ง กระบวนการพัฒนาคุณภาพสถานพยาบาล คือ การสงเสริมการเรียนรูรวมกันใน
การปฏิบัติหรือ PILA (Participatory Interaction Learning through Action) ซึ่งเปน
กระบวนการที่ทรงพลังยิ่งในการกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐาน (Transformation) ใน
ทุกมิติ อีกชื่อหนึ่งของ PILA คือ CBL (Context - Based Learning)
ในเวลากวา ๒๐ ป แหงการทำงานของสรพ. ไดสรางบุคลากรสุขภาพที่มีประสบการณ
PILA หลายหมื่นคน เชนเดียวกับโครงการ R2R (Routine to Research) ที่คณะแพทย
ศาสตรศิริราชไดกำลังดำเนินการอยู กำลังบุคลากรสุขภาพหลายหมื่นคนที่มีประสบการณ
PILA จะเปนพลังพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ
๑๔. การเริ่มตนโครงการ เพื่อใหเริ่มตนได ควรเริ่มดวยองคกรจำนวนนอยกอน แลวคอยขยายความ
รวมมือไปสูทั้งหมด
๓ องคกรที่ปรึกษาหารือกันในเรื่องนี้ คือ
(๑) สำนักบริการสุขภาพปฐมภูมิ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีหนาที่โดยตรง
(๒) คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี ซึ่งมีความสนใจมากถึงกับตั้งกองทุนสนับสนุน
โรงพยาบาลชุมชน เพียงเริ่มตนกองทุนนี้ก็มี ๑๐๐ ลานบาทแลว มีศักยภาพที่จะเติบโต
กวานี้มาก อีกประการหนึ่ง คณบดีกำลังมีดำริที่จะจัดตั้งสถาบันสนับสนุนการขับเคลื่อน
นโยบายสาธารณะ ในมูลนิธิโรงพยาบาลรามาธิบดี โดยที่คนของรามาธิบดีหลายคนมี
ประสบการณขับเคลื่อนนโยบายที่สำคัญ ๆ ไปสูความสำเร็จ ระบบนโยบายสาธารณะใน
อุดมคติเปน ๑ ใน ๓ ของระบบสุขภาพในอุดมคติ ตามที่กลาวในขอ ๑ ตอนที่ ๑
อีกประการหนึ่งรามาธิบดีมีผูเชี่ยวชาญ Health Informatics (นายแพทยบุญชัย)
ที่มีความมุงมั่นจะสรางระบบขอมูลสุขภาพบูรณาการ ซึ่งเปนเรื่องใหญและสำคัญมาก
โครงการสงเสริมระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิอัจฉริยะที่กำลังกลาวอยูนี้ จะเปนหนาตาง
แหงโอกาสที่จะพัฒนาระบบขอมูลสุขภาพบูรณาการ ซึ่งมีความหมายใหญมากหลายดาน
9
(๓) มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ (มสช.) ในฐานะผูริเริ่มและมีความสนใจเรื่องนี้มาก มสช.
ทำงานรวมกับผูอำนวยการโรงพยาบาลกลุมหนึ่ง ซึ่งรวมตัวกันเปน “สถาบันพัฒนา
สุขภาพองครวม” ระบบบริการสุขภาพในอุดมคติตามที่ออกแบบไวและกลาวมาขางตน
นั่นแหละคือระบบสุขภาพองครวม ฉะนั้น สถาบันพัฒนาสุขภาพองครวมในมสช. ที่
ผูอำนวยการโรงพยาบาลชุมชนรวมตัวกันกอตัวขึ้นมานี่แหละ นาจะเปนจุดเริ่มตนของ
การที่วาโรงพยาบาลชุมชน คือ สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ หรือ
ระบบสุขภาพชุมชนนั่นเอง
สปสช. และ สสส. ความมุงมั่นรวมกันของทั้ง ๒ องคกร นี้คือการมีระบบ
สุขภาพในอุดมคติ ฉะนั้น จึงควรมีสวนรวมและสนับสนุนการขับเคลื่อนระบบบริการ
สุขภาพปฐมภูมิอัจฉริยะอยางเต็มที่ เพราะเปนจุดยุทธศาสตรหรือจุดคานงัด ที่จะทำให
ระบบสุขภาพทั้งหมดดีขึ้น
10
ตอน ๒
ระบบการพัฒนาอยางบูรณาการในอุดมคติ
ถามีการพัฒนาอยางบูรณาการเต็มพื้นที่ จะเกิดแผนดินศานติสุข หรือสุขภาวะเต็มแผนดิน
ฉะนั้น จึงถือวาการพัฒนาอยางบูรณาการก็อยูในระบบสุขภาพ ตามคำที่วา “สุขภาพคือทั้งหมด”
(Health is the whole)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
กับการพัฒนาอำเภออยางบูรณาการคือเรื่องเดียวกัน
มีระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กำหนดให
มีคณะกรรมการพชอ. ในแตละอำเภอ ที่มีนายอำเภอเปนประธาน มีสาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) เปน
เลขานุการ
คุณภาพชีวิตระดับอำเภอก็คือ คนทั้งอำเภอมีสุขภาวะ เปนสุขภาวะเกิดจากความสมดุล ความ
สมดุลเกิดจากการพัฒนาอยางบูรณาการ ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิหรือระบบสุขภาพชุมชน เปน
สวนหนึ่งของระบบสุขภาวะอำเภอ
พชอ. ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในอำเภอ และการพัฒนาอำเภออยางบูรณาการ จึงเปน
เรื่องทับซอนกัน และควรบูรณาการอยูในกันและกัน
ไดออกแบบการพัฒนาอำเภออยางบูรณาการสูแผนดินศานติสุข0
*
โดยแตละอำเภอมีจุด
บริหารจัดการ ๑๑๑ จุด คือ
อำเภอ ๑
ตำบล ๑๐
หมูบาน ๑๐๐
= ๑๑๑
*
คูมือพัฒนาอำเภออยางบูรณาการสูแผนดินศานติสุข โดย ศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี
11
แตละจุดบริหารจัดการการพัฒนาอยางบูรณาการให ๘ มิติ เชื่อมโยงอยูในกันและกัน ไดแก
เศรษฐกิจ – จิตใจ – สังคม – สิ่งแวดลอม –
วัฒนธรรม – สุขภาพ – การศึกษา – ประชาธิปไตย
โดยมี สัมมาชีพเต็มพื้นที่ เปนจุดคานงัด
เมื่อทุกหมูบาน ทุกตำบล ทุกอำเภอ มีการพัฒนาอยางบูรณาการทั้ง ๘ มิติ โดยมีสัมมาชีพเปน
จุดคานงัด หมายถึงงัดไปสูทุกเรื่อง ก็จะเกิดความรมเย็นเปนสุขทั้งอำเภอ จึงเรียกวาแผนดินศานติสุข
หรือแผนดินสุขภาวะ
สังเกตวาสุขภาพไมใชเรื่องแยกสวนแตบูรณาการอยูกับอีก ๗ มิติ เพราะสุขภาพคือทั้งหมด
ระบบบริการสุขภาพเปนสวนหนึ่งของสุขภาพองครวม
ดังมีรายละเอียดอยูใน คูมือพัฒนาอำเภออยางบูรณาการสูแผนดินศานติสุข เครื่องมือที่ใชใน
การพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ คือการเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติของคนทั้งอำเภอ และคนจาก
ภายนอกที่เขามาเกี่ยวของ ซึ่งเปนการเรียนรูที่ใหญที่สุด อำเภอทั้งอำเภอจึงกลายเปนมหาวิทยาลัยใน
รูปใหม ซึ่งดีกวา อาจเรียกวา “มหาวิชชาลัยอำเภอ” ทั้งประเทศจะมีถึง ๘๐๐ มหาวิชชาลัยอำเภอ
เปนเครื่องเรียนรูรวมกันของคนทั้งประเทศ เปนเรื่องยิ่งใหญมากและสามารถแกปญหาไดทุกเรื่อง อาจ
เรียกวา “การศึกษารักษาทุกโรค” ทั้งหมดเปน
Education for All
All for Education
Education Cure All
การพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ จึงถือเปน ๑ ใน ๓ ของระบบสุขภาพ ดวยประการฉะนี้
อนึ่ง ในพื้นที่มีผูเกษียณอายุจากอาชีพตาง ๆ ที่ยังมีไฟอยูจำนวนมาก แตไมรูจะมีบทบาท
อยางไรดีจึงจะมีความหมาย แตเมื่อออกแบบการพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการอยางนี้ ทุกคนมีบทบาท
ไดหมดอยางมีประโยชนยิ่ง โครงการคลังสมองนาจะทำความเขาใจเรื่องนี้ และนี่ก็คือการรวมจัดการ
พัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ ตามความใฝฝนของสภาพัฒนฯ นั่นเอง
อนึ่ง ควรนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชสงเสริมการพัฒนาพื้นที่อยางเต็มที่ เพื่อเพิ่มศักยภาพและลด
ความเหลื่อมล้ำ
12
ตอน ๓
ระบบการพัฒนานโยบายสาธารณะในอุดมคติ
นโยบายสาธารณะที่ดี เปนปจจัยหนึ่งที่สำคัญของการมีสุขภาพดี นโยบายสาธารณะที่ดีจะทำ
ใหเกิดสังคมสุขภาวะตามคำนิยามของคำวา สุขภาพ คือสุขภาวะที่สมบูรณ ทางกาย ทางจิต ทางสังคม
และทางปญญา
สช. ถูกสรางขึ้นมาเพื่อเปนเครื่องมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ๑๕ ปผานมา ไดจัดสมัชชา
สุขภาพแหงชาติขึ้นเปนประจำป ซึ่งเปนกระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีสวนรวม สสส. ไดลงทุน
สนับสนุนแผนงานวิจัยนโยบายสาธารณะอยู ๒ สมัย สมัยละ ๕ ป ดวยงบประมาณหลายรอยลานบาท
นอกจากนั้นยังสนับสนุนโครงการเครือขายพัฒนาศักยภาพผูนำสาธารณสุขแนวใหม (คศน.) เปนเวลา
กวา ๑๐ ป สรางผูนำรุนใหมจากอาชีพตาง ๆ ขึ้นมากวา ๑๖๐ คน และตั้งเปนมูลนิธิคศน. ผูนำรุนใหม
เหลานี้เหมาะที่จะเปนผูนำขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ และอื่น ๆ
ขณะนี้เราเขาใจวิธีขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะไปสูความสำเร็จ* ที่เรียกวาสัมฤทธิศาสตรแลว
รอเวลาจัดทัพการขับเคลื่อนไปสูชัยชนะเทานั้น
“กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีสวนรวม” หรือ P4
(Participatory Public Policy Process) นี้
เมื่อทำอยางครบวงจร จะนำคนจากทุกภาคสวนเขามาเชื่อมโยงกันอยางครบวงจร ๑๒ ขั้นตอน
สูความสำเร็จ เปนทั้งกระบวนการทางสังคม กระบวนการทางปญญา กระบวนการทางการเมืองและ
ประชาธิปไตย จะนำประเทศไทยไปสูการลงตัวหมดทุกดาน
ทั้ง เศรษฐกิจ – จิตใจ – สังคม – สิ่งแวดลอม – วัฒนธรรม –
สุขภาพ – การศึกษา และประชาธิปไตย
พรรคการเมืองจะกลายเปนสถาบันพัฒนานโยบายสาธารณะ นักการเมืองจะกลายเปน
ผูเชี่ยวชาญในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ คนไทยจะกลายเปนคนเกงและคนดี เพราะระบบดี
อุปมาเหมือนระบบนาิกา ที่มีฟนเฟองเล็กใหญประกอบกันเขาอยางถูกตอง แตละสวนทำหนาที่ของ
ตนเองอยางถูกตองและสัมพันธกับสวนอื่น ๆ สงใหองครวม คือ นาิกาเดินตรงเวลา ไมมีชิ้นสวนใด
เกะกะเกเร เพราะตางเชื่อมโยงสัมพันธกันอยางแนบแนน
13
ระบบของประเทศที่ดีทำใหเกิดความเปนองครวม ประเทศไทยที่มีคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย
คนไทยทุกคนจะเปนคนเกง คนดี ไมแตกแถวเกะกะเกเร ที่คนไทยเหมือนคนไมดีไมเกงนั้น เพราะเรา
ขาดการคิดเชิงระบบ รวมทั้งมหาวิทยาลัยทั้งหลายดวย
ที่เราพยายามปฏิรูปตาง ๆ แลวไมสำเร็จ เพราะไมมีใครปฏิรูปใครได แต P4 จะเปน
กระบวนการที่คนไทยทั้งหมดเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ อันนำไปสูการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานอยาง
ลึกซึ้ง (Transformation) ในทุกมิติ อยางที่ทุกคนยินดีและมีความสุขรวมกัน เรียกวาเปน
Transformative Force ก็ได อันนำไปสู Transform Thailand P4 จะนำไปสูสังคมศานติสุข หรือ
สังคมสุขภาวะขนาดใหญ จึงถือวากระบวนการนโยบายสาธารณะเปนสวนหนึ่งของ ระบบสุขภาพใน
อุดมคติ
จึงเห็นไดวา ระบบสุขภาพในอุดมคติประกอบดวย
๑. ระบบบริการสุขภาพในอุดมคติ
๒. ระบบการพัฒนาอยางบูรณาการในอุดมคติ
๓. ระบบนโยบายสาธารณะในอุดมคติ
รวมเปน ระบบสุขภาพองครวม
เมื่อมีความเปนองครวม จะมีคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย ผุดบังเกิดขึ้น
คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยของสุขภาพองครวมเปนอยางไร ทุกทานสามารถจินตนาการเอาได
เพื่อใหเห็นภาพเปรียบเทียบ เมื่อเครื่องบินที่ประกอบชิ้นสวนครบเปนองครวม มันมีคุณสมบัติ
ใหม คือ บินได ในขณะที่ชิ้นสวนตาง ๆ ไมมีชิ้นใดบินไดเลย
14
บทสรุป
ระบบสุขภาพในอุดมคติ หรือระบบสุขภาพองครวมนั้น เปนทุกสิ่งทุกอยาง สุดแตจะหาคำพูด
มานิยาม เชน Health Equity หรือ Health Justice เปนสันติภาพ (Peace is Health / Health is
Peace) เปนสิ่งสูงสุด (Summum Bonum) เปนจุดมุงมั่นรวมกันของมนุษยชาติ ฯลฯ
ที่วาเปนทุกสิ่งทุกอยาง เพราะ “สุขภาพคือทั้งหมด” (Health is the whole)
เรามีทรัพยากรและเครื่องมือมาก แตขาดการออกแบบ
วัตถุประสงคกำหนดระบบและโครงสราง
เชน ถาวัตถุประสงคคือตองการอะไรที่บินได ก็ตองออกแบบระบบและโครงสรางเครื่องบิน
แลวเอาชิ้นสวนมาประกอบตามโครงสราง พอครบเปนองครวมเครื่องบินก็เกิดคุณสมบัติใหมอัน
มหัศจรรย
การออกแบบระบบและโครงสรางระบบสุขภาพองครวม ดำเนินตามหลักการที่วานี้ ขอใหผูที่
อยากทำเรื่องดี ๆ ซึ่งมีมากมาย ลองพิจารณาถึงวิธีคิดเชิงระบบและการจัดการ นอกเหนือไปจากการ
คิดเชิงเทคนิคและพฤติกรรมสวนบุคคลแตเพียงอยางเดียว
จากประสบการณในชีวิตอันยาวนานของผม ที่ฝนใฝอยากใหประเทศไทยดีขึ้น แตไมมีความรู
อะไรเลย
ผมสรุปวา คนไทยมีความดีหลายอยาง บางอยางก็เดนมาก แตขาดสมรรถนะในการคิดเชิง
ระบบและการจัดการ คงคิดแตทางเทคนิคและพฤติกรรมสวนบุคคลเทานั้น ระบบการศึกษาก็คิดเชนนี้
จึงติดอยูในสภาวะวิกฤตเรื้อรัง ไมสามารถออกจากสภาวะวิกฤตได
การรวมพัฒนาระบบสุขภาพในอุดมคติ นาจะเปนยุทธศาสตรที่ดีที่สุด สันติที่สุด ใชปญญามาก
ที่สุด ที่ทำใหประเทศไทยเปลี่ยนผาน (Transform) ทุกมิติ ไปสูการเปนประเทศสุขภาวะ หรือแผนดิน
ศานติสุข
15
ถาองคกรตระกูลส. ทั้งหมด มีความมุงมั่นรวมกันที่ระบบสุขภาพองครวม นาจะมีแรงโนมถวง
(gravity) ที่จะดึงทุกภาคสวนเขามารวม เปนมวลใหญมากขึ้นเรื่อย ๆ จนครอบคลุมหมดทั้งประเทศ
และทั้งโลก สมกับเปนความฝนใหญขององคกรสุขภาพ ที่วา
“Health and well - being of mandkind around the world”
ขอฝากประเทศไทยไวกับคนรุนใหมทุกคน คือ คนไทยที่อายุนอยกวาผมทุกคน
ประเวศ วะสี
๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551Tos Prom
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์กทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์กmakusoh026
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncds ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncds ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncds ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncds ระดับจังหวัดAuamporn Junthong
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขUtai Sukviwatsirikul
 
Reporting of pharmacovigilance and role of pharmacist
Reporting of pharmacovigilance and role of pharmacistReporting of pharmacovigilance and role of pharmacist
Reporting of pharmacovigilance and role of pharmacistDr. Ramesh Bhandari
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
คู่มือดูแลสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน
คู่มือดูแลสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน คู่มือดูแลสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน
คู่มือดูแลสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน Utai Sukviwatsirikul
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านZiwapohn Peecharoensap
 

Was ist angesagt? (20)

6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
6การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์กทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncds ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncds ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncds ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncds ระดับจังหวัด
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
10
1010
10
 
Reporting of pharmacovigilance and role of pharmacist
Reporting of pharmacovigilance and role of pharmacistReporting of pharmacovigilance and role of pharmacist
Reporting of pharmacovigilance and role of pharmacist
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
How to read article
How to read articleHow to read article
How to read article
 
คู่มือดูแลสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน
คู่มือดูแลสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน คู่มือดูแลสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน
คู่มือดูแลสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
 

Ähnlich wie G health system.pdf

แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยAuamporn Junthong
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53Yumisnow Manoratch
 
ร้านยาคุณภาพกับบริการปฐมภูมิ
ร้านยาคุณภาพกับบริการปฐมภูมิร้านยาคุณภาพกับบริการปฐมภูมิ
ร้านยาคุณภาพกับบริการปฐมภูมิChuchai Sornchumni
 

Ähnlich wie G health system.pdf (20)

Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
Prawase_Health.pdf
Prawase_Health.pdfPrawase_Health.pdf
Prawase_Health.pdf
 
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdfHealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
Health Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health InformaticsHealth Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health Informatics
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
Functions of Health Systems
Functions of Health SystemsFunctions of Health Systems
Functions of Health Systems
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
 
ร้านยาคุณภาพกับบริการปฐมภูมิ
ร้านยาคุณภาพกับบริการปฐมภูมิร้านยาคุณภาพกับบริการปฐมภูมิ
ร้านยาคุณภาพกับบริการปฐมภูมิ
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 

Mehr von Pattie Pattie

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศPattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 

Mehr von Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

G health system.pdf

  • 2. 2 โครงการสงเสริมระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิอัจฉริยะ (Smart Primary Health Care System) จุดคานงัดสูระบบสุขภาพองครวม (ยกรางจากการปรึกษาหารือ) โดย ประเวศ วะสี เมื่อ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕
  • 3. 3 บทนำ ๑ ระบบสุขภาพในอุดมคติ สุขภาพ หมายถึง สุขภาวะที่สมบูรณ ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปญญา สุขภาพจึงไมได หมายถึง มดหมอ หยูกยา และโรงพยาบาลเทานั้น แตบูรณาการอยูในการพัฒนาทั้งหมด ดังมีคำกลาววา "สุขภาพคือทั้งหมด" (Health is the whole) ระบบสุขภาพจึงกินความถึง ๓ ระบบ ที่คลายกันอยู คือ ๑. ระบบบริการสุขภาพ ๒. ระบบการพัฒนาอยางบูรณาการ ๓. ระบบนโยบายสาธารณะ ระบบบริการสุขภาพมี ๓ ระดับ คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ การพัฒนาอยางบูรณาการทำใหเกิดความสมดุล ความสมดุล คือ ความเปนปรกติ ความสุข หรือสุขภาวะของคนทั้งมวล นโยบายสาธารณที่ดีทำใหเกิดประโยชนสุขตอมหาชน หรือสุขภาวะของคนทั้งมวล ระบบสุขภาพจึงประกอบดวย ทั้ง ๓ ระบบ ที่ซอนทับ หรือคลองกันอยู ระบบบริการปฐมภูมิ มีอาณาบริเวณตั้งแตในบานของประชาชน คือ การดูแลรักษาตัวเองและ ครอบครัว ไปจนถึงใกลบานและชุมชน ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิซอนทับกันอยูกับ ระบบสุขภาพชุมชน
  • 4. 4 ตอน ๑ ระบบบริการสุขภาพในอุดมคติ ๑. วัตถุประสงค คนไทยทุกคน ไมวาจะจนอยางไร ไดรับบริการที่สะดวก ทั่วถึง เปนธรรม และคุณภาพดีที่สุด ๒. องคประกอบของระบบ ๑. โครงสรางของระบบบริการ ๒. จิต หรือการทำหนาที่ ซึ่งอาจเรียกวา ปญญา ๓. การสนับสนุนทางการเงิน ๔. การสนับสนุนทางนโยบาย ๓. องคกรที่รับผิดชอบ ๑. องคกรหลัก-กระทรวงสาธารณสุข องคกรชุมชน องคกรทองถิ่น ๒. องคกรสนับสนุน องคกรตระกูลส. ทั้งหลาย และอื่น ๆ ๔. จุดคานงัด คือ ระบบบริการปฐมภูมิ ระบบบริการปฐมภูมิ ที่ทั่วถึง เปนธรรม และมีคุณภาพสูง นอกจากเปนปจจัยใหเกิดสุขภาพถวนหนาแลว ยังมีผลกระทบทำใหระบบบริการ ระดับอื่น ๆ ทั้งหมดดีขึ้น ทำใหคาใชจายทั้งหมดลดลง เรียกวาเปน Good HeaIth at Low Cost หรือระบบสุขภาพดีที่มีคุณลักษณะ ๓ ประการ คือ EQE E = Equity Q = Quality E = Efficiency ๕. ยุทธศาสตร ระดมสรรพกำลังสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิ ๖. จุดยุทธศาสตร โรงพยาบาลชุมชน ๗. โครงสรางระบบบริการปฐมภูมิ ประกอบดวย ๗ หนวย คือ
  • 5. 5 (๑) ประชาชนทุกคนสามารถดูแลตนเอง และครอบครัว (๒) รานขายยาในชุมชน (๓) หนวยสุขภาพในชุมชน ๑ หนวยตอประชากรประมาณ ๑,๐๐๐ เรียกวา หนวย ๑ : ๑,๐๐๐ (๔) ศูนยการแพทยแผนไทยและทางเลือก ตำบลละ ๑ แหง (๕) คลินิคเอกชนที่ตั้งอยูใกลชิดชุมชน (๖) สถานีอนามัยตำบล หรือ รพ.สต. ซึ่งมีครบทุกตำบล (๗) โรงพยาบาลชุมชนระดับอำเภอ ............................................................................................................................................................................................. ระบบสุขภาพปฐมภูมิ เชื่อมโยงกับ (๘) โรงพยาบาลทั่วไป ซึ่งมีทุกจังหวัด ซึ่งเปนทุติยฦมิ (๙) โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลเอกชน ซึ่งมีผูเชี่ยวชาญเฉพาะ ทาง ซึ่งเปนตติยภูมิ ทั้ง ๙ หนวย เชื่อมโยงกันดวยเทคโนโลยีการสื่อสารดิจิทัลที่ทันสมัย ทำใหขอมูล ความรู การ ปรึกษาหารือ และเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ ไหลเวียนติดตอถึงกันอยางทั่วถึง ขอมูลประสบการณและความรูที่เกิดจากการเชื่อมโยงหนวยทั้ง ๙ จะมีปริมาณมหาศาล สามารถนำมาสังเคราะหเปนนโยบาย และทำ AI ที่เหมาะแกการใชงานทุกระดับ เพิ่มคุณภาพและ ประสิทธิภาพขึ้นไปเรื่อย ๆ ไมมีที่สั้นสุด
  • 6. 6 ๘. การวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ตองมีการวิจัยและพัฒนาในแตละหนวยบริการทั้ง ๙ หนวย และการทำงานรวมกันถึง ปญหาที่พบ การทำหนาที่ ความเหมาะสมของบุคลากร เทคโนโลยีที่ใช การคลอบคลุมประชากร ครบถวน การประเมินผล และการปรับปรุง นี่คือการวิจัยระบบที่สำคัญที่สุด ๙. โรงพยาบาลชุมชนทำหนาที่วิจัย และพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ในพื้นที่แตละอำเภอ ทั่ว ประเทศประมาณ ๘๐๐ อำเภอ โรงพยาบาลชุมชนจะกลายเปนสถาบันทางวิชาการ (District Hospital Academy) ที่ทำหนาที่ทั้งใหบริการ วิจัย และพัฒนาระบบ และสถาบันพัฒนากำลังคนทางดาน สุขภาพที่เหมาะสมที่สุด ตามแนว 21st century Health Professions Education รพ.สต. ๖. ร้านขายยา ๒. คลินิคเอกชน ๕. ศูนย์การแพทย์แผนไทย ๔. ๗. โรงพยาบาลชุมชน ๘. โรงพยาบาลทั�วไป ๙. โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลเอกชน ภาพโครงสร้างระบบบริการสุขภาพ ๑ – ๗ = หน่วยบริการปฐมภูมิ ประชาชน ดูแลตนเอง ๑. และครอบครัว ศูนย์สุขภาพในชุมชน ๓. ๙ หน่วย ๑ : ๑,๐๐๐
  • 7. 7 โรงพยาบาลชุมชนมีถึง ๘๐๐ แหง จะเชื่อมโยงกันเปนเครือขายสถาบันวิชาการที่มีพลัง มหาศาล ในการพัฒนาแผนดินไทยใหเปนแผนดินศานติสุข ผูอำนวยการและบุคลากรในโรงพยาบาลชุมชนที่เกง ๆ และกัมมันตะมีจำนวนมาก สามารถทำไดอยางรวดเร็วและกวาง ๑๐. การสนับสนุนโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลชุมชนควรไดรับการสนับสนุนอยางเต็มที่ ทั้ง ดานความรู เทคโนโลยี และงบประมาณ เปนตน จากทั้งภาครัฐ สถาบันวิจัย เชน สวรส. มหาวิทยาลัย ภาคธุรกิจ องคกรตระกูลส. ทั้งหมด มูลนิธิโรงพยาบาลรามาธิบดีไดตั้งกองทุน สนับสนุนโรงพยาบาลชุมชนถือเปนตัวอยางที่ดี มหาวิทยาลัยทั้งหมดควรสนับสนุนโรงพยาบาล ชุมชน และชุมชน ๑๑. การสนับสนุนดวยเทคโนโลยีดิจิทัลใหเปนระบบอัจฉริยะ ควรมีศูนยนวัตกรรมดิจิทัลทาง สุขภาพ เพื่อนำเทคโนโลยีที่กาวหนาที่สุดมาใชในระบบสุขภาพ เพื่อคุณภาพชีวิตหรือมีความ เปนอัจฉริยะ ศูนยนวัตกรรมดิจิทัลทางสุขภาพ ควรทำงานวิจัยและพัฒนาควบคูไปกับโรงพยาบาล ชุมชน ๘๐๐ แหง โรงพยาบาลชุมชนซึ่งจะเปนสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ เมื่อทำงาน ควบคูกันกับศูนยนวัตกรรมดิจิทัลทางสุขภาพ จะทำใหสะดวกและเพิ่มศักยภาพซึ่งกันและกัน ศูนยนวัตกรรมดิจิทัลทางสุขภาพ ประกอบไปดวยผูเชี่ยวชาญทางเทคโนโลยีดิจิทัลที่ กาวหนาทันสมัยระดับโลก และผูเชี่ยวชาญในการบูรณาการขอมูลสุขภาพ ควรเปนอิสระ อยู ภายใตความเปนเจาของรวมของสำนักบริการสุขภาพปฐมภูมิ กระทรวงสาธารณสุข คณะ แพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ และกสทช. ๑๒. ระบบการเงินสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิอัจฉริยะ สปสช. ควรมีบทบาทในการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิใหมีแรงจูงใจที่จะทำหนาที่ บริบาล ประชาชนอยางสมบูรณ และมีคุณภาพ ทั้ง ๔ ดาน คือ ปองกันโรค เสริมสรางสุขภาพดี รักษา โรค และฟนฟูสุขภาพ ซึ่งควรรวมถึงสามารถดูแลปญหาการแพทยฉุกเฉินไดอยางทันทวงที รวมทั้งบริบาล ผูสูงอายุทั้งหมดดวยคุณภาพสูง
  • 8. 8 ๑๓. การพัฒนาและรับรองคุณภาพของระบบบริการปฐมภูมิ สรพ. (สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล) ทำงานมากวา ๒๐ ป ไดผลดีมากและมี ความเขมแข็ง ควรขยายความหมายของคำวา สถานพยาบาล ใหครอบคลุมโครงสรางของ ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิทั้งหมดดวย การมีสรพ.มาชวยพัฒนาและรับรองคุณภาพระบบบริการปฐมภูมิ จะทำใหระบบ บริการปฐมภูมิมีคุณภาพสูงขึ้นเรื่อย ๆ และทำใหวงจรการพัฒนาครบรอบ คือ ผลการประเมิน คุณภาพจะเปนขอมูลปอนกลับ ทำใหระบบปรับตัวใหดีขึ้นอยางตอเนื่อง อนึ่ง กระบวนการพัฒนาคุณภาพสถานพยาบาล คือ การสงเสริมการเรียนรูรวมกันใน การปฏิบัติหรือ PILA (Participatory Interaction Learning through Action) ซึ่งเปน กระบวนการที่ทรงพลังยิ่งในการกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐาน (Transformation) ใน ทุกมิติ อีกชื่อหนึ่งของ PILA คือ CBL (Context - Based Learning) ในเวลากวา ๒๐ ป แหงการทำงานของสรพ. ไดสรางบุคลากรสุขภาพที่มีประสบการณ PILA หลายหมื่นคน เชนเดียวกับโครงการ R2R (Routine to Research) ที่คณะแพทย ศาสตรศิริราชไดกำลังดำเนินการอยู กำลังบุคลากรสุขภาพหลายหมื่นคนที่มีประสบการณ PILA จะเปนพลังพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ ๑๔. การเริ่มตนโครงการ เพื่อใหเริ่มตนได ควรเริ่มดวยองคกรจำนวนนอยกอน แลวคอยขยายความ รวมมือไปสูทั้งหมด ๓ องคกรที่ปรึกษาหารือกันในเรื่องนี้ คือ (๑) สำนักบริการสุขภาพปฐมภูมิ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีหนาที่โดยตรง (๒) คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี ซึ่งมีความสนใจมากถึงกับตั้งกองทุนสนับสนุน โรงพยาบาลชุมชน เพียงเริ่มตนกองทุนนี้ก็มี ๑๐๐ ลานบาทแลว มีศักยภาพที่จะเติบโต กวานี้มาก อีกประการหนึ่ง คณบดีกำลังมีดำริที่จะจัดตั้งสถาบันสนับสนุนการขับเคลื่อน นโยบายสาธารณะ ในมูลนิธิโรงพยาบาลรามาธิบดี โดยที่คนของรามาธิบดีหลายคนมี ประสบการณขับเคลื่อนนโยบายที่สำคัญ ๆ ไปสูความสำเร็จ ระบบนโยบายสาธารณะใน อุดมคติเปน ๑ ใน ๓ ของระบบสุขภาพในอุดมคติ ตามที่กลาวในขอ ๑ ตอนที่ ๑ อีกประการหนึ่งรามาธิบดีมีผูเชี่ยวชาญ Health Informatics (นายแพทยบุญชัย) ที่มีความมุงมั่นจะสรางระบบขอมูลสุขภาพบูรณาการ ซึ่งเปนเรื่องใหญและสำคัญมาก โครงการสงเสริมระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิอัจฉริยะที่กำลังกลาวอยูนี้ จะเปนหนาตาง แหงโอกาสที่จะพัฒนาระบบขอมูลสุขภาพบูรณาการ ซึ่งมีความหมายใหญมากหลายดาน
  • 9. 9 (๓) มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ (มสช.) ในฐานะผูริเริ่มและมีความสนใจเรื่องนี้มาก มสช. ทำงานรวมกับผูอำนวยการโรงพยาบาลกลุมหนึ่ง ซึ่งรวมตัวกันเปน “สถาบันพัฒนา สุขภาพองครวม” ระบบบริการสุขภาพในอุดมคติตามที่ออกแบบไวและกลาวมาขางตน นั่นแหละคือระบบสุขภาพองครวม ฉะนั้น สถาบันพัฒนาสุขภาพองครวมในมสช. ที่ ผูอำนวยการโรงพยาบาลชุมชนรวมตัวกันกอตัวขึ้นมานี่แหละ นาจะเปนจุดเริ่มตนของ การที่วาโรงพยาบาลชุมชน คือ สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ หรือ ระบบสุขภาพชุมชนนั่นเอง สปสช. และ สสส. ความมุงมั่นรวมกันของทั้ง ๒ องคกร นี้คือการมีระบบ สุขภาพในอุดมคติ ฉะนั้น จึงควรมีสวนรวมและสนับสนุนการขับเคลื่อนระบบบริการ สุขภาพปฐมภูมิอัจฉริยะอยางเต็มที่ เพราะเปนจุดยุทธศาสตรหรือจุดคานงัด ที่จะทำให ระบบสุขภาพทั้งหมดดีขึ้น
  • 10. 10 ตอน ๒ ระบบการพัฒนาอยางบูรณาการในอุดมคติ ถามีการพัฒนาอยางบูรณาการเต็มพื้นที่ จะเกิดแผนดินศานติสุข หรือสุขภาวะเต็มแผนดิน ฉะนั้น จึงถือวาการพัฒนาอยางบูรณาการก็อยูในระบบสุขภาพ ตามคำที่วา “สุขภาพคือทั้งหมด” (Health is the whole) การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กับการพัฒนาอำเภออยางบูรณาการคือเรื่องเดียวกัน มีระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กำหนดให มีคณะกรรมการพชอ. ในแตละอำเภอ ที่มีนายอำเภอเปนประธาน มีสาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) เปน เลขานุการ คุณภาพชีวิตระดับอำเภอก็คือ คนทั้งอำเภอมีสุขภาวะ เปนสุขภาวะเกิดจากความสมดุล ความ สมดุลเกิดจากการพัฒนาอยางบูรณาการ ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิหรือระบบสุขภาพชุมชน เปน สวนหนึ่งของระบบสุขภาวะอำเภอ พชอ. ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในอำเภอ และการพัฒนาอำเภออยางบูรณาการ จึงเปน เรื่องทับซอนกัน และควรบูรณาการอยูในกันและกัน ไดออกแบบการพัฒนาอำเภออยางบูรณาการสูแผนดินศานติสุข0 * โดยแตละอำเภอมีจุด บริหารจัดการ ๑๑๑ จุด คือ อำเภอ ๑ ตำบล ๑๐ หมูบาน ๑๐๐ = ๑๑๑ * คูมือพัฒนาอำเภออยางบูรณาการสูแผนดินศานติสุข โดย ศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี
  • 11. 11 แตละจุดบริหารจัดการการพัฒนาอยางบูรณาการให ๘ มิติ เชื่อมโยงอยูในกันและกัน ไดแก เศรษฐกิจ – จิตใจ – สังคม – สิ่งแวดลอม – วัฒนธรรม – สุขภาพ – การศึกษา – ประชาธิปไตย โดยมี สัมมาชีพเต็มพื้นที่ เปนจุดคานงัด เมื่อทุกหมูบาน ทุกตำบล ทุกอำเภอ มีการพัฒนาอยางบูรณาการทั้ง ๘ มิติ โดยมีสัมมาชีพเปน จุดคานงัด หมายถึงงัดไปสูทุกเรื่อง ก็จะเกิดความรมเย็นเปนสุขทั้งอำเภอ จึงเรียกวาแผนดินศานติสุข หรือแผนดินสุขภาวะ สังเกตวาสุขภาพไมใชเรื่องแยกสวนแตบูรณาการอยูกับอีก ๗ มิติ เพราะสุขภาพคือทั้งหมด ระบบบริการสุขภาพเปนสวนหนึ่งของสุขภาพองครวม ดังมีรายละเอียดอยูใน คูมือพัฒนาอำเภออยางบูรณาการสูแผนดินศานติสุข เครื่องมือที่ใชใน การพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ คือการเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติของคนทั้งอำเภอ และคนจาก ภายนอกที่เขามาเกี่ยวของ ซึ่งเปนการเรียนรูที่ใหญที่สุด อำเภอทั้งอำเภอจึงกลายเปนมหาวิทยาลัยใน รูปใหม ซึ่งดีกวา อาจเรียกวา “มหาวิชชาลัยอำเภอ” ทั้งประเทศจะมีถึง ๘๐๐ มหาวิชชาลัยอำเภอ เปนเครื่องเรียนรูรวมกันของคนทั้งประเทศ เปนเรื่องยิ่งใหญมากและสามารถแกปญหาไดทุกเรื่อง อาจ เรียกวา “การศึกษารักษาทุกโรค” ทั้งหมดเปน Education for All All for Education Education Cure All การพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ จึงถือเปน ๑ ใน ๓ ของระบบสุขภาพ ดวยประการฉะนี้ อนึ่ง ในพื้นที่มีผูเกษียณอายุจากอาชีพตาง ๆ ที่ยังมีไฟอยูจำนวนมาก แตไมรูจะมีบทบาท อยางไรดีจึงจะมีความหมาย แตเมื่อออกแบบการพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการอยางนี้ ทุกคนมีบทบาท ไดหมดอยางมีประโยชนยิ่ง โครงการคลังสมองนาจะทำความเขาใจเรื่องนี้ และนี่ก็คือการรวมจัดการ พัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ ตามความใฝฝนของสภาพัฒนฯ นั่นเอง อนึ่ง ควรนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชสงเสริมการพัฒนาพื้นที่อยางเต็มที่ เพื่อเพิ่มศักยภาพและลด ความเหลื่อมล้ำ
  • 12. 12 ตอน ๓ ระบบการพัฒนานโยบายสาธารณะในอุดมคติ นโยบายสาธารณะที่ดี เปนปจจัยหนึ่งที่สำคัญของการมีสุขภาพดี นโยบายสาธารณะที่ดีจะทำ ใหเกิดสังคมสุขภาวะตามคำนิยามของคำวา สุขภาพ คือสุขภาวะที่สมบูรณ ทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปญญา สช. ถูกสรางขึ้นมาเพื่อเปนเครื่องมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ๑๕ ปผานมา ไดจัดสมัชชา สุขภาพแหงชาติขึ้นเปนประจำป ซึ่งเปนกระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีสวนรวม สสส. ไดลงทุน สนับสนุนแผนงานวิจัยนโยบายสาธารณะอยู ๒ สมัย สมัยละ ๕ ป ดวยงบประมาณหลายรอยลานบาท นอกจากนั้นยังสนับสนุนโครงการเครือขายพัฒนาศักยภาพผูนำสาธารณสุขแนวใหม (คศน.) เปนเวลา กวา ๑๐ ป สรางผูนำรุนใหมจากอาชีพตาง ๆ ขึ้นมากวา ๑๖๐ คน และตั้งเปนมูลนิธิคศน. ผูนำรุนใหม เหลานี้เหมาะที่จะเปนผูนำขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ และอื่น ๆ ขณะนี้เราเขาใจวิธีขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะไปสูความสำเร็จ* ที่เรียกวาสัมฤทธิศาสตรแลว รอเวลาจัดทัพการขับเคลื่อนไปสูชัยชนะเทานั้น “กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีสวนรวม” หรือ P4 (Participatory Public Policy Process) นี้ เมื่อทำอยางครบวงจร จะนำคนจากทุกภาคสวนเขามาเชื่อมโยงกันอยางครบวงจร ๑๒ ขั้นตอน สูความสำเร็จ เปนทั้งกระบวนการทางสังคม กระบวนการทางปญญา กระบวนการทางการเมืองและ ประชาธิปไตย จะนำประเทศไทยไปสูการลงตัวหมดทุกดาน ทั้ง เศรษฐกิจ – จิตใจ – สังคม – สิ่งแวดลอม – วัฒนธรรม – สุขภาพ – การศึกษา และประชาธิปไตย พรรคการเมืองจะกลายเปนสถาบันพัฒนานโยบายสาธารณะ นักการเมืองจะกลายเปน ผูเชี่ยวชาญในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ คนไทยจะกลายเปนคนเกงและคนดี เพราะระบบดี อุปมาเหมือนระบบนาิกา ที่มีฟนเฟองเล็กใหญประกอบกันเขาอยางถูกตอง แตละสวนทำหนาที่ของ ตนเองอยางถูกตองและสัมพันธกับสวนอื่น ๆ สงใหองครวม คือ นาิกาเดินตรงเวลา ไมมีชิ้นสวนใด เกะกะเกเร เพราะตางเชื่อมโยงสัมพันธกันอยางแนบแนน
  • 13. 13 ระบบของประเทศที่ดีทำใหเกิดความเปนองครวม ประเทศไทยที่มีคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย คนไทยทุกคนจะเปนคนเกง คนดี ไมแตกแถวเกะกะเกเร ที่คนไทยเหมือนคนไมดีไมเกงนั้น เพราะเรา ขาดการคิดเชิงระบบ รวมทั้งมหาวิทยาลัยทั้งหลายดวย ที่เราพยายามปฏิรูปตาง ๆ แลวไมสำเร็จ เพราะไมมีใครปฏิรูปใครได แต P4 จะเปน กระบวนการที่คนไทยทั้งหมดเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ อันนำไปสูการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานอยาง ลึกซึ้ง (Transformation) ในทุกมิติ อยางที่ทุกคนยินดีและมีความสุขรวมกัน เรียกวาเปน Transformative Force ก็ได อันนำไปสู Transform Thailand P4 จะนำไปสูสังคมศานติสุข หรือ สังคมสุขภาวะขนาดใหญ จึงถือวากระบวนการนโยบายสาธารณะเปนสวนหนึ่งของ ระบบสุขภาพใน อุดมคติ จึงเห็นไดวา ระบบสุขภาพในอุดมคติประกอบดวย ๑. ระบบบริการสุขภาพในอุดมคติ ๒. ระบบการพัฒนาอยางบูรณาการในอุดมคติ ๓. ระบบนโยบายสาธารณะในอุดมคติ รวมเปน ระบบสุขภาพองครวม เมื่อมีความเปนองครวม จะมีคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย ผุดบังเกิดขึ้น คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยของสุขภาพองครวมเปนอยางไร ทุกทานสามารถจินตนาการเอาได เพื่อใหเห็นภาพเปรียบเทียบ เมื่อเครื่องบินที่ประกอบชิ้นสวนครบเปนองครวม มันมีคุณสมบัติ ใหม คือ บินได ในขณะที่ชิ้นสวนตาง ๆ ไมมีชิ้นใดบินไดเลย
  • 14. 14 บทสรุป ระบบสุขภาพในอุดมคติ หรือระบบสุขภาพองครวมนั้น เปนทุกสิ่งทุกอยาง สุดแตจะหาคำพูด มานิยาม เชน Health Equity หรือ Health Justice เปนสันติภาพ (Peace is Health / Health is Peace) เปนสิ่งสูงสุด (Summum Bonum) เปนจุดมุงมั่นรวมกันของมนุษยชาติ ฯลฯ ที่วาเปนทุกสิ่งทุกอยาง เพราะ “สุขภาพคือทั้งหมด” (Health is the whole) เรามีทรัพยากรและเครื่องมือมาก แตขาดการออกแบบ วัตถุประสงคกำหนดระบบและโครงสราง เชน ถาวัตถุประสงคคือตองการอะไรที่บินได ก็ตองออกแบบระบบและโครงสรางเครื่องบิน แลวเอาชิ้นสวนมาประกอบตามโครงสราง พอครบเปนองครวมเครื่องบินก็เกิดคุณสมบัติใหมอัน มหัศจรรย การออกแบบระบบและโครงสรางระบบสุขภาพองครวม ดำเนินตามหลักการที่วานี้ ขอใหผูที่ อยากทำเรื่องดี ๆ ซึ่งมีมากมาย ลองพิจารณาถึงวิธีคิดเชิงระบบและการจัดการ นอกเหนือไปจากการ คิดเชิงเทคนิคและพฤติกรรมสวนบุคคลแตเพียงอยางเดียว จากประสบการณในชีวิตอันยาวนานของผม ที่ฝนใฝอยากใหประเทศไทยดีขึ้น แตไมมีความรู อะไรเลย ผมสรุปวา คนไทยมีความดีหลายอยาง บางอยางก็เดนมาก แตขาดสมรรถนะในการคิดเชิง ระบบและการจัดการ คงคิดแตทางเทคนิคและพฤติกรรมสวนบุคคลเทานั้น ระบบการศึกษาก็คิดเชนนี้ จึงติดอยูในสภาวะวิกฤตเรื้อรัง ไมสามารถออกจากสภาวะวิกฤตได การรวมพัฒนาระบบสุขภาพในอุดมคติ นาจะเปนยุทธศาสตรที่ดีที่สุด สันติที่สุด ใชปญญามาก ที่สุด ที่ทำใหประเทศไทยเปลี่ยนผาน (Transform) ทุกมิติ ไปสูการเปนประเทศสุขภาวะ หรือแผนดิน ศานติสุข
  • 15. 15 ถาองคกรตระกูลส. ทั้งหมด มีความมุงมั่นรวมกันที่ระบบสุขภาพองครวม นาจะมีแรงโนมถวง (gravity) ที่จะดึงทุกภาคสวนเขามารวม เปนมวลใหญมากขึ้นเรื่อย ๆ จนครอบคลุมหมดทั้งประเทศ และทั้งโลก สมกับเปนความฝนใหญขององคกรสุขภาพ ที่วา “Health and well - being of mandkind around the world” ขอฝากประเทศไทยไวกับคนรุนใหมทุกคน คือ คนไทยที่อายุนอยกวาผมทุกคน ประเวศ วะสี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕