SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 20
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ความจริงกิเลสทั้งหลายมันจรเข้ามา
ใจของเราออกไปสัมผัส กับกิเลสนั้นๆ
ก็เกิดเป็นฟืนเป็นไฟขึ้นมา
ใจของเราออกไปเจอ ไปกระทบ
พระพุทธเจ้าท่านจึงสอนให้มี สติ ให้สารวมจิต สารวมไว้ให้ดี
อย่าให้ใจของเราออกไปสัมผัสกับของร้อน สัมผัสกับฟืนกับไฟ
เมื่อสารวมจิตไว้ดีแล้ว สิ่งที่เคยกระทบเป็นฟืนเป็นไฟ
สิ่งนั้นเขาไม่แล่นมาหาใจ
สิ่งเหล่านี้เขาเป็นโลกเขาพร้อมที่จะสัมผัสใจที่แล่นออกไปนั้น
จะอยู่ในอิริยาบถใดต้องให้มีความสารวมใจ
เราจึงจะเป็นผู้ปฏิบัติธรรม จึงเป็นผู้ปฏิบัติจิต
พระพุทธเจ้าสอนให้เอาจิตเกี่ยวข้องกับธรรม
ธรรมก็คือของเกิดมาดับ
ธรรมก็คือของเกิดมาตาย
รูปหรือนาม ก็เกิดมาตาย
เกิดมาตายไม่มีอะไร ไม่มีอะไรเป็นสาระ
ไม่มีอะไรเป็นตัวตนเป็นแก่นสาร มีแต่ของเกิดมาตายทั้งนั้น
ถ้าเราเห็นชัดว่ามันเป็นของเกิด จิตมันตื่น
มันถอนตัวออกทันที ทาไมจึงตื่น ทาไมจึงถอนตัว
เพราะของที่ต้องเกิดนั้นเป็นของที่ต้องดับอยู่แล้ว
ดูแลห่วงแหนขนาดไหนก็ช่างเถอะ มันตายไปทุกขณะ
ตายแล้วก็เน่าก็เปื่อยก็ทิ้งกันไป
มันเกิดมาเน่ามาเปื่อย หาประมาณมิได้
หยั่งเข้าหาจิตของเรานี่ "หยั่งเข้าหาจิต" ขณะใด
ธรรมทั้งหลาย จะเป็นธรรมส่วนใดๆก็ช่าง ดับทันที
ดับพร้อมขณะที่ ใจของเราหยั่งเข้าหาจิต..
..ตามไป ตามไปดู ยิ่งตามก็เหมือนเอาเชื้อไฟไปใส่มัน
ดับให้ถูกจุด..จุดที่ไฟจะดับ ก็คือ "สวิทช์"
เพราะไฟเกิด มันจะเกิดตรงนี้
ใจจะร่มเย็นเป็นสุขได้
เพราะใจปล่อยวางอารมณ์ที่จะมาทาให้ใจอุ่นร้อน
ใจไม่กระโดดไปหาอารมณ์อย่างที่ชาวโลกเค้าเป็นกัน.
ใจไม่สงบก็เพียงแต่ใจไม่สงบ ใจสงบก็เพียงแต่ใจสงบเท่านั้น
ต้องมีสติอยู่ในขณะนั้น ยินดียินร้ายไม่ได้ อย่าไปเสวย
“สักแต่ว่า” ท่านสอนให้ “รู้”
ความไม่สงบ อะไรเป็นเหตุ
ความไม่รู้แจ้งในจิตของเรา ท่านหมายถึง อวิชชา
เมื่อไม่รู้ชัดในจิต อะไรเกิดขึ้นที่จิต มันยึดติดทั้งนั้น..
ถ้าหากเห็นชัดในจิตแล้ว อะไรเกิดขึ้นในจิต ก็สักแต่ว่า
ของเกิดมาดับ ก็มันเห็นชัดๆ สิ่งที่มันเกิดขึ้นแล้วดับไป
แล้วเราจะไปยึดสิ่งที่เกิดขึ้นว่าเป็นเราได้อย่างไร ?
.ชอบใจ ไม่ชอบใจ เป็นเรื่องของร้อนทั้งนั้น ของร้อน คนก็ร้อน
.....พระพุทธเจ้า จึงให้สารวม ตา มีไว้ให้ระวังรักษาตา ไม่ระวัง ตาจะไปหาของร้อนมา
หูไม่รู้อิโหน่อิเหน่อะไร หูกลายเป็นเครื่องมือ ...
หาซึมซับเอาของร้อนมา จมูกก็เช่นเดียวกัน.....
ใจ ถ้าใจเราอิ่ม ไม่หิวกระหายของร้อน
ตาก็ไม่แสวงหา ไม่เป็นเครื่องมือหาของร้อนอย่างที่ ใจต้องการ
หูก็ไม่แสวงหาของร้อน เพราะ ใจไม่ต้องการ.....
“ใจ” จริงๆ ไม่ต้องการของร้อน แต่ “กิเลส” ต้องการของร้อน
ดินฟ้าอากาศไม่เป็นข้าศึกแก่ใจ ใจที่ขาดการสารวมนี่แหละเป็นข้าศึกแก่เรา
เมื่อใจของเราได้รับการสารวมดีแล้ว ศีลจึงไม่ต้องไปแสวงหา สมาธิก็ไม่ต้องไปแสวงหา
ปัญญาก็ไม่ต้องไปแสวงหา เพราะเกิดขึ้นที่ใจ เมื่อธรรมปรากฏขึ้นที่ใจ กิเลสจะสลายตัวในขณะนั้น
เมื่อใจเราเป็นธรรมขึ้นทั้งดวง เป็นธรรมขึ้นทั้งใจ กิเลสตัณหาที่ซ่อนเร้นอยู่ในใจอยู่ไม่ได้
จิตว่างจากอารมณ์นั้นละ ทาให้เกิดความสว่างไสว...
การทาบุญ ทากุศลเดี๋ยวนี้ ส่วนมากทาเพื่อพ่อ ทาเพื่อแม่
ทาเพื่อลูก ทาเพื่อสามีภรรยา..
บุญกุศลทาเพื่อพรรคพวก ทาเพื่อสามีภรรยาของตัวเอง
ก็เรียกว่าทาเพื่อตนอยู่
การทาบุญ ทากุศลจึงมีอานิสงส์ไม่สมบูรณ์...
การทาบุญทากุศล ต้องทาด้วยศรัทธา
ทาด้วยความเชื่อ ความเลื่อมใส
ทามุ่งในการที่จะเสียสละความตระหนี่ของตนจริง ๆ
อันนี้เป็นบุญ เป็นกุศลอย่างสมบูรณ์
สังขารก็คือ จิตที่่คิดปรุงแต่ง
ถ้าหากจิตหยุดคิดแล้ว ไม่มีอะไรสักอย่าง
เตสัง วูปสโม สุโข
สังขารทั้งหลายสงบระงับดีแล้ว
ทุกข์เกิดจากสังขาร ตัวปรุงตัวแต่งดับไปแล้ว
ทุกข์นั้นก็ไม่มี
การปฏิบัติธรรม เพื่อ “กาจัดความหลง” ของใจ
ทาความสงบให้มาก
แต่ “อย่าไปพอใจในความสงบ” เท่านั้น
.“ปัญญา” ก็ไม่ต้องไปแสวงหาที่ไหน
เมื่อ “จิต” ของเราสารวมไว้ดี จิตของเราแน่วแน่
ปราศจากอารมณ์
มีแต่ความผ่องใส มีแต่ความสว่างไสว
ความผ่องใสหรือความสว่างไสวเรียกว่า “ปัญญา”
เมื่อ “องค์ปัญญา” เกิดขึ้นแล้ว
“ความมืด” หรือกิเลสตัณหา
ยากที่จะซ่อนเร้นอยู่ในจิตที่สว่างไสว
สมบูรณ์เป็นธรรมขึ้นทั้งใจนั้น
สังขารเป็นของเกิดดับ ความปรุงความแต่ง ไม่ใช่เรา
สังขารทั้งหลายเหมือนฟองน้า ...เหมือนพยับแดด
เราไปยึดฟองน้า เราไปยึดพยับแดด ไม่ได้ประโยชน์อะไร
พยับแดดมันมีประจา ฟองน้าก็มีอยู่เป็นประจา ไม่ขาดจากโลก
แม้แต่พระพุทธเจ้าท่านก็ไม่ได้สอนวิธีการ
ที่จะไปห้ามไม่ให้พยับแดดเกิดขึ้น ไม่ให้ฟองน้าเกิดขึ้น
เพียงแต่สอนว่า พยับแดดสักแต่ว่าพยับแดดเท่านั้น
ฟองน้าก็สักแต่ว่าฟองน้าเท่านั้น
ไม่มีอะไรเป็นสาระแก่นสาร ตัวตน
ไปยึดแล้วสร้างตัณหาให้แก่เจ้าของเองด้วย
.การสวดมนต์ ถือว่าเป็นการภาวนาได้
ภาวนา แปลว่าทาให้เกิด
การสวดมนต์ ก็ทาให้เกิดความรื่นเริงเพลิดเพลิน
หรือทาให้เกิดความสงบภายในจิตใจได้
ขณะสวดมนต์อยู่บางทีอุบายเกิด ...
บางทีธรรมะเกิดขึ้นมา ขณะสวดมนต์ก็ได้
ให้มีความตั้งอกตั้งใจเคารพในการสวดมนต์
มีความแน่วแน่ในคาสวดของเรา
นั้นเป็นการภาวนาอย่างสมบูรณ์ทีเดียว...
พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ปล่อยวาง
เพราะไปยึดแล้วมันทาให้เป็นทุกข์
เพราะของที่เกิดขึ้นทั้งหมดมันดับไปทั้งนั้น
จะยึดไว้ไม่อยากให้เขาเสียหาย ไม่อยากให้เขาหมดสิ้น
ไม่อยากให้เขาดับไป ยึดไว้ยังไงก็ไม่เป็นไปตามความอยากของเรา
เพราะธรรมชาติที่เกิดขึ้นเขาจะต้องดับไปทั้งนั้น
สิ่งที่เราแสวงหาด้วยการเสียสละชีวิตชีวา
ด้วยความเหน็ดเหนื่อยทุกข์ยากนั้น
ล้วนแต่เป็นของที่เราจะต้องพลัดพรากทั้งนั้น
สิ่งเหล่านั้นจะต้องเสียหายไปจากเราทั้งนั้น
เพราะอันนั้นเขาเกิดมาเพื่อพลัดพราก
เราจะสมมุติเขาว่า เป็นเงินเป็นทอง เป็นข้าวของวัตถุอะไรก็ช่าง
อันนั้นก็เกิดมาเพื่อที่จะแตกสลาย เราก็เหมือนกัน เกิดมาเพื่อแตกสลาย
เกิดมาก็เพื่อแตกเพื่อตาย ไม่มีอะไรเป็นสมบัติของใครได้หรอก
การภาวนาก็คือการค้นคว้าทาให้แจ้งในสิ่งที่เราไม่แจ้งไม่ชัด.
ที่ใจของเรายึดนั้นก็เพราะใจของเราไม่แจ้งชัดตามความเป็นจริง
ใจของเราแจ้งชัดตามความเป็นจริงขณะใด
ขณะนั้นใจของเราปล่อยวางเอง โดยไม่ต้องตั้งใจที่จะปล่อยวาง
เรื่องทุกข์เรื่องสุขมันเป็นเรื่องของจิตใจ
แต่เรื่องของร่างกายก็มีส่วนทาให้จิตใจ เป็นทุกข์หรือเป็นสุขมาก...
ถ้าหากว่าพิจารณาเข้าใจชัดตามความเป็นจริงของเขาแล้ว..
ร่างกายอันนี้แหละจะไม่ทาให้ จิตใจของเราเป็นทุกข์อีก
คาสอนของพระพุทธเจ้า
ทรงเปรียบสติเหมือนหนทางไว้เหมือนกัน
ว่ามรรคก็คือสติ
มรรคทั้งแปดก็รวมอยู่ที่สติองค์เดียวนี้
ในเมื่อสติคอยระวังรักษาใจ
เราก็เดินไปตามทางที่พระพุทธเจ้า
ท่านทรงแนะนาบอกสอนหรือชี้ทางเอาไว้นั้น
ไม่ออกนอกลู่นอกทาง
ผลของการไม่ออกนอกลู่นอกทางก็คือ
ได้รับความสงบร่มเย็นใจ
ความดี คือการบาเพ็ญทาน ความดี คือการรักษาศีล
ความดี คือการบาเพ็ญจิตตภาวนา ให้รีบทาในขณะนี้ทีเดียว
พระพุทธเจ้าทรงอุปมาไว้ เหมือนกับไฟไหม้ผมบนศีรษะ ให้รีบดับ
ไม่ใช่ไหม้บ้านไหม้ช่องนะ ไหม้ผมบนศีรษะนี่ ต้องดับทันที
การทาความดีก็ต้องรีบทาทันทีเหมือนกัน ทันทีทุกขณะ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิTeacher Sophonnawit
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาเตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 

Was ist angesagt? (19)

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
Immortality Thama.Pps
Immortality Thama.PpsImmortality Thama.Pps
Immortality Thama.Pps
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
Mindfulness in-organization
Mindfulness in-organizationMindfulness in-organization
Mindfulness in-organization
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 

Ähnlich wie Luangpoo ban

Luangpoo singthong
Luangpoo singthongLuangpoo singthong
Luangpoo singthongMI
 
Luangpoo suwat
Luangpoo suwatLuangpoo suwat
Luangpoo suwatMI
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1freelance
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒Rose Banioki
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)Songsarid Ruecha
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์YajokZ
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma coreYajokZ
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์guest3650b2
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนMI
 

Ähnlich wie Luangpoo ban (15)

คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
Luangpoo singthong
Luangpoo singthongLuangpoo singthong
Luangpoo singthong
 
Luangpoo suwat
Luangpoo suwatLuangpoo suwat
Luangpoo suwat
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma core
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
 

Mehr von MI

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกMI
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกMI
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตMI
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญMI
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำMI
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์MI
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙MI
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo larMI
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarmMI
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11MI
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotesMI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20MI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20MI
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113MI
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112MI
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1MI
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3MI
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2MI
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1MI
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1MI
 

Mehr von MI (20)

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1
 

Luangpoo ban