SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 37
Evidence-based Public Health:
Medical Cannabis Policy
รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
ภาควิชาเวชศาสตร์ป้ องกันและสังคม
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Email: thira.w@chula.ac.th
สาธารณสุข
ธุรกิจ
การแพทย์/วิจัย
• ได้ผลจริง และคุ้มค่า
• ครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมาย
• มีเพียงพอ/เข้าถึงได้/ตรงกับปัญหา
• ได้ผลจริง
• ไม่แบ่งแยกกีดกัน
• รับผิดชอบต่อลูกค้าและสังคม
• ประโยชน์และโทษ
• ความยุติธรรม
• เคารพศักดิ์ศรีความเป็นคน
หลักจริยธรรมสําหรับบุคลากรทางการแพทย์
โดย รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Totality of Evidence ≠ เอาอะไรมั่วซั่วมายํารวมกัน
2.8%
กัญชาทางการแพทย์
In-vitro
In-vivo
Clinical study
(I-III)
Government policy
and phase IV study
Clinical practice by
physician
Use
traditionally
Belief/support
by citizens
Clinical use
Basic research
Under self-
responsibility
New substance
อ้างอิง : American Epilepsy Society, American Academy of Neurology, American Medical Association และ American Psychiatric Association
"การใช้กัญชาในการรักษาโรคลมชักนั้นยังไม่มีหลักฐานเพียงพอที่จะแนะนําให้ใช้ได้“ โดยมีงานวิจัยที่
เพียงพอแก่การอนุมัติกัญชาเป็นยา เพื่อรักษาเฉพาะโรค Lennox-Gastaut syndrome (LGS) และ Dravet
syndrome เท่านั้น แต่พบว่าการใช้กัญชาก่อให้เกิดผลข้างเคียง และมีปฏิกิริยาอันไม่พึงประสงค์ระหว่าง
กัญชากับยาอื่นด้วย จึงไม่แนะนําให้ใช้กัญชาในการรักษาโรคลมชักด้วยตนเอง เว้นแต่แพทย์เป็นผู้พิจารณา
มีการประเมินผลจากกัญชาในระยะยาว พบว่า กัญชารักษาเฉพาะโรคบางโรค เช่น Dravet syndrome เท่านั้น
แต่โรคทางระบบประสาทอื่นๆ นั้นยังไม่ได้รับการพิสูจน์ ดังนั้นจึงไม่สนับสนุนให้มีการนํากัญชาไปใช้ในโรค
อื่นๆ ทั้งสิ้น
มีโรคไม่กี่โรคเท่านั้นที่ได้รับการวิจัยพิสูจน์แล้วว่ากัญชาช่วยในการบรรเทาอาการได้ แต่การจะใช้กัญชาไป
รักษาโรคใดๆ จะต้องผ่านกระบวนการวิจัยตามมาตรฐานสากล และรัฐต้องควบคุมอย่างเข้มงวด และต้อง
วิจัยประเมินผลกระทบต่อการสาธารณสุข การแพทย์ สังคม และเศรษฐกิจอย่างครบถ้วนรอบด้าน
ไม่มีหลักฐานวิชาการว่า กัญชาจะมีประโยชน์ในการรักษาโรคทางจิตเวชใดๆ แต่การใช้กัญชามีความสัมพันธ์
กับการเกิดโรคจิตเวช โดยการจะทําการวิจัยเรื่องกัญชานั้นควรได้รับการควบคุมดูแลอย่างเข้มงวดโดยรัฐ
และคํานึงถึงความเสี่ยงเรื่องการเสพติดกัญชาด้วยเสมอ
• แนะนําให้ลองสารสกัดกัญชาสําหรับกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งที่มีอาการคลื่นไส้อาเจียนจากเคมี
บําบัด และรักษาโดยยามาตรฐานไม่ได้ผลเท่านั้น แต่ต้องคํานึงถึงผลข้างเคียงเสมอ
• ส่วนอาการปวดเรื้อรังนั้น ไม่แนะนําให้ใช้
• ภาวะเกร็งในโรค Multiple Sclerosis ใช้เฉพาะที่รักษามาตรฐานไม่ได้ผล ลองสเปรย์ 4
สัปดาห์ ต้องลดอาการอย่างน้อยร้อยละ 20 จึงจะใช้ต่อได้
• โรคลมชักรุนแรงนั้นใช้เฉพาะ 2 โรค ที่รักษาด้วยยากันชักมาตรฐานตั้งแต่ 2 ตัวแล้วไม่
ได้ผล และต้องประเมินทุก 6 เดือนโดยอาการชักต้องลดลงอย่างน้อยร้อยละ 30
พร้อม: รับมือผลกระทบจากนโยบาย?
กัญชา...เป็นยาเสพติด
• โอกาสติดกัญชาในประชากรทั่วไปที่เริ่มใช้ มีราวร้อยละ 10
• แต่หากเริ่มใช้ในช่วงวัยรุ่นจะมีโอกาสติดมากขึ้น เป็นร้อยละ 16
หรือ 1 ใน 6 คน
• หากใช้ทุกวันติดต่อกัน จะมีโอกาสติดร้อยละ 33 หรือ 1 ใน 3 คน
• ตลอดช่วงชีวิต จะมีโอกาสร้อยละ 44.7 ที่จะเสพกัญชาร่วมกับ
ยาเสพติดชนิดอื่นๆ
• องค์การอนามัยโลกระบุว่า ร้อยละ 16 ของจํานวนประเทศที่
สํารวจเมื่อปีค.ศ.2015 ได้รายงานปัญหาการติดกัญชาของ
ประชาชนว่าเป็นปัญหาหลักทางสาธารณสุขอันดับที่ 2 ของ
ประเทศรองจากเหล้า
• เนเธอร์แลนด์ที่ใช้กัญชากันทั่วไปนั้น พบว่าคนไข้ที่ต้องเข้ารับ
การบําบัดยาเสพติดในแต่ละปีนั้น เป็นจากปัญหาการติดกัญชา
ราวร้อยละ 60
อ้างอิง
Richter L et al. Assessing the risk of marijuana use disorder among adolescents and adults who use marijuana. Am J Drug Alcohol Abuse. 2017 May;43(3):247-260.
Marijuana and Public Health. US Centers for Disease Control and Prevention. Accessed on 31 July 2019.
ลักษณะการใช้สารเสพติดควบคู่กัญชา
ราคากัญชากับอัตราการเสพ
ราคากัญชากับอัตราการเสพ
• ราคากัญชาลดลง 10% จะทําให้มีจํานวนคนเสพเพิ่มขึ้น 3%
• ราคากัญชาลดลง 10% จะทําให้เยาวชนมาเริ่มลองเสพเพิ่มขึ้น 3-5%
อ้างอิง
Hilal N et al. K2P Rapid Resoonse: Legalizing Cannabis Cultivation: What We Need to Know. Knowledge to Policy (K2P) Center, Beirut,
Lebanon. August 2018.
กัญชากับอันตรายจากการเสพ
กัญชา...เสพแล้วยังไงก็ไม่ตาย ไม่เป็นพิษ จริงไหม?
คําตอบ: "ไม่จริง"
• ศูนย์พิษวิทยาของมลรัฐโอเรกอน/อลาสก้า ประเทศสหรัฐอเมริกา
• ธันวาคม 2015 ถึงเมษายน 2017 มีจํานวน 253 ราย อายุ 8 เดือน ถึง 96 ปี อายุเฉลี่ย 20 ปี ชายต่อหญิงพอๆ กัน
• เด็กมักได้รับกัญชาจากของกินที่ทําเองภายในบ้าน ส่วนผู้ใหญ่มักซื้อจากร้านค้า
• เด็กไม่ได้ตั้งใจเสพร้อยละ 98 แต่ผู้ใหญ่ตั้งใจร้อยละ 88
• 8 รายต้องนอนไอซียู 3 รายต้องใส่ท่อช่วยหายใจ
• ตาย 1 ราย เป็นผู้ชายอายุ 70 ปี สูบผลิตภัณฑ์กัญชาชนิดของเหลวแบบเข้มข้น จนเกิดหัวใจขาดเลือดและเสียชีวิต
อ้างอิง
Noble MJ et al. Acute Cannabis Toxicity. Clin Toxicol (Phila). 2019 Aug;57(8):735-742. doi: 10.1080/15563650.2018.1548708.
กัญชาลดภาระค่าใช้จ่ายเรื่องปวดและการติดยาเสพติดจริงหรือ?
คําตอบ: "ไม่จริง"
• ผลการศึกษาล่าสุดเผยแพร่เมื่อ 17 กรกฎาคม 2019 ตีพิมพ์ใน JAMA Network Open
• ปลดล็อคกัญชาไม่ได้ช่วยลดปริมาณการใช้ยาแก้ปวดประเภทอนุพันธ์ฝิ่นในผู้ป่วย
• ปลดล็อคกัญชาไม่ได้ทําให้สถิติการเสพยาเสพติดประเภทฝิ่นและอนุพันธ์ฝิ่นของประชาชนในสังคมลดลง แต่กลับเพิ่มขึ้นเสีย
ด้วยซํ้า
• สอดคล้องกับงานวิจัยมากมายที่ชี้ให้เห็นภัยกัญชาว่าแสดงลักษณะ Gateway effect หรือเป็นประตูสู่การเสพยาเสพติดอื่นๆ
ทั้งเหล้า บุหรี่ เฮโรอีน โคเคน ฯลฯ
อ้างอิง
Segura LE et al. Association of US Medical Marijuana Laws With Nonmedical Prescription Opioid Use and Prescription Opioid Use Disorder. JAMA
Netw Open. 2019;2(7):e197216. doi:10.1001/jamanetworkopen.2019.7216
เปิดเสรีกัญชา...ได้หรือเสีย?
• แต่ละครั้งที่รัฐเก็บภาษีได้ 1 ดอลล่าร์จากการขายกัญชา ชาวโคโลราโดจะต้องเสีย
เงิน 4.5 ดอลล่าร์ เพื่อนําไปแก้ไขปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเสรีกัญชา
• คนเสพกัญชาร้อยละ 27 หรือเกือบหนึ่งในสาม ยอมรับว่า เสพแล้วไปขับรถอยู่ทุกวัน
ขณะที่กําลังมีอาการเคลิบเคลิ้ม และร้อยละ 67 หรือสองในสาม ยอมรับว่าเคยขับ
ขณะเคลิบเคลิ้มอย่างน้อยหนึ่งครั้ง แม้จะไม่ทําทุกวันก็ตาม
• ประโยชน์ที่เกิดขึ้นต่อรัฐในรูปแบบภาษีเงินได้ และมูลค่าที่ดินที่เพิ่มขึ้นนั้น มีราว
400 ล้านดอลล่าร์ ในขณะที่ต้องแลกด้วยค่าเสียหายกว่า 1,100 ล้านดอลล่าร์
อ้างอิง
Economic and Social Costs of Legalized Marijuana. Centennial Institute, 18 November 2018.
ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสังคมหลังปลดล็อคกัญชาในอเมริกา
• คนเสพกัญชาเพิ่มขึ้น 2 เท่า และมีอาการติดยาต้องเข้ารับการ
บําบัดเพิ่มขึ้น 2 เท่า แต่ละรัฐต่างกันไป มีตั้งแต่เพิ่มขึ้น 75-300%
• อัตราการใช้กัญชาเพื่อการแพทย์ตามข้อบ่งชี้จริงๆ นั้นมีน้อยกว่า
5% ของจํานวนคนใช้กัญชาทั้งหมด
• เด็ก วัยรุ่น และคนอายุน้อยกว่า 24 ปี คือกลุ่มที่มีการเสพกัญชา
มากที่สุด มีการรับรู้อันตรายจากกัญชาลดลงอย่างต่อเนื่อง และมี
การเสพมากขึ้นเรื่อยๆ จนทําให้ออกจากระบบการศึกษา และการ
เกิดอุบัติเหตุจราจรมากขึ้น
• กัญชาไม่สามารถทดแทนการรักษามาตรฐานได้ ทําให้ส่งผล
กระทบต่อทั้งบุคลากรทางการแพทย์และคนไข้ ในเรื่องความเชื่อ
และการปฏิบัติระหว่างการดูแลรักษา และผลลัพธ์ทางสุขภาพ
• ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพื่อดูแลรักษาผลกระทบคิดเป็น 60% ของ
ค่าความเสียหายทั้งหมดที่เกิดจากการปลดล็อค
• ปัญหาการขับขี่ผิดกฎหมายจากการเสพกัญชามากกว่าการดื่ม
เหล้า เสี่ยงชนมากขึ้น 2 เท่า
• ปัญหาอาชญากรรมที่เกิดจากการเสพกัญชามากขึ้นอย่างชัดเจน
ในรัฐที่ปลดล็อค ทั้งเรื่องการจี้ปล้น ทําร้ายร่างกาย ฆาตกรรม
อ้างอิง
Evans DG et al. The Economics Impacts of Marijuana Legalization. The Journal of Global Drug Policy and Practice, December 2013.
“...เดิมพยายามจะปลดล็อคเพื่อหวังช่วยคนให้พ้นจากตลาดมืด แต่สถานการณ์จริงหลังปลด
ล็อคกลับพบว่า ทุกอย่างที่ดําเนินไปนั้นก็อยู่ในวงจรอุบาทว์ของการทําเพื่อค้าขายหากําไร
และควบคุมไม่ได้ รวมถึงการใช้กัญชาก็กลายเป็นวงจรของหมู่คนติดยาเสพติด...”
Imler S.
เสียงเตือนจาก INCB
• กัญชาไม่มีหลักฐานพอที่จะนํามาใช้ทดแทนการรักษามาตรฐาน หรือมาเป็น
first line treatment ได้
• อัตราการเกิดผลข้างเคียง/ไม่พึงประสงค์ในกลุ่มคนที่ใช้กัญชามีสูงมาก
• ประเทศที่ปลดล็อคเพื่อใช้ทางการแพทย์หลายประเทศนั้นเกิดปัญหา
สาธารณสุข และทางสังคมตามมาหลายต่อหลายเรื่อง แถมที่ปลดล็อคใช้
ทางการแพทย์นั้น เอาเข้าจริงปรากฏว่าไม่สามารถควบคุมได้ ทําให้เกิดการ
แอบใช้ผิดวัตถุประสงค์มากมาย และมีการค้าขายตลาดมืดเข้ามาเกี่ยวข้อง
จนทําให้กลายเป็นปัญหาที่ยากจะแก้ไข
อ้างอิง
https://www.incb.org/incb/en/publications/annual-reports/annual-report-2018.html
ทําอย่างไรดี?
• ราชวิทยาลัยแพทย์ สมาคมวิชาชีพแพทย์ และบุคลากร
สาขาสุขภาพต่างๆ ตลอดจนโรงเรียนแพทย์ชั้นนําควร
พิจารณาประกาศจุดยืนทางวิชาชีพ ในการนํากัญชาหรือ
ผลิตภัณฑ์จากกัญชามาใช้ดูแลรักษา โดยขอให้ยึดมั่น
หลักฐานทางวิชาการที่พิสูจน์เรื่องความปลอดภัยและ
สรรพคุณได้ตามมาตรฐานสากล
• โรงพยาบาลต่างๆ ควรพิจารณาออกประกาศนโยบายของ
โรงพยาบาล (Hospital policy) ในการใช้กัญชาหรือ
ผลิตภัณฑ์จากกัญชาในการดูแลรักษา โดยยึดมั่นในหลัก
วิชาการ เพื่อช่วยปกป้ องทั้งผู้ป่วยและบุคลากรทางการ
แพทย์ของท่าน และช่วยป้ องกันปัญหาในอนาคตที่อาจ
เกิดขึ้น ทั้งจากระบบประกันสุขภาพ และปัญหาทาง
กฎหมาย
• รัฐควรพัฒนากลไกตรวจ ติดตาม กํากับ การเผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสารด้านสุขภาพที่เป็นเท็จ
• รัฐควรขับเคลื่อนนโยบายด้านกัญชาโดยเน้นเรื่องการวิจัย
และพัฒนา อย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามขั้นตอนมาตรฐาน
ด้วยความปรารถนาดีต่อทุกคนครับ
รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“ผมไม่เชื่อว่ารัฐ และกลไกต่างๆ ในสังคมที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันนี้ จะสามารถดูแล
ปกป้ องประชาชนจากผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการปลดล็อคกัญชาได้”
"ครอบครัวเป็นหน่วยเล็กที่สุดในสังคม ที่จะต้องเลี้ยงดูลูกหลานของ
ตนเองให้ดี ดูแลใกล้ชิด สอนให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคม รู้ว่า
อะไรควรทําไม่ควรทํา"
"ตอนนี้คงไม่สามารถทําอะไรได้แล้ว นอกจากหาทางช่วยกันเตือน
ประชาชนในสังคมไทยให้เตรียมรับมือกับปัญหาสังคมที่จะเกิดขึ้นจาก
นโยบายกัญชา"
อ้างอิง
ธีระ วรธนารัตน์ “บทเรียนสังคมไทยจากเรื่องกัญชา” สํานักข่าวอิศรา. 9 มิถุนายน 2562. https://www.isranews.org/isranews-article/77339-cannabis-77339.html
"The M.T.A. Song", better known as "Charlie on the M.T.A“
By Kingston Trio, 1959.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance SystemsUltraman Taro
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพThira Woratanarat
 
07 health wisdom
07 health wisdom07 health wisdom
07 health wisdomFreelance
 
Introduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyIntroduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyUltraman Taro
 
JS-DementiaPrevention12jun2019
JS-DementiaPrevention12jun2019JS-DementiaPrevention12jun2019
JS-DementiaPrevention12jun2019Sukanya Jongsiri
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 

Was ist angesagt? (11)

Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
07 health wisdom
07 health wisdom07 health wisdom
07 health wisdom
 
Introduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyIntroduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of Epidemiology
 
9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
Cpg copd
Cpg copdCpg copd
Cpg copd
 
JS-DementiaPrevention12jun2019
JS-DementiaPrevention12jun2019JS-DementiaPrevention12jun2019
JS-DementiaPrevention12jun2019
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
Respiratory dzmnt
Respiratory dzmntRespiratory dzmnt
Respiratory dzmnt
 

Ähnlich wie Evidence based public health (medical cannabis policy)

ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
2564_026.pdf
2564_026.pdf2564_026.pdf
2564_026.pdf609301
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาUtai Sukviwatsirikul
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองJumpon Utta
 
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdfauthor_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdfssuser9f38da
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsNamchai Chewawiwat
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 

Ähnlich wie Evidence based public health (medical cannabis policy) (20)

ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
2564_026.pdf
2564_026.pdf2564_026.pdf
2564_026.pdf
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
8
88
8
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 
Tyr kk camp concept
Tyr kk camp conceptTyr kk camp concept
Tyr kk camp concept
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
Ethics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency MedicineEthics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency Medicine
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Rama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public PolicyRama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public Policy
 
Alter medpart2 n
Alter medpart2 n Alter medpart2 n
Alter medpart2 n
 
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdfauthor_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
 
S mbuyer 109
S mbuyer 109S mbuyer 109
S mbuyer 109
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 

Mehr von Thira Woratanarat

Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyThira Woratanarat
 
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดอยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดThira Woratanarat
 
Evidence based public health
Evidence based public healthEvidence based public health
Evidence based public healthThira Woratanarat
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodThira Woratanarat
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandThira Woratanarat
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Thira Woratanarat
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์Thira Woratanarat
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017Thira Woratanarat
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsThira Woratanarat
 
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559Thira Woratanarat
 
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...Thira Woratanarat
 
Health services responsiveness during political unrest in bangkok ijphrd jul...
Health services responsiveness during political unrest in bangkok  ijphrd jul...Health services responsiveness during political unrest in bangkok  ijphrd jul...
Health services responsiveness during political unrest in bangkok ijphrd jul...Thira Woratanarat
 
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559Thira Woratanarat
 

Mehr von Thira Woratanarat (20)

Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดอยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
 
Thailand Covid19 Situation
Thailand Covid19 SituationThailand Covid19 Situation
Thailand Covid19 Situation
 
Evidence based public health
Evidence based public healthEvidence based public health
Evidence based public health
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's method
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and control
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: Thailand
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
 
SDG AND Songs
SDG AND SongsSDG AND Songs
SDG AND Songs
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
 
Commed2 2017
Commed2 2017Commed2 2017
Commed2 2017
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problems
 
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
 
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
 
Health services responsiveness during political unrest in bangkok ijphrd jul...
Health services responsiveness during political unrest in bangkok  ijphrd jul...Health services responsiveness during political unrest in bangkok  ijphrd jul...
Health services responsiveness during political unrest in bangkok ijphrd jul...
 
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2559
 

Evidence based public health (medical cannabis policy)

  • 1. Evidence-based Public Health: Medical Cannabis Policy รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ ภาควิชาเวชศาสตร์ป้ องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Email: thira.w@chula.ac.th
  • 2. สาธารณสุข ธุรกิจ การแพทย์/วิจัย • ได้ผลจริง และคุ้มค่า • ครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมาย • มีเพียงพอ/เข้าถึงได้/ตรงกับปัญหา • ได้ผลจริง • ไม่แบ่งแยกกีดกัน • รับผิดชอบต่อลูกค้าและสังคม • ประโยชน์และโทษ • ความยุติธรรม • เคารพศักดิ์ศรีความเป็นคน หลักจริยธรรมสําหรับบุคลากรทางการแพทย์ โดย รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 3.
  • 4.
  • 5. Totality of Evidence ≠ เอาอะไรมั่วซั่วมายํารวมกัน
  • 6.
  • 7.
  • 9. กัญชาทางการแพทย์ In-vitro In-vivo Clinical study (I-III) Government policy and phase IV study Clinical practice by physician Use traditionally Belief/support by citizens Clinical use Basic research Under self- responsibility New substance
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13. อ้างอิง : American Epilepsy Society, American Academy of Neurology, American Medical Association และ American Psychiatric Association "การใช้กัญชาในการรักษาโรคลมชักนั้นยังไม่มีหลักฐานเพียงพอที่จะแนะนําให้ใช้ได้“ โดยมีงานวิจัยที่ เพียงพอแก่การอนุมัติกัญชาเป็นยา เพื่อรักษาเฉพาะโรค Lennox-Gastaut syndrome (LGS) และ Dravet syndrome เท่านั้น แต่พบว่าการใช้กัญชาก่อให้เกิดผลข้างเคียง และมีปฏิกิริยาอันไม่พึงประสงค์ระหว่าง กัญชากับยาอื่นด้วย จึงไม่แนะนําให้ใช้กัญชาในการรักษาโรคลมชักด้วยตนเอง เว้นแต่แพทย์เป็นผู้พิจารณา มีการประเมินผลจากกัญชาในระยะยาว พบว่า กัญชารักษาเฉพาะโรคบางโรค เช่น Dravet syndrome เท่านั้น แต่โรคทางระบบประสาทอื่นๆ นั้นยังไม่ได้รับการพิสูจน์ ดังนั้นจึงไม่สนับสนุนให้มีการนํากัญชาไปใช้ในโรค อื่นๆ ทั้งสิ้น มีโรคไม่กี่โรคเท่านั้นที่ได้รับการวิจัยพิสูจน์แล้วว่ากัญชาช่วยในการบรรเทาอาการได้ แต่การจะใช้กัญชาไป รักษาโรคใดๆ จะต้องผ่านกระบวนการวิจัยตามมาตรฐานสากล และรัฐต้องควบคุมอย่างเข้มงวด และต้อง วิจัยประเมินผลกระทบต่อการสาธารณสุข การแพทย์ สังคม และเศรษฐกิจอย่างครบถ้วนรอบด้าน ไม่มีหลักฐานวิชาการว่า กัญชาจะมีประโยชน์ในการรักษาโรคทางจิตเวชใดๆ แต่การใช้กัญชามีความสัมพันธ์ กับการเกิดโรคจิตเวช โดยการจะทําการวิจัยเรื่องกัญชานั้นควรได้รับการควบคุมดูแลอย่างเข้มงวดโดยรัฐ และคํานึงถึงความเสี่ยงเรื่องการเสพติดกัญชาด้วยเสมอ
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17. • แนะนําให้ลองสารสกัดกัญชาสําหรับกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งที่มีอาการคลื่นไส้อาเจียนจากเคมี บําบัด และรักษาโดยยามาตรฐานไม่ได้ผลเท่านั้น แต่ต้องคํานึงถึงผลข้างเคียงเสมอ • ส่วนอาการปวดเรื้อรังนั้น ไม่แนะนําให้ใช้ • ภาวะเกร็งในโรค Multiple Sclerosis ใช้เฉพาะที่รักษามาตรฐานไม่ได้ผล ลองสเปรย์ 4 สัปดาห์ ต้องลดอาการอย่างน้อยร้อยละ 20 จึงจะใช้ต่อได้ • โรคลมชักรุนแรงนั้นใช้เฉพาะ 2 โรค ที่รักษาด้วยยากันชักมาตรฐานตั้งแต่ 2 ตัวแล้วไม่ ได้ผล และต้องประเมินทุก 6 เดือนโดยอาการชักต้องลดลงอย่างน้อยร้อยละ 30
  • 19. กัญชา...เป็นยาเสพติด • โอกาสติดกัญชาในประชากรทั่วไปที่เริ่มใช้ มีราวร้อยละ 10 • แต่หากเริ่มใช้ในช่วงวัยรุ่นจะมีโอกาสติดมากขึ้น เป็นร้อยละ 16 หรือ 1 ใน 6 คน • หากใช้ทุกวันติดต่อกัน จะมีโอกาสติดร้อยละ 33 หรือ 1 ใน 3 คน • ตลอดช่วงชีวิต จะมีโอกาสร้อยละ 44.7 ที่จะเสพกัญชาร่วมกับ ยาเสพติดชนิดอื่นๆ • องค์การอนามัยโลกระบุว่า ร้อยละ 16 ของจํานวนประเทศที่ สํารวจเมื่อปีค.ศ.2015 ได้รายงานปัญหาการติดกัญชาของ ประชาชนว่าเป็นปัญหาหลักทางสาธารณสุขอันดับที่ 2 ของ ประเทศรองจากเหล้า • เนเธอร์แลนด์ที่ใช้กัญชากันทั่วไปนั้น พบว่าคนไข้ที่ต้องเข้ารับ การบําบัดยาเสพติดในแต่ละปีนั้น เป็นจากปัญหาการติดกัญชา ราวร้อยละ 60 อ้างอิง Richter L et al. Assessing the risk of marijuana use disorder among adolescents and adults who use marijuana. Am J Drug Alcohol Abuse. 2017 May;43(3):247-260. Marijuana and Public Health. US Centers for Disease Control and Prevention. Accessed on 31 July 2019.
  • 21.
  • 22.
  • 24. ราคากัญชากับอัตราการเสพ • ราคากัญชาลดลง 10% จะทําให้มีจํานวนคนเสพเพิ่มขึ้น 3% • ราคากัญชาลดลง 10% จะทําให้เยาวชนมาเริ่มลองเสพเพิ่มขึ้น 3-5% อ้างอิง Hilal N et al. K2P Rapid Resoonse: Legalizing Cannabis Cultivation: What We Need to Know. Knowledge to Policy (K2P) Center, Beirut, Lebanon. August 2018.
  • 26. กัญชา...เสพแล้วยังไงก็ไม่ตาย ไม่เป็นพิษ จริงไหม? คําตอบ: "ไม่จริง" • ศูนย์พิษวิทยาของมลรัฐโอเรกอน/อลาสก้า ประเทศสหรัฐอเมริกา • ธันวาคม 2015 ถึงเมษายน 2017 มีจํานวน 253 ราย อายุ 8 เดือน ถึง 96 ปี อายุเฉลี่ย 20 ปี ชายต่อหญิงพอๆ กัน • เด็กมักได้รับกัญชาจากของกินที่ทําเองภายในบ้าน ส่วนผู้ใหญ่มักซื้อจากร้านค้า • เด็กไม่ได้ตั้งใจเสพร้อยละ 98 แต่ผู้ใหญ่ตั้งใจร้อยละ 88 • 8 รายต้องนอนไอซียู 3 รายต้องใส่ท่อช่วยหายใจ • ตาย 1 ราย เป็นผู้ชายอายุ 70 ปี สูบผลิตภัณฑ์กัญชาชนิดของเหลวแบบเข้มข้น จนเกิดหัวใจขาดเลือดและเสียชีวิต อ้างอิง Noble MJ et al. Acute Cannabis Toxicity. Clin Toxicol (Phila). 2019 Aug;57(8):735-742. doi: 10.1080/15563650.2018.1548708.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30. กัญชาลดภาระค่าใช้จ่ายเรื่องปวดและการติดยาเสพติดจริงหรือ? คําตอบ: "ไม่จริง" • ผลการศึกษาล่าสุดเผยแพร่เมื่อ 17 กรกฎาคม 2019 ตีพิมพ์ใน JAMA Network Open • ปลดล็อคกัญชาไม่ได้ช่วยลดปริมาณการใช้ยาแก้ปวดประเภทอนุพันธ์ฝิ่นในผู้ป่วย • ปลดล็อคกัญชาไม่ได้ทําให้สถิติการเสพยาเสพติดประเภทฝิ่นและอนุพันธ์ฝิ่นของประชาชนในสังคมลดลง แต่กลับเพิ่มขึ้นเสีย ด้วยซํ้า • สอดคล้องกับงานวิจัยมากมายที่ชี้ให้เห็นภัยกัญชาว่าแสดงลักษณะ Gateway effect หรือเป็นประตูสู่การเสพยาเสพติดอื่นๆ ทั้งเหล้า บุหรี่ เฮโรอีน โคเคน ฯลฯ อ้างอิง Segura LE et al. Association of US Medical Marijuana Laws With Nonmedical Prescription Opioid Use and Prescription Opioid Use Disorder. JAMA Netw Open. 2019;2(7):e197216. doi:10.1001/jamanetworkopen.2019.7216
  • 31. เปิดเสรีกัญชา...ได้หรือเสีย? • แต่ละครั้งที่รัฐเก็บภาษีได้ 1 ดอลล่าร์จากการขายกัญชา ชาวโคโลราโดจะต้องเสีย เงิน 4.5 ดอลล่าร์ เพื่อนําไปแก้ไขปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเสรีกัญชา • คนเสพกัญชาร้อยละ 27 หรือเกือบหนึ่งในสาม ยอมรับว่า เสพแล้วไปขับรถอยู่ทุกวัน ขณะที่กําลังมีอาการเคลิบเคลิ้ม และร้อยละ 67 หรือสองในสาม ยอมรับว่าเคยขับ ขณะเคลิบเคลิ้มอย่างน้อยหนึ่งครั้ง แม้จะไม่ทําทุกวันก็ตาม • ประโยชน์ที่เกิดขึ้นต่อรัฐในรูปแบบภาษีเงินได้ และมูลค่าที่ดินที่เพิ่มขึ้นนั้น มีราว 400 ล้านดอลล่าร์ ในขณะที่ต้องแลกด้วยค่าเสียหายกว่า 1,100 ล้านดอลล่าร์ อ้างอิง Economic and Social Costs of Legalized Marijuana. Centennial Institute, 18 November 2018.
  • 32. ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสังคมหลังปลดล็อคกัญชาในอเมริกา • คนเสพกัญชาเพิ่มขึ้น 2 เท่า และมีอาการติดยาต้องเข้ารับการ บําบัดเพิ่มขึ้น 2 เท่า แต่ละรัฐต่างกันไป มีตั้งแต่เพิ่มขึ้น 75-300% • อัตราการใช้กัญชาเพื่อการแพทย์ตามข้อบ่งชี้จริงๆ นั้นมีน้อยกว่า 5% ของจํานวนคนใช้กัญชาทั้งหมด • เด็ก วัยรุ่น และคนอายุน้อยกว่า 24 ปี คือกลุ่มที่มีการเสพกัญชา มากที่สุด มีการรับรู้อันตรายจากกัญชาลดลงอย่างต่อเนื่อง และมี การเสพมากขึ้นเรื่อยๆ จนทําให้ออกจากระบบการศึกษา และการ เกิดอุบัติเหตุจราจรมากขึ้น • กัญชาไม่สามารถทดแทนการรักษามาตรฐานได้ ทําให้ส่งผล กระทบต่อทั้งบุคลากรทางการแพทย์และคนไข้ ในเรื่องความเชื่อ และการปฏิบัติระหว่างการดูแลรักษา และผลลัพธ์ทางสุขภาพ • ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพื่อดูแลรักษาผลกระทบคิดเป็น 60% ของ ค่าความเสียหายทั้งหมดที่เกิดจากการปลดล็อค • ปัญหาการขับขี่ผิดกฎหมายจากการเสพกัญชามากกว่าการดื่ม เหล้า เสี่ยงชนมากขึ้น 2 เท่า • ปัญหาอาชญากรรมที่เกิดจากการเสพกัญชามากขึ้นอย่างชัดเจน ในรัฐที่ปลดล็อค ทั้งเรื่องการจี้ปล้น ทําร้ายร่างกาย ฆาตกรรม อ้างอิง Evans DG et al. The Economics Impacts of Marijuana Legalization. The Journal of Global Drug Policy and Practice, December 2013.
  • 34. เสียงเตือนจาก INCB • กัญชาไม่มีหลักฐานพอที่จะนํามาใช้ทดแทนการรักษามาตรฐาน หรือมาเป็น first line treatment ได้ • อัตราการเกิดผลข้างเคียง/ไม่พึงประสงค์ในกลุ่มคนที่ใช้กัญชามีสูงมาก • ประเทศที่ปลดล็อคเพื่อใช้ทางการแพทย์หลายประเทศนั้นเกิดปัญหา สาธารณสุข และทางสังคมตามมาหลายต่อหลายเรื่อง แถมที่ปลดล็อคใช้ ทางการแพทย์นั้น เอาเข้าจริงปรากฏว่าไม่สามารถควบคุมได้ ทําให้เกิดการ แอบใช้ผิดวัตถุประสงค์มากมาย และมีการค้าขายตลาดมืดเข้ามาเกี่ยวข้อง จนทําให้กลายเป็นปัญหาที่ยากจะแก้ไข อ้างอิง https://www.incb.org/incb/en/publications/annual-reports/annual-report-2018.html
  • 35. ทําอย่างไรดี? • ราชวิทยาลัยแพทย์ สมาคมวิชาชีพแพทย์ และบุคลากร สาขาสุขภาพต่างๆ ตลอดจนโรงเรียนแพทย์ชั้นนําควร พิจารณาประกาศจุดยืนทางวิชาชีพ ในการนํากัญชาหรือ ผลิตภัณฑ์จากกัญชามาใช้ดูแลรักษา โดยขอให้ยึดมั่น หลักฐานทางวิชาการที่พิสูจน์เรื่องความปลอดภัยและ สรรพคุณได้ตามมาตรฐานสากล • โรงพยาบาลต่างๆ ควรพิจารณาออกประกาศนโยบายของ โรงพยาบาล (Hospital policy) ในการใช้กัญชาหรือ ผลิตภัณฑ์จากกัญชาในการดูแลรักษา โดยยึดมั่นในหลัก วิชาการ เพื่อช่วยปกป้ องทั้งผู้ป่วยและบุคลากรทางการ แพทย์ของท่าน และช่วยป้ องกันปัญหาในอนาคตที่อาจ เกิดขึ้น ทั้งจากระบบประกันสุขภาพ และปัญหาทาง กฎหมาย • รัฐควรพัฒนากลไกตรวจ ติดตาม กํากับ การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารด้านสุขภาพที่เป็นเท็จ • รัฐควรขับเคลื่อนนโยบายด้านกัญชาโดยเน้นเรื่องการวิจัย และพัฒนา อย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามขั้นตอนมาตรฐาน
  • 36. ด้วยความปรารถนาดีต่อทุกคนครับ รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย “ผมไม่เชื่อว่ารัฐ และกลไกต่างๆ ในสังคมที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันนี้ จะสามารถดูแล ปกป้ องประชาชนจากผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการปลดล็อคกัญชาได้” "ครอบครัวเป็นหน่วยเล็กที่สุดในสังคม ที่จะต้องเลี้ยงดูลูกหลานของ ตนเองให้ดี ดูแลใกล้ชิด สอนให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคม รู้ว่า อะไรควรทําไม่ควรทํา" "ตอนนี้คงไม่สามารถทําอะไรได้แล้ว นอกจากหาทางช่วยกันเตือน ประชาชนในสังคมไทยให้เตรียมรับมือกับปัญหาสังคมที่จะเกิดขึ้นจาก นโยบายกัญชา" อ้างอิง ธีระ วรธนารัตน์ “บทเรียนสังคมไทยจากเรื่องกัญชา” สํานักข่าวอิศรา. 9 มิถุนายน 2562. https://www.isranews.org/isranews-article/77339-cannabis-77339.html
  • 37. "The M.T.A. Song", better known as "Charlie on the M.T.A“ By Kingston Trio, 1959.