SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 102
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แนวทางการดำเนินงาน
ตามนโยบายเรียนฟรี
เรียนดี
๑๕
ปี
         อย่างมีคุณภาพ
      ปีงบประมาณ
๒๕๕๔




 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
          กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ
	        แนวทางการดำเนิ น งานตามนโยบายเรี ย นฟรี	 เรี ย นดี	 ๑๕	 ปี	
อย่างมีคุณภาพปีงบประมาณ	 ๒๕๕๔	 จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับ	
การดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี	 เรียนดี	 ๑๕	ปี	 อย่างมีคุณภาพทั้งระดับ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และสถานศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานให้เสร็จตามกำหนดเวลา	
รวมทั้ง	ประหยัด	โปร่งใส	เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนและทางราชการสูงสุด		
	        การจั ด ทำแนวทางการดำเนิ น งานตามนโยบายเรี ย นฟรี	 เรี ย นดี	
๑๕	 ปี	 อย่างมีคุณภาพ	 สำหรับปีการศึกษา	 ๒๕๕๔	 มีแนวคิดและหลักการ	      	
ในการดำเนินการ	๔	ประการดังนี้	
	        ๑.	ยึดหลักการแนวทางการดำเนินงานในปีการศึกษา	 ๒๕๕๓	 เป็น
แนวทางหลัก	
	        ๒.	สนองตอบต่อนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ	         	
นายชินวรณ์	 บุณยเกียรติ	 และจุดเน้นการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง	
(พ.ศ.	 ๒๕๕๒-๒๕๖๑)	 ที่รัฐบาลมุ่งเน้นให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี
คุ ณ ภาพโดยมี เ ป้ า หมายหลั ก	 ๓	 ประการ	 คื อ	 การพั ฒ นาคุ ณ ภาพและ
มาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย	 เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและ
การเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ	 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษา	
	        ๓.	ปรับปรุงแนวดำเนินงานตามผลการสำรวจและรายงานการวิจัย
การดำเนินงานในปีงบประมาณ	๒๕๕๒	
	        ๔.	แนวทางการดำเนินงาน	 ปีการศึกษา	 ๒๕๕๔	 เป็นแนวทางการ
ดำเนินงานที่สามารถใช้ร่วมกันสำหรับสถานศึกษา	ที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ทุกสังกัด
สาระสำคั ญ ของแนวทางการดำเนิ น งาน	 ตามนโยบายเรี ย นฟรี	
เรียนดี	 ๑๕	 ปี	 อย่างมีคุณภาพ	 ประกอบด้วย	 ความเป็นมา	 วัตถุประสงค์	
สาระสำคั ญ ของนโยบาย	 วิ ส ั ย ทั ศ น์	 เป้ า หมาย	 งบประมาณ	 แนวทาง	        	
การบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ	 แนวทางการจัดซื้อจัดหา	 การติดตามควบคุมและ
กำกับ	 ปฏิ ท ิ น การดำเนินงาน	 ประโยชน์ที่คาดว่ า จะได้ ร ั บ และเอกสารที ่
เกี่ยวข้อง	
	        สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 หวังเป็นอย่างยิ่งว่า
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี	 เรียนดี	 ๑๕	 ปี	 อย่างมีคุณภาพ
ปี ง บประมาณ	 ๒๕๕๔	 เล่ ม นี ้	 จะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การดำเนิ น งานตาม
นโยบายเรียนฟรี	 เรียนดี	 ๑๕	 ปี	 อย่างมีคุณภาพ	 ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียน	      	
มีความพร้อมที่จะเรียนมากขึ้น	 สถานศึกษามีความพร้อมที่จะจัดกิจกรรม	           	
การเรียนรู้มากขึ้น	 ส่งผลให้นักเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 ๑๕	 ปี	 ที่มี
คุณภาพและมาตรฐาน	โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย	รวมทั้งสอดคล้องกับเจตนารมณ์
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย	 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
และนโยบายของรัฐบาล	
	
	
	
	                                  (นายชินภัทร	ภูมิรัตน)	
	                       เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สารบัญ
	        	 	 	                                                        หน้า
คำนำ

ความเป็นมา		                                                            ๑	
วัตถุประสงค์		                                                          ๓	
สาระสำคัญของนโยบาย	                                                     ๓	
วิสัยทัศน์นโยบายเรียนฟรี	เรียนดี	๑๕	ปี	อย่างมีคุณภาพ	                   ๕	
เป้าหมาย		 	                                                            ๖	
	        ✿		 ด้านปริมาณ	                                                ๖	
	        ✿		 ด้านคุณภาพ	                                               ๑๐	
ตัวชี้วัด	 	 	                                                         ๑๑	
งบประมาณ		                                                             ๑๒	
แนวทางการจัดสรรงบประมาณ	                                               ๒๕	
แนวทางการบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ์	                                    ๒๙	
แนวทางการจัดซื้อจัดหา	                                                 ๓๑	
	        ✿		 ด้านการมีส่วนร่วม	                                        ๔๔	
การติดตาม	ควบคุม	และกำกับ	                                             ๔๗	
ปฏิทินการดำเนินงาน	                                                    ๔๘	
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ	                                             ๕๐	
ภาคผนวก
	        ✿		 การบริหารงบประมาณ	งบเงินอุดหนุน	ประเภทเงินอุดหนุน	
	        	 ทั่วไป	เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน	
	        	 -	 ค่าจัดการเรียนการสอน	(ค่าใช้จ่ายรายหัว)	                 ๕๒	
	        	 -	 ค่าจัดการเรียนการสอน	(เงินอุดหนุนปัจจัย	
	        	 	 พื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน)	                              ๕๖
สารบัญ
(ต่อ)
	   	 	 	                                                   หน้า
	   	 -	 ค่าจัดการเรียนการสอน	(ค่าอาหารสำหรับ	
	   	 	 นักเรียนประจำพักนอน)	                                ๕๙	
	   ✿		 หลักฐานการจ่ายเงิน	                                  ๖๒	
	   ✿		 แนวทางการดำเนินการเลือกซื้อหนังสือเสริม	
	   	 ประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย)	                           ๖๓	
	   ✿		 หนังสือกรมบัญชีกลาง	เรื่องการขอผ่อนผันการจัดซื้อ	      	
	   	 หนังสือเรียนโดยวิธีพิเศษ	                              ๖๙	
	   ✿		 ตารางแสดงการลดค่าใช้จ่ายผู้ปกครอง/นักเรียน	          ๗๒	
	   ✿		 หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน		
	   	 เรื่องหลักเกณฑ์เงินบำรุงการศึกษาของสถานศึกษา	
	   	 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	           ๘๑	
	   ✿		 คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน		
	   	 เรื่องแต่งตั้งคณะทำงานประชุมสัมมนาและกำหนด	
	   	 แนวทางการดำเนินงานและการบริหารงบประมาณ	
	   	 ตามนโยบายเรียนฟรี	เรียนดี	๑๕	ปี	อย่างมีคุณภาพ		
	   	 ประจำปีงบประมาณ	๒๕๕๔	                                  ๘๙	
	   ✿		 ศูนย์ประสานงาน	                                      ๙๔
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี
         อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
ความเป็นมา
	         ด้ ว ยรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย	 พุ ท ธศั ก ราช	 ๒๕๕๐	     	
หมวด	 ๓	 มาตรา	 ๔๙	 ได้บัญญัติไว้ว่า	 “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับ
การศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปี	 ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย”	 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ	 พุทธศักราช	
๒๕๔๒	 และที่แก้ไขเพิ่มเติม	 (ฉบับที่	 ๓)	 พุทธศักราช	 ๒๕๕๓	 มาตรา	 ๑๐	          	
วรรค	๑	ได้บัญญัติไว้ว่า	“การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาส
เสมอกัน	 ในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้อง	            	
จัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ	 โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย”	 ซึ่งเป็นข้อกำหนด	         	
ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบกับคำแถลงนโยบายของ	                  	
คณะรั ฐ มนตรี	 ได้ ก ำหนดเป็ น นโยบายเร่ ง ด่ ว นที ่ จ ะเริ ่ ม ดำเนิ น การตาม
เจตนารมณ์ดังกล่าวในปีการศึกษา	๒๕๕๒	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
โดยกำหนดไว้ในข้อ	 ๑.๓	 การลดภาระค่าครองชีพของประชาชน	                 	
ข้อ	 ๑.๓.๑	 ว่า	 “ให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี	 ๑๕	 ปี	 โดยสนับสนุน
ตำราในวิชาหลักให้แก่ทุกสถานศึกษา	 จัดให้มีชุดนักเรียนและอุปกรณ์การ
เรียนฟรี	 ให้ทันปีการศึกษา	๒๕๕๒	และสนับสนุนค่าใช้จ่ายอื่น	ๆ	เพื่อชดเชย
รายการต่าง	 ๆ	 ที่สถานศึกษาเรียกเก็บจากผู้ปกครอง”	 อีกทั้งนโยบายของรัฐ	
ด้านการศึกษา	 ข้อ	 ๓.๑.๔	 กำหนดว่า	 “จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา
ฟรี	 ๑๕	 ปี	 ตั้งแต่อนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย	 พร้อมทั้งเพิ่ม
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและความเป็นธรรมใน
โอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนในกลุ่มผู้ด้อยโอกาส	 ทั้งผู้ยากไร้	 ผู้พิการ
หรือทุพพลภาพ	 ผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก	 ผู้บกพร่องทางร่างกายและสติ
ปั ญ ญา	 และชนต่ า งวั ฒ นธรรมรวมทั ้ ง ยกระดั บ การพั ฒ นาศู น ย์ เ ด็ ก เล็ ก	
ในชุมชน”	
	        กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ดำเนินการตามเจตนารมณ์ดังกล่าวข้าง
ต้นโดยจัดทำโครงการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี	 เรียนดี	 ๑๕	ปี	 อย่างมี
คุณภาพขึ้น	ตั้งแต่ภาคเรียนที่	 ๑	ปีการศึกษา	๒๕๕๒	เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน
ทุ ก คนได้ ร ั บ โอกาสทางการศึ ก ษาอย่ า งเต็ ม ตามศั ก ยภาพ	 ซึ ่ ง กระทรวง
ศึกษาธิการยังคงดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี	 เรียนดี	 ๑๕	 ปีอย่างมี
คุณภาพ	ต่อเนื่องในปีการศึกษา	๒๕๕๓	จนถึงปัจจุบัน	
	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
วัตถุประสงค์
	       เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 ๑๕	 ปี	 ที่มีคุณภาพ	
และมาตรฐานโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในรายการที่รัฐจัดให้ได้แก่	 ค่าจัดการเรียน
การสอน	 หนังสือเรียน	 อุปกรณ์การเรียน	 เครื่องแบบนักเรียนและกิจกรรม
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน	
	




สาระสำคัญของนโยบาย
	            นโยบายเรียนฟรี	 เรียนดี	 ๑๕	ปีอย่างมีคุณภาพ	เป็นนโยบายเร่งด่วน
ของรัฐบาล	เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน	๑๕	ปี	 ตั้งแต่ชั้นอนุบาล	
๑	 ถึ ง ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย	 ทั ้ ง ประเภทสามั ญ ศึ ก ษาและประเภท
อาชีวศึกษา	อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตามสิทธิที่กำหนด
ไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช	 ๒๕๕๐	 และเพื่อลด
ภาระค่าใช้จ่ายเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ปกครอง	 โดยสนับสนุน
ค่าเล่าเรียน	 (ค่าจัดการเรียนการสอน:รายหัว/ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน/
ค่าอาหารนักเรียนพักนอน)	 ค่าหนังสือเรียน	 อุปกรณ์การเรียน	 เครื่องแบบ

   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
นักเรียน	 และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน	 เพื่อดำเนินการตั้งแต่ภาคเรียน	
                                                                      	
ที่	 ๑	 ปีการศึกษา	 ๒๕๕๒	 และดำเนินการต่อเนื่องในปีการศึกษา	 ๒๕๕๓	 -	
๒๕๕๔	สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน	ได้รับงบประมาณรายจ่าย
ประจำปีงบประมาณ	 พ.ศ.	 ๒๕๕๔	 ตามแผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน	 ๑๕	 ปี	 โครงการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย	
๑๕	 ปี	 กิจกรรมการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย	 งบเงิน
อุดหนุน	 เงินอุดหนุนทั่วไป	 ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานรวม	 	
๕	รายการดังนี้	
	          ๑.	ค่าจัดการเรียนการสอน	           ๒๖,๖๗๑,๓๐๐,๓๐๐	บาท	
	          ๒.	ค่าอุปกรณ์การเรียน	              ๓,๐๘๔,๒๙๔,๔๐๐	บาท	
	          ๓.	ค่าเครื่องแบบนักเรียน	           ๓,๒๒๑,๑๔๘,๕๐๐	บาท	
	          ๔.	ค่าหนังสือเรียน	                 ๓,๖๒๔,๓๘๙,๖๐๐	บาท	
	          ๕.	ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน		 ๕,๒๕๓,๖๘๘,๕๐๐	บาท	
	          รวมทั้งสิ้น	                       ๔๑,๘๕๔,๘๒๑,๓๐๐	บาท	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
ในการดำเนิ น งานตามนโยบายเรี ย นฟรี	 เรี ย นดี	 ๑๕	 ปี	 อย่ า งมี
คุณภาพ	 ในปีการศึกษา	 ๒๕๕๔	 นอกจากการมุ่งลดภาระค่าใช้จ่ายเป็นการ
บรรเทาความเดือดร้อนแล้ว	 ยังมุ่งตอบสนองต่อจุดเน้นการปฏิรูปการศึกษา	
ในทศวรรษที่สอง	(พ.ศ.	๒๕๕๒	-	๒๕๖๑)	ที่รัฐบาลมุ่งเน้นให้คนไทยได้เรียนรู้
ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ	โดยมีเป้าหมายหลัก	๓	ประการคือ	
	      ๑.	เพิ ่ ม โอกาสทางการศึ ก ษาและการเรี ย นรู ้ อ ย่ า งทั ่ ว ถึ ง และมี
คุณภาพ	
	      ๒.	พั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาและการเรี ย นรู ้ ข อง	            	
คนไทย	
	      ๓.	ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหาร
และจัดการศึกษา	




วิสัยทัศน์นโยบายเรียนฟรี
เรียนดี
๑๕
ปี
อย่างมีคุณภาพ

    นโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ มุ่งลดค่าใช้จ่าย
     ผู้ปกครอง เพิ่มโอกาสทางการศึกษา พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
       และประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารและจัดการศึกษา

   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
เป้าหมาย

ด้านปริมาณ
 

๑.
ลดค่าใช้จ่ายผู้ปกครองนักเรียนแยกตามประเภทโรงเรียนดังนี้
ก.
โรงเรียนปกติ
                      ภาคเรียนที่
๑/๒๕๕๔
               ภาคเรียนที่
๒/๒๕๕๔
          ชั้น
                     (ปีงบประมาณ
๒๕๕๔)
                (ปีงบประมาณ
๒๕๕๕)
อ.๑ - ๒             ๑,๖๖๕ บาท                          ๑,๑๖๕ บาท
ป.๑ - ป.๖ นร.ทั่วไป ๒,๓๐๖ บาท - ๒,๖๒๓ บาท              ๑,๓๘๕ บาท
ป.๑ - ป.๖ นร.ยากจน ๒,๘๐๖ บาท - ๓,๑๒๓ บาท               ๑,๘๘๕ บาท***
                    ***
ม.๑ - ม.๓ นร.ทั่วไป ๓,๕๔๙ บาท - ๓,๖๙๓ บาท              ๒,๔๐๐ บาท
ม.๑ - ม.๓ นร.ยากจน ๕,๐๔๙ บาท - ๕,๑๙๓ บาท               ๓,๙๐๐ บาท
ม.๔ - ม.๖           ๔,๐๙๓ บาท - ๔,๓๒๐ บาท              ๒,๖๐๕ บาท




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
ข.
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว/สถานประกอบการ
                         ภาคเรียนที่
๑/๒๕๕๔
          ภาคเรียนที่
๒/๒๕๕๔
            ชั้น
                        (ปีงบประมาณ
๒๕๕๔)
           (ปีงบประมาณ
๒๕๕๕)
อ.๑ - ๒                 ๔,๓๐๖ บาท                    ๓,๘๐๖ บาท
ป.๑ - ป.๖               ๔,๙๓๒ บาท - ๕,๒๔๙ บาท        ๔,๐๑๑ บาท
ม.๑ - ม.๓               ๖,๑๐๖ บาท - ๖,๙๔๙ บาท        ๕,๖๕๖ บาท
ม.๔ - ม.๖               ๗,๑๘๒ บาท - ๙,๕๔๘ บาท        ๕,๘๗๖ บาท
ปวช. ๑-๓                ๙,๔๗๓ บาท                    ๖,๕๗๓ บาท
(สถานประกอบการ)

ค.
โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์
                         ภาคเรียนที่
๑/๒๕๕๔
          ภาคเรียนที่
๒/๒๕๕๔
            ชั้น
                        (ปีงบประมาณ
๒๕๕๔)
           (ปีงบประมาณ
๒๕๕๕)
อ.๑ - ๒                 ๑๔,๖๘๕ บาท                   ๑๔,๑๘๕ บาท
ป.๑ - ป.๖               ๑๕,๓๑๕.๘๐ บาท -              ๑๔,๓๙๕ บาท
                        ๑๕,๖๓๒.๖๐ บาท
ม.๑ - ม.๓               ๑๖,๑๔๙.๒๐ บาท -               ๑๕,๐๐๐ บาท
                        ๑๖,๒๙๓.๒๐ บาท
ม.๔ - ม.๖               ๑๖,๖๙๓.๐๐ บาท -               ๑๕,๒๐๕ บาท
                        ๑๖,๙๒๐.๒๐ บาท




  แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
ง.
โรงเรียนการศึกษาพิเศษ
                           ภาคเรียนที่
๑/๒๕๕๔
          ภาคเรียนที่
๒/๒๕๕๔
            ชั้น
                          (ปีงบประมาณ
๒๕๕๔)
           (ปีงบประมาณ
๒๕๕๕)
อ. ๑ - ๒                  ๑๔,๘๘๕ บาท                   ๑๔,๓๘๕ บาท
ป.๑ - ป.๖                 ๑๕,๕๒๕.๘๐ บาท -              ๑๔,๖๐๕ บาท
                          ๑๕,๘๔๒.๖๐ บาท
ม.๑ - ม.๓                 ๑๖,๕๔๙.๒๐ บาท -              ๑๕,๔๐๐ บาท
                          ๑๖,๖๙๓.๒๐ บาท
ม.๔ - ม.๖                 ๑๖,๘๙๓ บาท -                 ๑๕,๔๐๕ บาท
                          ๑๘,๑๒๐.๒๐ บาท

จ.
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
                           ภาคเรียนที่
๑/๒๕๕๔
 ภาคเรียนที่
๒/๒๕๕๔
            ชั้น
                          (ปีงบประมาณ
๒๕๕๔)
 (ปีงบประมาณ
๒๕๕๕)
เด็กที่มา                 ๘๑๕ บาท              ๓๑๕ บาท
รับบริการที่ศูนย์ฯ




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๒.
จำนวนนักเรียนที่ ได้รับโอกาสทางการศึกษา
	      นักเรียน	๘,๐๙๐,๒๑๕	คน	

      แยกระดับการศึกษา
ดังนี้
	      ๑.	ก่อนประถมศึกษา	                                     ๑,๐๔๓,๑๐๖	คน	
	      ๒.	ประถมศึกษา	                                        	๓,๕๖๔,๕๓๙	คน	
	      ๓.	มัธยมศึกษาตอนต้น	                                   ๒,๓๕๗,๗๓๓	คน	
	      ๔.	มัธยมศึกษาตอนปลาย	                                  ๑,๑๒๐,๘๗๔	คน	
	      ๕.	ปวช.	(สถานประกอบการ)	                                   ๓,๙๖๑	คน	

      นักเรียนแยกประเภทโรงเรียนดังนี้
	      ๑.	โรงเรียนปกติ	                                       ๘,๐๑๘,๒๔๒	คน	
	      ๒.	โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์	                                ๔๕,๗๕๘	คน	
	      ๓.	โรงเรียนการศึกษาพิเศษ	                                 ๒๒,๐๘๔	คน	
	      ๔.	การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน	                              ๔,๑๓๑	คน	
	      	 โดยครอบครัว/สถานประกอบการ	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
0

ด้านคุณภาพ
	       ๑.
นักเรียนมีความรู้ทักษะกระบวนการตามเป้าหมายของการ
จัดการเรียนรู้	 จากการเรียนรู้ที่มีความพร้อมทั้งหนังสือเรียน	 แบบฝึกหัด	
อุปกรณ์การเรียนและการจัดกิจกรรมภาคปฏิบัติด้านต่าง	 ๆ	 เสริมการเรียนรู้
ในห้องเรียน	
	       ๒.
นั ก เรี ย นมี ค วามรู้ แ ละประสบการณ์ จ ากการจั ด กิ จ กรรม	     	
วิชาการ/กิจกรรมทัศนศึกษา	
	       ๓.
นั ก เรี ย นมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ จ ากการจั ด กิ จ กรรม	
                                                                             	
คุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด		
	       ๔.
นักเรียนมีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 (ICT)
 เพื่อ	
การแสวงหาความรู้และการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์	
	       ๕.
นักเรียนมีความสามารถ
 ทักษะและคุณลักษณะตามจุดเน้น	
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับผ่านกระบวนการเรียนรู้	 การใช้สื่อและ
อุปกรณ์การเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
ตัวชี้วัด
ด้านปริมาณ
	         ๑.	จำนวนเงินที่ลดค่าใช้จ่ายให้ผู้ปกครอง	
	         ๒.	จำนวนนักเรียนที่ได้รับโอกาสทางการศึกษา	

ด้านคุณภาพ
	         ๑.	ร้ อ ยละของนั ก เรี ย นมี ค วามพร้ อ มด้ า นต่ า ง	 ๆ	 ทั ้ ง ด้ า นการ
สนับสนุนค่าจัดการเรียนการสอน	 เครื่องแบบนักเรียน	 อุปกรณ์การเรียน	
หนังสือเรียน	แบบฝึกหัด	และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	
	         ๒.	ระดับความสำเร็จของนักเรียนมีความรู้	 และประสบการณ์จาก
การจัดกิจกรรมวิชาการ/กิจกรรมทัศนศึกษา	
	         ๓.	ร้อยละของนักเรียน	 มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์	 จากการจัด
กิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสือ	เนตรนารี	ยุวกาชาด	
	         ๔.	ร้อยละของนักเรียน	 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ	 (ICT)	
เพื่อการแสวงหาความรู้	และการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์	
	         ๕.	ร้อยละของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ
ตามจุดเน้น	

ด้านการมีส่วนร่วม
	         ระดั บ การมี ส ่ ว นร่ ว มในขั ้ น ตอนต่ า ง	 ๆ	 ของนั ก เรี ย น	 ผู ้ ป กครอง	
                                                                                        	
คณะกรรมการภาคี	๔	ฝ่าย	และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน	
	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
งบประมาณ
๑.
ค่าจัดการเรียนการสอน
	       (เงินอุดหนุนรายหัว/ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน/อาหารนักเรียน	 	
พักนอน)	

       สำหรับนักเรียนโรงเรียนปกติ
มีเกณฑ์การจัดสรรดังนี้

       ๑)
ระดับก่อนประถมศึกษา
	       	 -	 รายหัวโรงเรียนปกติ	 ๘๕๐	 บาท/คน/ภาคเรียน	 (๑,๗๐๐	 บาท/
คน/ปี)	
	       	 -	 รายหั ว ครอบครั ว /สถานประกอบการ	 ๓,๔๙๑	 บาท/คน/	       	
ภาคเรียน	(๖,๙๘๒	บาท/คน/ปี)	

       ๒)
ระดับประถมศึกษา
	       	 -	 รายหัวโรงเรียนปกติ	 ๙๕๐	 บาท/คน/ภาคเรียน	 (๑,๙๐๐	 บาท/
คน/ปี)	
	       	 -	 ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน	(๔๐%)	๕๐๐	บาท/คน/ภาคเรียน	
(๑,๐๐๐	บาท/คน/ปี)	
	       	 -	 ค่ า อาหารนั ก เรี ย นพั ก นอน	 ๒,๖๕๐	 บาท/คน/ภาคเรี ย น	
(๕,๓๐๐	บาท/คน/ปี)	
	       	 -	 รายหั ว ครอบครั ว /สถานประกอบการ	 ๓,๕๗๖	 บาท/คน/	       	
ภาคเรียน	(๗,๑๕๒	บาท/คน/ปี)	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๓)
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
	        	 -	 รายหัวโรงเรียนปกติ	๑,๗๕๐	บาท/คน/ภาคเรียน	
	        	 	 (๓,๕๐๐	บาท/คน/ปี)	
	                                                                         	
         	 -	 ปั จ จั ย พื ้ น ฐานนั ก เรี ย นยากจน	 (๓๐%)	 ๑,๕๐๐	 บาท/คน/	
ภาคเรียน	(๓,๐๐๐	บาท/คน/ปี)	
	        	 -	 รายหั ว ครอบครั ว /สถานประกอบการ	 ๕,๐๐๖	 บาท/คน/	           	
ภาคเรียน	(๑๐,๐๑๒	บาท/คน/ปี)	

        ๔)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
	        	 -	 รายหัวโรงเรียนปกติ	๑,๙๐๐	บาท/คน/ภาคเรียน	(๓,๘๐๐	บาท	        	
/คน/ปี)	
	        	 -	 รายหั ว ครอบครั ว /สถานประกอบการ	 ๕,๑๗๑	 บาท/คน/	           	
ภาคเรียน	(๑๐,๓๔๒	บาท/คน/ปี)	

        ๕)
ปวช.
๑-๓
(สถานประกอบการ)
	        	 -	 รายหัว	๕,๘๖๘	บาท/คน/ภาคเรียน	(๑๑,	๗๓๖	บาท/คน/ปี)	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่
 ๒๗
ตุลาคม
๒๕๕๒
เห็นชอบให้เพิ่ม
เงินอุดหนุนรายหัว	ให้นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กตั้งแต่	 ภาคเรียนที่	 ๑	ปี
การศึกษา	๒๕๕๓	เป็นต้นไป	ดังนี้	
	         ๑.	โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กที่มีนักเรียน	 ๑๒๐	 คนลงมาให้
เพิ ่ ม จากรายหั ว ที ่ ไ ด้ ร ั บ ปกติ	 (ก่ อ นประถม	 ๑,๗๐๐	 บาท/ประถมศึ ก ษา	
๑,๙๐๐	 บาท)	 เพิ่มอีก	 ๕๐๐	 บาท/คน/ปี	 สำหรับภาคเรียนที่	 ๑	 ปีการศึกษา	
๒๕๕๓	จะได้รับ	๒๕๐	บาท/คน/ภาคเรียน	
	         ๒.	โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กที่มีนักเรียน	๓๐๐	คนลงมาให้เพิ่ม
จากรายหัวที่ได้รับปกติ	 (ม.ต้น	๓,๕๐๐	บาท/ม.ปลาย	๓,๘๐๐	บาท)	เพิ่มอีก	
๑,๐๐๐	 บาท/คน/ปี	 สำหรับภาคเรียนที่	 ๑	 ปีการศึกษา	 ๒๕๕๓	 จะได้รับ	
๕๐๐	บาท/คน/ภาคเรียน	
	         มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่
 ๒
มิถุนายน
๒๕๕๓
เห็นชอบให้เพิ่ม
เงินอุดหนุนให้โรงเรียนขยายโอกาสที่มีนักเรียน
 ๓๐๐
 คนลงมา
 ให้เพิ่ม
จากรายหัวที่ได้รับปกติ	โดยจัดให้เฉพาะนักเรียน	ม.ต้นเพิ่มให้อีก	๕๐๐	บาท/
คน/ภาคเรียน	(๑,๐๐๐	บาท/คน/ปี)	
	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
งบปัจจัยพื้นฐานสำหรับโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์

       ๑.
ระดับก่อนประถมศึกษา

	       		 -	 นักเรียนประจำหัวละ	                          ๑๙,๙๐๐	บาท/คน/ปี	
	       		 -	 นักเรียนไป-กลับหัวละ	                         	๖,๑๒๐	บาท/คน/ปี	

       ๒.
ระดับประถมศึกษา

	       		 -	 นักเรียนประจำหัวละ	                          ๑๙,๙๐๐	บาท/คน/ปี	
	       	 -	 นักเรียนไป-กลับหัวละ		                         	๖,๑๒๐	บาท/คน/ปี	

       ๓.

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
 
	       		 -	 นักเรียนประจำหัวละ	                          ๑๙,๗๐๐	บาท/คน/ปี	
	       		 -	 นักเรียนไป-กลับหัวละ	                         	๕,๕๐๐	บาท/คน/ปี	

       ๔.

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
          
	       		 -	 นักเรียนประจำหัวละ	                          ๑๙,๗๐๐	บาท/คน/ปี	
	       		 -	 นักเรียนไป-กลับหัวละ	                         	๕,๕๐๐	บาท/คน/ปี	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
งบปัจจัยพื้นฐานสำหรับโรงเรียนศึกษาพิเศษ

       ๑.

ระดับก่อนประถมศึกษา
 
	       		 -	 นักเรียนประจำหัวละ	                          ๒๐,๓๒๐	บาท/คน/ปี	
	       		 -	 นักเรียนไป-กลับหัวละ	                         	๖,๑๒๐	บาท/คน/ปี	

       ๒.

ระดับประถมศึกษา

         
	       		 -	 นักเรียนประจำหัวละ	                          ๒๐,๓๒๐	บาท/คน/ปี	
	       		 -	 นักเรียนไป-กลับหัวละ	                         	๖,๑๒๐	บาท/คน/ปี	

       ๓.

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
	       		 -	 นักเรียนประจำหัวละ	                           ๒๐,๑๐๐	บาท/คน/ปี	
	       		 -	 นักเรียนไป-กลับหัวละ	                         	๕,๙๐๐	บาท/คน/ปี	

       ๔.

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
	       		 -	 นักเรียนประจำหัวละ	                          ๑๙,๗๐๐	บาท/คน/ปี	
	       		 -	 นักเรียนไป-กลับหัวละ	                         	๕,๙๐๐	บาท/คน/ปี	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๒.
เครื่องแบบนักเรียน
	        เครื่องแบบนักเรียน	 ประกอบด้วย	 เสื้อ/กางเกง/กระโปรง	 คนละ	       	
๒	ชุด/ปีในอัตรา	
	        ก่อนประถมศึกษา		                                ๓๐๐	บาท/คน/ปี	
	        ประถมศึกษา	                                     ๓๖๐	บาท/คน/ปี	
	        มัธยมศึกษาตอนต้น	                               ๔๕๐	บาท/คน/ปี	
	        มัธยมศึกษาตอนปลาย	                              ๕๐๐	บาท/คน/ปี	
	        ปวช.๑-๓	(สถานประกอบการ)	                        ๙๐๐	บาท/คน/ปี	
	        กรณีนักเรียนมีชุดนักเรียนเพียงพอแล้ว	 สามารถซื้อเข็มขัด	 รองเท้า	
ถุงเท้าชุดลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด/ชุดกีฬา	 ได้	 กรณีการจัดซื้อชุดนักเรียน	
                                                                           	
ที่ต่างไปจากชุดนักเรียนปกติและราคาสูงกว่าที่กำหนดวงเงินดังกล่าวอาจซื้อ
ได้เพียง	๑	ชุด	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๓.
อุปกรณ์การเรียน
	       อุปกรณ์การเรียนที่จำเป็นสำหรับนักเรียนเช่น	 สมุด	 ปากกา	 ดินสอ
ยางลบไม้บรรทัดเครื่องมือเรขาคณิต	 วัสดุฝึก	 ICT	 กระดาษ	 A4	 สีเทียน	  	
ดินน้ำมันไร้สารพิษ	 กระเป๋านักเรียน	 อุปกรณ์ที่จำเป็นและส่งผลต่อการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน	ในอัตราดังนี้	
	       ก่อนประถมศึกษา		             ๑๐๐	บาท/ภาคเรียน	(๒๐๐	บาท/ปี)	
	       ประถมศึกษา	                 	๑๙๕	บาท/ภาคเรียน	(๓๙๐	บาท/ปี)	
	       มัธยมศึกษาตอนต้น		           ๒๑๐	บาท/ภาคเรียน	(๔๒๐	บาท/ปี)	
	       มัธยมศึกษาตอนปลาย		          ๒๓๐	บาท/ภาคเรียน	(๔๖๐	บาท/ปี)	
	       ชั้นปวช.๑-๓	                	๒๓๐	บาท/ภาคเรียน	(๔๖๐	บาท/ปี)	
	       (สถานประกอบการ)	
	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๔.
หนังสือเรียน


       ๔.๑

ลักษณะของหนังสือ
	       	 	 หนั ง สื อ ที ่ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารสนั บ สนุ น งบประมาณให้	
สถานศึกษาจัดซื้อตามนโยบายเรียนฟรี	เรียนดี	๑๕	ปี	อย่างมีคุณภาพ	ได้แก่	
	       	 	 ๔.๑.๑	 ระดับก่อนประถมศึกษาใช้หนังสือเสริมประสบการณ์
สำหรับเด็กปฐมวัย	
	       	 	 ๔.๑.๒	ระดั บ ประถมศึ ก ษา	 (ป.๑-๖)	 ใช้ ห นั ง สื อ เรี ย นสาระ	
                                                                           	
การเรียนรู้พื้นฐาน/รายวิชาพื้นฐาน	๘	กลุ่มสาระการเรียนรู้	คือ	
	       	 	 	 	 ๑)	 ภาษาไทย	
	       	 	 	 	 ๒)		คณิตศาสตร์	
	       	 	 	 	 ๓)		วิทยาศาสตร์	
	       	 	 	 	 ๔)		สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม	
	       	 	 	 	 ๕)		สุขศึกษาและพลศึกษา	
	       	 	 	 	 ๖)		ศิลปะ	
	       	 	 	 	 ๗)		การงานอาชีพและเทคโนโลยี	
	       	 	 	 	 ๘)		ภาษาต่างประเทศ	(ภาษาอังกฤษ)	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
0

	       	 	 	 	 และใช้แบบฝึกหัดใน	 ๓	 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กระทรวง
ศึกษาธิการกำหนดให้มีเพื่อเสริมทักษะที่จำเป็นแก่นักเรียนเฉพาะระดับ
ประถมศึกษาได้แก่	
	       	 	 	 	 ๑)		ภาษาไทย	
	       	 	 	 	 ๒)		คณิตศาสตร์	
	       	 	 	 	 ๓)		ภาษาอังกฤษ	
	       	 	 ๔.๑.๓	ระดับมัธยมศึกษา	 (ม.๑-๖)	 ใช้หนังสือสาระการเรียนรู้
พื้นฐาน/รายวิชาพื้นฐาน	๘	กลุ่มสาระการเรียนรู้	





     ๔.๒

งบประมาณค่าหนังสือที่ได้รับปี
๒๕๕๔

	     	 	 สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐานได้ ร ั บ	
งบประมาณปี	๒๕๕๔	เป็นค่าหนังสือเรียนและแบบฝึกหัด	ดังนี้	

     มูลค่าหนังสือต่อชุด
	     ก่อนประถมศึกษา		                       ๒๐๐.๐๐	บาท/คน/ปี	
	     ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑		                ๕๖๐.๘๐	บาท/คน/ปี	
	     ชั้นประถมศึกษาปีที่	๒		                ๖๐๔.๐๐	บาท/คน/ปี	
	     ชั้นประถมศึกษาปีที่	๓		                ๖๙๒.๐๐	บาท/คน/ปี	
	     ชั้นประถมศึกษาปีที่	๔		                ๖๕๒.๘๐	บาท/คน/ปี	
	     ชั้นประถมศึกษาปีที่	๕		                ๗๙๕.๒๐	บาท/คน/ปี	
	     ชั้นประถมศึกษาปีที่	๖		                ๘๗๗.๖๐	บาท/คน/ปี	

แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	๑		                     ๖๙๙.๒๐	บาท/คน/ปี	
	        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	๒		                     ๘๔๓.๒๐	บาท/คน/ปี	
	        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	๓		                     ๘๐๕.๖๐	บาท/คน/ปี	
	        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	๔		                   ๑,๒๑๕.๒๐	บาท/คน/ปี	
	        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	๕		                   ๑,๒๐๘.๐๐	บาท/คน/ปี	
	        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่	๖		                     ๙๘๘.๐๐	บาท/คน/ปี	
	        ชั้น	ปวช.	๑-๓	(สถานประกอบการ)	            ๒,๐๐๐.๐๐	บาท/คน/ปี	
	        ซึ่งมีเกณฑ์การจัดสรรค่าหนังสือสำหรับภาคเรียนที่	 ๑	 ปีการศึกษา	
๒๕๕๔	ดังนี้	
	        ๑.	หนังสือที่มีใช้อยู่เดิม	ปีการศึกษา	๒๕๕๓	จัดสรรทดแทนหนังสือ
ชำรุดเสียหายจริงตามที่โรงเรียนสำรวจแต่ไม่เกิน	๓๐%	
	        ๒.	หนังสือใหม่	ปีการศึกษา	๒๕๕๔	จัดสรร	๑๐๐%	
	        ๓.	แบบฝึกหัด	 ๓	 กลุ่มสาระการเรียนรู้	 (ภาษาไทย	 คณิตศาสตร์	
ภาษาอังกฤษ)ชั้นประถมศึกษาปีที่	 ๑	 -	 ชั้นประถมศึกษาปีที่	 ๖	 จัดสรร	
๑๐๐%	ของจำนวนนักเรียน	
	        ๔.	งบประมาณที ่ ไ ด้ ร ั บ สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา	    	
ขั้นพื้นฐานนำไปจัดสรรให้สถานศึกษาจัดซื้อหนังสือเรียนและแบบฝึกหัด	
เพื่อให้นักเรียนมีหนังสือเรียนครบทุกคนซึ่งโรงเรียนสามารถถัวจ่ายระหว่าง
กลุ่มสาระการเรียนรู้และระดับชั้นเรียนได้	
	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๕.
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
	         กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน	ประกอบไปด้วย		
	         ๑.	กิจกรรมวิชาการ		
	         ๒.	กิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด		
	         ๓.	ทัศนศึกษา		
	         ๔.	การบริการสารสนเทศ/	ICT	
	         ทั ้ ง นี ้ ใ นการวางแผนกำหนดกิ จกรรมทั ้ง	 ๔	 กิ จ กรรมต้ อ งให้ ภ าคี	
๔	 ฝ่ า ย	 (ผู ้ แ ทนครู	 ผู ้ แ ทนผู ้ ป กครอง	 ผู ้ แ ทนชุ ม ชน	 และผู ้ แ ทนกรรมการ
นักเรียน)	 และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน	 มีส่วนร่วมและพิจารณา	
โดยที ่ ผ ลการพิ จ ารณาต้ อ งไม่ เ ป็ น การรอนสิ ท ธิ ์ ข องเด็ ก ยากจน	 เด็ ก ที ่ ม ี	
ความต้องการพิเศษ	และเด็กด้อยโอกาสที่พึงจะได้รับ	

         กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีสาระสำคัญดังต่อไปนี้
	         ๑.	กิจกรรมวิชาการเป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมจากการ
เรียนปกติในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ	
ส่งเสริมเด็กเก่งให้มีความเป็นเลิศและแก้ไขข้อบกพร่องของนักเรียนเรียนอ่อน
ให้มีศักยภาพสูงขึ้น	เช่น	 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน	 ด้านประชาธิปไตย	กิจกรรม
พัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษา	 กิจกรรมปลูกฝังความรู้รักสามัคคี	
กิจกรรมแก้ปัญหาความขัดแย้ง	 เช่น	 ค่ายสันติวิธี	 ค่ายวิทย์-คณิตคิดสนุก	
ค่ายทักษะชีวิตค่ายภาษาพาเพลิน	 (แก้ปัญหาการอ่านไม่ออก	 เขียนไม่ได้)	
เป็นต้นโดยกำหนดให้ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าว	อย่างน้อยปีละ	๑	ครั้ง	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๒.	กิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด	 เป็นกิจกรรมที่ช่วย
ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม	 จริยธรรม	 ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะ	                 	
ที่พึงประสงค์	โดยมีสาระสำคัญ	ดังต่อไปนี้	
	          กิจกรรมคุณธรรม	 จิตอาสา	 เช่น	 ค่ายเด็กดีของชุมชน	 ค่ายรักษ์โลก	
ค่ า ยรั ก ษ์ ส ั ต ว์	 ค่ า ยยุ ว ชนคนดี	 กิ จ กรรมอาสาพั ฒ นา	 กิ จ กรรมอนุ ร ั ก ษ์
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม	เป็นต้น	
	          ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด	 เป็นกิจกรรมภาคปฏิบัติในการเรียน	               	
ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด	 โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึก
ทักษะการจัดการ	การเผชิญสถานการณ์	 การใช้ชีวิตร่วมกันเป็นหมู่คณะ	เช่น	
การเดินทางไกล	 การอยู่ค่ายพักแรม	 การผจญภัย	 (ไต่เขาปีนต้นไม้	 ฯลฯ)	                 	
โดยกำหนดให้ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าวอย่างน้อยปีละ	๑	ครั้ง	
	          ๓.	ทั ศ นศึ ก ษา	 โดยเน้ น ภู ม ิ ศ าสตร์	 และประวั ต ิ ศ าสตร์ ข องชาติ	
และท้องถิ่น	 และ/หรือทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ต่าง	 ๆ	 เพื่อสร้างเสริม
ประสบการณ์ตรงให้กับนักเรียนที่เพิ่มเติมจากการเรียนในห้องเรียน	 เพื่อให้
นักเรียนมีความรู้และประสบการณ์อย่างกว้างขวางโดยกำหนดให้ดำเนินการ
กิจกรรมดังกล่าวอย่างน้อยปีละ	๑	ครั้ง	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๔.	การบริ ก ารสารสนเทศ/ICT	 เป็ น กิ จ กรรมการให้ บ ริ ก าร	 ICT/	
คอมพิ ว เตอร์ แ ก่ น ั ก เรี ย นเพิ ่ ม เติ ม จากการเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ พ ื ้ น ฐาน		
ตามหลักสูตรปกติ	 เช่น	 การให้บริการสืบค้นความรู้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต	
การให้ บ ริ ก ารคอมพิวเตอร์ในการจัดทำสื่อ	 รายงาน	 การนำเสนอข้ อ มู ล	
การออกแบบสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์	 โดยกำหนดให้ดำเนินการ
กิจกรรมดังกล่าวอย่างน้อย	๔๐	ชั่วโมง/ปี/คน	
	       งบประมาณพัฒนากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนต่อนักเรียน	 ๑	 คน	
ดังนี้	
	       ก่อนประถมศึกษา	                         ๒๑๕	บาท/ภาคเรียน	(๔๓๐	บาท/ปี)	
	       ประถมศึกษา	                            	๒๔๐	บาท/ภาคเรียน	(๔๘๐	บาท/ปี)	
	       มัธยมศึกษาตอนต้น		                      ๔๔๐	บาท/ภาคเรียน	(๘๘๐	บาท/ปี)	
	       มัธยมศึกษาตอนปลาย		                     ๔๗๕	บาท/ภาคเรียน	(๙๕๐	บาท/ปี)	
	       ปวช.	๑-๓	                              	๔๗๕	บาท/ภาคเรียน	(๙๕๐	บาท/ปี)	
	       (สถานประกอบการ)	
	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
แนวทางการจัดสรรงบประมาณ
	        สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดสรรงบประมาณ	
ค่าจัดการเรียนการสอน	 หนังสือเรียน	 อุปกรณ์การเรียน	 เครื่องแบบนักเรียน	
และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน	ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้	
	        ๑.	สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดสรรงบประมาณ
ภาคเรียนที่	 ๒/๒๕๕๓โดยใช้ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล	ณ	วันที่	 ๑๐	มิถุนายน	
๒๕๕๓	 ในการจัดสรรงบประมาณดังกล่าวโดยไม่จัดสรรรายการดังกล่าวให้
ตามจำนวนผู้ขอสละสิทธิ์ค่าเครื่องแบบนักเรียน	 และอุปกรณ์การเรียน	 และ
จัดสรรงบประมาณภาคเรียนที่	 ๑/๒๕๕๔	 โดยใช้ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล	           	
ณ	 วันที่	 ๑๐	 มิถุนายน	 ๒๕๕๓	 ในการจัดสรรงบประมาณดังกล่าว	 ทั้งนี้
นักเรียนเข้าใหม่	ชั้นอนุบาล	๑,	ป.๑,	ม.๑,	ม.๔	จัดสรรให้เบื้องต้นร้อยละ	๘๐	
ของนักเรียน	 เนื่องจากยังไม่ทราบจำนวนนักเรียนที่แน่นอนสำหรับชั้นอื่น	 ๆ	
จัดสรรให้ร้อยละ	 ๑๐๐	 โดยคิดนักเรียน	 ปีการศึกษา	 ๒๕๕๓	 เลื่อนชั้นไปอีก
ระดับชั้นหนึ่ง	 (ในกรณีที่มีข้อมูลผู้ขอสละสิทธิ์ไม่รับเครื่องแบบนักเรียนและ
อุปกรณ์การเรียน	 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะไม่จัดสรร
รายการดังกล่าวให้ตามจำนวน	 ผู้ขอสละสิทธิ์)	 และจะจัดสรรงบประมาณ	           	
เพิ่มเติมให้อีกตามข้อมูลนักเรียน	 ณ	 วันที่๑๐	 มิถุนายน	 ๒๕๕๔	 หักลบด้วย
นักเรียนที่สละสิทธิ์โดยให้โรงเรียนดำเนินการบันทึก/แก้ไข/ปรับปรุงและยืนยัน
ข้อมูลให้ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน	ณ	วันที่	 ๑๐	มิถุนายน	๒๕๕๔	ส่งภายในวันที่	
๓๐	มิถุนายน	๒๕๕๔	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
กรณีนักเรียนเข้าใหม่คือ	 ชั้น	 อ.๑,	 ป.๑,	 ม.๑,	 ม.๔	 ซึ่งสำนักงาน	 	
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดสรรงบประมาณให้เบื้องต้นก่อน	๘๐%	
ของนักเรียนเดิม	 และคิดนักเรียนเดิมชั้น	 ป.๑,	 ป.๒,	 ป.๓,	 ป.๔,	 ป.๕,	 ม.๑,	
ม.๒,	 ม.๔,	 ม.๕	 เลื่อนชั้นไปอีกระดับชั้นหนึ่ง	 ๑๐๐%	 นั้น	 ในทางปฏิบัติจริง
โรงเรียนจำเป็นต้องจัดสรรเงิน/จัดหาให้กับนักเรียนที่มีจริงในภาคเรียนที่	 ๑	ปี
การศึกษา	๒๕๕๔	ให้ครบทุกคน	(ยกเว้นนักเรียนที่สละสิทธิ์)	ดังนั้น	
	        ๑)	กรณี โ รงเรี ย นได้ ร ั บ จั ด สรรงบประมาณยั ง ไม่ ค รบตามจำนวน
นักเรียนให้โรงเรียนยืมเงินจากรายการค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมาใช้
เป็นลำดับแรกก่อน	 (เพราะช่วงเปิดภาคเรียนยังไม่ได้ใช้เงินเพื่อการนี้)	 และ
สามารถ	 ถัวจ่ายได้ทั้ง	 ๕	 รายการ	 และเมื่อได้รับจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม
ครบจำนวนนักเรียนจริง	 ณ	 วันที่	 ๑๐	 มิถุนายน	 ๒๕๕๔	 แล้วให้ส่งใช้คืน
รายการเดิม	
	        ๒)	กรณีโรงเรียนได้รับจัดสรรงบประมาณแล้วมีเงินเหลือเนื่องจากได้
รับจัดสรรเกินจำนวนนักเรียนที่มีจริง	ณ	วันที่	๑๐	มิถุนายน	๒๕๕๔	(นักเรียน
ใหม่น้อย/นักเรียนเดิมย้าย)	 ห้ามโรงเรียนใช้เงินที่เหลือนี้ให้เก็บไว้สมทบใน
การจัดสรรซึ่งจะหักลบเงินที่เหลือครั้งต่อไป	(ปีงบประมาณ	๒๕๕๕	ภาคเรียน
ที่	๒	ปีการศึกษา	๒๕๕๔)		




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
อนึ่งในปีการศึกษา	 ๒๕๕๔	 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา	                    	
ขั้นพื้นฐาน	โดยสำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน	กลุ่มสารสนเทศ	
ให้มีการสำรวจจำนวนนักเรียนปีละ	 ๒	 ครั้ง	 (ครั้งที่	 ๑	 วันที่	 ๑๐	 มิถุนายน	
๒๕๕๔/ครั้งที่	 ๒	 วันที่	 ๑๐	 พฤศจิกายน	 ๒๕๕๔)	 เพื่อให้สามารถจัดสรร	              	
งบประมาณได้ครบถ้วนตรงตามจำนวนนักเรียนที่มีจริง	 ซึ่งจะทำให้ทราบ
ความเคลื ่ อ นไหวของเด็ ก นั ก เรี ย นแต่ ล ะภาคเรี ย น	 ดั ง นั ้ น	 จึ ง จั ด สรร	
                                                                                   	
งบประมาณให้ดังนี้		

          ก.
 การจัดสรรงบประมาณภาคเรียนที่
 ๑
 ปีการศึกษา
 ๒๕๕๔
(งบประมาณ
ปี
๒๕๕๔)
	          	 ๑.	จั ด สรรงบประมาณให้ ค รั ้ ง แรก	 ต้ น เดื อ นมี น าคม	 ๒๕๕๔
นักเรียนเข้าใหม่	 คือ	 ชั้น	 อ.๑,	 ป.๑,	 ม.๑,	 ม.๔	 จะจัดสรรงบประมาณให้	
เบื้องต้นก่อน	๘๐%	ของนักเรียนเดิม	และคิดนักเรียนเดิมชั้น	ป.๑,	ป.๒,	ป.๓,	
ป.๔,	ป.๕	,ม.๑,	ม.๒,	ม.๔,	ม.๕	เลื่อนชั้นไปอีกระดับชั้นหนึ่ง	๑๐๐%		
	          	 ๒.	กรณีโรงเรียนใดที่มีการรายงานข้อมูลนักเรียนที่รับจริงมาให้
ครบถ้วน	 และมีการยืนยันข้อมูลมาให้	 ภายในวันที่	 ๓๐	 มิถุนายน	 ๒๕๕๔	
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม
ให้ อ ี ก จนครบ	 ๑๐๐%	 ตามจำนวนนั ก เรี ย นจริ ง ภายในเดื อ นกรกฎาคม	
๒๕๕๔	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
ข.
การจัดสรรภาคเรียนที่
๒/๒๕๕๔
(งบประมาณ
ปี
๒๕๕๕)
	        	 ๑.	สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 จะจัดสรร	          	
งบประมาณเบื้องต้นให้ภายในเดือนตุลาคม	 ๒๕๕๔	 โดยจัดสรรให้	 ๗๐%	
ของจำนวนนักเรียนที่รายงานครั้งที่	๑	(วันที่	๑๐	มิถุนายน	๒๕๕๔)	
	        	 ๒.	โรงเรียนที่รายงานข้อมูลและยืนยันข้อมูลครั้งที่	 ๒	 มาทัน
ภายในวันที่	 ๓๐	 พฤศจิกายน	 ๒๕๕๔	 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา	           	
ขั้นพื้นฐาน	 จะจัดสรรงบประมาณเพิ่มให้อีกเพื่อให้ครบ	 ๑๐๐%	 ตามจำนวน
นักเรียนจริง		
	        	 ๓.	สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 แจ้งจัดสรร	        	
งบประมาณตามนโยบายเรียนฟรี	 เรียนดี	 ๑๕	 ปี	 อย่างมีคุณภาพเป็นราย
สถานศึกษาจำแนกตามระดับการศึกษาให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ทราบและแจ้งให้สถานศึกษาทราบ	 เพื่อเตรียมการจัดซื้อจัดหา/จัดกิจกรรม
ต่อไปซึ่งโรงเรียนสามารถเปิดดูรายละเอียดการจัดสรรได้จากเว็บไซต์ของ
สำนั ก นโยบายและแผนการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐานกลุ ่ ม สารสนเทศ	 http://
www.bopp-obec.info	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๔.	สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐานจะโอน		
งบประมาณดังกล่าวทั้ง	 ๕	 รายการข้างต้นเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของ
สถานศึกษาทุกแห่งเพื่อให้สถานศึกษาดำเนินการให้เสร็จสิ้น	 สถานศึกษาได้
รับหนังสือเรียนภายในวันที่	 ๓๑	 มีนาคม	 ๒๕๕๔	 นักเรียนได้รับหนังสือเรียน	
เครื่องแบบนักเรียน	 และอุปกรณ์การเรียนก่อนเปิดภาคเรียนที่	 ๑/๒๕๕๔	
(โรงเรียนที่เป็นหน่วยเบิกสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้โอน
เงินประจำงวดให้เพื่อเบิกจากคลังจังหวัดในการจัดสรรตั้งแต่ภาคเรียนที่	 ๑/
๒๕๕๓	เป็นต้นไป)	
	        	 ๕.	เงินค่าอุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียน	 ที่นักเรียน/	    	
ผู้ปกครองรับเงินสดไปแล้ว	 นักเรียนสามารถถัวจ่ายได้ตามความจำเป็นต้อง
ใช้จ่ายจริง	และเกิดประโยชน์สูงสุด	
	
แนวทางการบริจาคเงินที่ ได้รับสิทธิ์
ค่าเครื่องแบบนักเรียน/ค่าอุปกรณ์การเรียน
	        กรณีที่ผู้ปกครองและนักเรียนได้รับสิทธิ์ค่าเครื่องแบบนักเรียนและ		
ค่าอุปกรณ์การเรียนแล้ว	 มีความประสงค์ที่จะบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ์ดังกล่าว
ให้กับโรงเรียนด้วยความสมัครใจ	 เพื่อให้โรงเรียนนำไปพัฒนาคุณภาพการ
ศึกษาตามวัตถุประสงค์ต่อไป	 สามารถทำได้โดยทำใบสำคัญรับเงินจาก
โรงเรียน	และทำใบบริจาคเงินให้กับโรงเรียนในเอกสารฉบับเดียวกันดังนี้	 	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
0

    แนวทางการบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ์
(ค่าเครื่องแบบนักเรียน/ค่าอุปกรณ์การเรียน)
                                  ใบสำคัญรับเงิน
	            	 	 	 	 	 	 	 โรงเรียน.............................................................	
	            	 	 	 	 	 	 	 สพท.	................................................................	
	            	 	 	 	 	 	 	 วันที่.............เดือน......................พ.ศ................		
ข้าพเจ้า	 (นาย/นาง/น.ส.)............................................................................................................		
อยู่บ้านเลขที่..........................ถนน........................................แขวง/ตำบล....................................................		
อำเภอ/เขต.............................................จังหวัด....................................รหัสไปรษณีย์.................................	    	
ผู้ปกครองนักเรียนชื่อ	(ด.ช./ด.ญ./นาย/นางสาว)..........................................................................................	            	
หมายเลขประจำตัวนักเรียน	(๑๓	หลัก)..........................................ระดับชั้น..............ปีการศึกษา	๒๕๕๔	                                 	
	 ขอรับสิทธิ์ค่าเครื่องแบบนักเรียนและค่าอุปกรณ์การเรียนตามโครงการสนับสนุนการจัดการศึกษา	                                                           	
โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย	๑๕	ปี	ดังนี้		
	            ๑.	 ค่าเครื่องแบบนักเรียน	ระดับชั้น......................จำนวนเงิน.........................................บาท	
	            ๒.	 ค่าอุปกรณ์การเรียน		 ระดับชั้น......................จำนวนเงิน.........................................บาท	
	            รวมเป็นเงินทั้งสิ้น	จำนวน.........................บาท	(......................................................................)	      	
	                                                                                 ลงชื่อ.............................................ผู้รับเงิน		
	                                                                                 	 (.............................................)		
	                                                                                 ลงชื่อ..............................................ผู้จ่ายเงิน		
	                                                                                 	 (.............................................)		
	
❏	บริจาค	(กรุณาลงชื่อในแบบฟอร์มการบริจาคด้านล่าง)		                                               ❏	ไม่บริจาค		
	            ข้ า พเจ้ า มี ค วามประสงค์ ท ี ่ จ ะบริ จ าคเงิ น ที ่ ไ ด้ ร ั บ สิ ท ธิ ์ ต ามโครงการสนั บ สนุ น การจั ด	
การศึ ก ษาโดยไม่ เ สี ย ค่ า ใช้ จ ่ า ย	 ๑๕	 ปี	 ที ่ เ ป็ น สิ ท ธิ ข องข้ า พเจ้ า ได้ ร ั บ ด้ ว ยความสมั ค รใจให้ แ ก่
โรงเรียน.................................................................ในรายการ	ดังนี้		
	            ❏		ค่าเครื่องแบบนักเรียน	                              จำนวน................................................บาท	 	
	            ❏		ค่าอุปกรณ์การเรียน	                                 จำนวน................................................บาท	
	            รวมจำนวนเงินทั้งสิ้น........................บาท	(..........................................................................)	
เพื่อให้โรงเรียนนำไปพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามวัตถุประสงค์ต่อไป	
	            ลงชื่อ................................................ผู้บริจาค		ลงชื่อ........................................ผู้รับเงินบริจาค	
	            	 (...............................................)	               	 (.........................................)	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
แนวทางการจัดซื้อจัดหา
เครื่องแบบนักเรียน
	           สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะโอนเงินงบประมาณ
ค่าเครื่องแบบนักเรียนซึ่งเป็นเงินงบอุดหนุนทั่วไปเข้าบัญชี	 เงินฝากธนาคาร
ของสถานศึ ก ษาโดยให้ ส ถานศึ ก ษาจ่ า ยเงิ น สดให้ ก ั บ นั ก เรี ย นและ/หรื อ	
ผู ้ ป กครองเพื ่ อ ไปจั ด ซื ้ อ เครื ่ อ งแบบนั ก เรี ย นคนละ	 ๒	 ชุ ด ในกรณี ต ้ อ งใช้	
เครื่องแบบนักเรียนที่แตกต่างไปจากเครื่องแบบปกติและราคาสูงกว่าวงเงินที่
ได้รับอาจจัดซื้อได้เพียง	 ๑	 ชุด	 และหากมีเครื่องแบบนักเรียนปกติเพียงพอ	                  	
แล้วอาจนำเงินที่ได้รับไปจัดซื้อเข็มขัดรองเท้าถุงเท้าชุดลูกเสือ/เนตรนารี/	
ยุวกาชาด/ชุดกีฬา/อุปกรณ์การเรียนที่จำเป็นได้โดยดำเนินการ	 ตามขั้นตอน
ดังนี้	
	           ๑.	เมื่อสถานศึกษาได้รับเงินงบประมาณให้ตรวจสอบ	 จำนวนเงิน	
ที่ได้รับแจ้งการโอนเงินและจำนวนเงินในสมุดคู่ฝากของธนาคารว่ามีจำนวน
เงินที่ถูกต้องตรงกัน	
	           ๒.	สถานศึกษาออกใบเสร็จรับเงินตามแบบของทางราชการ	 ในนาม
ของสถานศึกษาตามจำนวนเงินที่ได้รับส่งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อ
รวบรวมไว้เป็นหลักฐาน	
	           ๓.	สถานศึกษาแต่งตั้งผู้จ่ายเงินอย่างน้อย	๒	คนเพื่อร่วมกันจ่ายเงิน
ให้กับนักเรียนและ/หรือผู้ปกครอง	 โดยลงลายมือชื่อรับเงินกรณีนักเรียน	                      	
ไม่สามารถลงลายมือชื่อรับเงินได้	 ให้ผู้ปกครองลงลายมือชื่อรับเงินแทนเพื่อ
ไว้เป็นหลักฐานการจ่ายตามตัวอย่างเอกสารหมายเลข	๑	ในภาคผนวก	
	           ๔.	สถานศึกษาแจ้งให้นักเรียน	 ผู้ปกครองจัดซื้อจัดหาเครื่องแบบ
นั ก เรี ย นได้ ต ามความต้ อ งการ	 เช่ น	 จั ด ซื ้ อ จากสหกรณ์	 ร้ า นค้ า	 ชุ ม ชน	     	
กลุ่มแม่บ้านหรือตัดเย็บเอง	โดยดำเนินการให้ทันก่อนเปิดภาคเรียน	

    แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
๕.	สถานศึกษาติดตามใบเสร็จรับเงินหรือหลักฐานการจัดหาเครื่อง
แบบนักเรียนจากนักเรียน/ผู้ปกครอง	
	       ๖.	สถานศึกษาดูแลให้นักเรียนมีเครื่องแบบนักเรียนจริง	
	       ๗.	สถานศึกษาตรวจสอบหากพบว่านักเรียนไม่มีเครื่องแบบนักเรียน
โดยที่นำเงินไปใช้จ่ายอย่างอื่นที่ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ผู้ปกครองจะต้อง
คืนเงินให้กับทางราชการ	
	       ๘.	ผู้ปกครองสามารถใช้จ่ายเงินค่าเครื่องแบบนักเรียนโดยถัวจ่าย
ร่วมกับค่าอุปกรณ์การเรียนได้	
	       ๙.	กรณี ท ี ่ ผู ้ ป กครองสละสิ ท ธิ ์ ค ่ า เครื ่ อ งแบบนั ก เรี ย น	 ให้ แ ก่	
สถานศึกษาต้องนำส่งคืนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	
	      ๑๐.		กรณีที่ผู้ปกครองบริจาคค่าเครื่องแบบนักเรียนให้สถานศึกษา	                    	
นำไปใช้จ่ายในโครงการเรียนฟรี	 เรียนดี	 ๑๕	 ปี	 อย่างมีคุณภาพ	 ได้ตาม	                   	
ความจำเป็นและเหมาะสมโดยผ่านความเห็นชอบร่วมกันของภาคี	 ๔	 ฝ่าย	
และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน	
	




แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
อุปกรณ์การเรียน
	         สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะโอนเงินงบประมาณ
ค่าอุปกรณ์การเรียนซึ่งเป็นเงินงบอุดหนุนทั่วไปเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของ
สถานศึกษา	 โดยให้สถานศึกษาจ่ายเงินสดให้กับนักเรียนและ/หรือผู้ปกครอง
เพื่อนำไปเลือกซื้ออุปกรณ์การเรียนที่จำเป็นต้องใช้	 ในการเรียนการสอนได้
ตามความต้องการให้เหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละระดับชั้นดังนี้	
	         ๑.	ระดั บ ก่ อ นประถมศึ ก ษา	 เช่ น	 กระดาษ	 สี เ ที ย น	 ดิ น น้ ำ มั น	
ไร้สารพิษ	กระเป๋านักเรียน	เป็นต้น	
	         ๒.		ระดับประถมศึกษา	เช่น	สมุด	ดินสอ	ยางลบ	ปากกา	ไม้บรรทัด	
ไม้โปรแทรกเตอร์	วัสดุฝึก	ICT	กระเป๋านักเรียน	เป็นต้น	
	         ๓.	ระดับมัธยมศึกษา	 เช่น	 สมุด	 ยางลบ	 ปากกา	 ดินสอ	 ไม้บรรทัด	
ไม้โปรแทรกเตอร์	เครื่องมือเรขาคณิตวัสดุฝึก	ICT	กระเป๋านักเรียน	เป็นต้น	
	         ๔.	ผู้ปกครองสามารถใช้จ่ายเงินอุปกรณ์การเรียนโดยถัวจ่ายร่วมกับ
ค่าเครื่องแบบนักเรียนได้	
	         ๕.	กรณีที่ผู้ปกครองสละสิทธิ์อุปกรณ์การเรียนให้แก่สถานศึกษาต้อง
นำส่งคืนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน		
	         ๖.	กรณีที่ผู้ปกครองบริจาคอุปกรณ์การเรียนให้สถานศึกษานำไปใช้
จ่ายในโครงการเรียนฟรี	 เรียนดี	 ๑๕	 ปี	 อย่างมีคุณภาพได้ตามความจำเป็น
และเหมาะสมโดยผ่ า นความเห็ น ชอบร่ ว มกั น ของภาคี	 ๔	 ฝ่ า ยและ	                 	
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน	
	         วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินการควบคุมติดตามและตรวจสอบ	 ให้ปฏิบัติ
เหมือนกับการจ่ายเงินค่าเครื่องแบบนักเรียน	




   แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
peter dontoom
 
ข้อบกพร่องในการอบรม
ข้อบกพร่องในการอบรมข้อบกพร่องในการอบรม
ข้อบกพร่องในการอบรม
Sopa Ranong
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
Thidarat Termphon
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
krupornpana55
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
Suwanan Nonsrikham
 

Was ist angesagt? (20)

ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
 
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
งานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผล
งานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผลงานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผล
งานนำเสนอองค์กรนักศึกษา กศน.ตระการพืชผล
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
แบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูล
แบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูลแบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูล
แบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูล
 
เครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอนเครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอน
 
ข้อบกพร่องในการอบรม
ข้อบกพร่องในการอบรมข้อบกพร่องในการอบรม
ข้อบกพร่องในการอบรม
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
ข้อสอบการงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.5
ข้อสอบการงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.5ข้อสอบการงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.5
ข้อสอบการงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.5
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
4ดุษณีย์ (1)
4ดุษณีย์ (1)4ดุษณีย์ (1)
4ดุษณีย์ (1)
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
กิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็ก
กิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็กกิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็ก
กิจกรรมท้ายบทที่ 3 วิวัฒนาการของวรรณกรรมสำหรับเด็ก
 
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 

Ähnlich wie แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3

รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
Mana Suksa
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
Nirut Uthatip
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
tassanee chaicharoen
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
xwarx
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
Nang Ka Nangnarak
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
arsad20
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
 

Ähnlich wie แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3 (20)

สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
Plan 56
Plan 56Plan 56
Plan 56
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
แผนโครงการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ๕ด้าน ปีการศึกษา 2556
 
สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607
สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607
สร้างความรู้ใหม่ในสถานศึกษา ม.ศรีปทุม 600607
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
 
7532
75327532
7532
 
King Thailand
King Thailand King Thailand
King Thailand
 
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 

Mehr von thanaetch

การยื่นขอลงทะเบียนของกลุ่มเด็กและเยาวชน
การยื่นขอลงทะเบียนของกลุ่มเด็กและเยาวชนการยื่นขอลงทะเบียนของกลุ่มเด็กและเยาวชน
การยื่นขอลงทะเบียนของกลุ่มเด็กและเยาวชน
thanaetch
 

Mehr von thanaetch (20)

การยื่นขอลงทะเบียนของกลุ่มเด็กและเยาวชน
การยื่นขอลงทะเบียนของกลุ่มเด็กและเยาวชนการยื่นขอลงทะเบียนของกลุ่มเด็กและเยาวชน
การยื่นขอลงทะเบียนของกลุ่มเด็กและเยาวชน
 
ขอเชิญชวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ส่งคำขวัญเข้าประกวด
ขอเชิญชวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ส่งคำขวัญเข้าประกวดขอเชิญชวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ส่งคำขวัญเข้าประกวด
ขอเชิญชวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ส่งคำขวัญเข้าประกวด
 
จดหมายข่าวศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสมุทรสาคร
จดหมายข่าวศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสมุทรสาครจดหมายข่าวศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสมุทรสาคร
จดหมายข่าวศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสมุทรสาคร
 
นำเสนอผลงานหรือผลสำเร็จของงานด้านกฎหมาย ลงเผยแพร่ในเว็บไซต์
นำเสนอผลงานหรือผลสำเร็จของงานด้านกฎหมาย ลงเผยแพร่ในเว็บไซต์นำเสนอผลงานหรือผลสำเร็จของงานด้านกฎหมาย ลงเผยแพร่ในเว็บไซต์
นำเสนอผลงานหรือผลสำเร็จของงานด้านกฎหมาย ลงเผยแพร่ในเว็บไซต์
 
นำเสนอผลงานหรือผลสำเร็จของงานด้านกฎหมาย ลงเผยแพร่ในเว็บไซต์
นำเสนอผลงานหรือผลสำเร็จของงานด้านกฎหมาย ลงเผยแพร่ในเว็บไซต์นำเสนอผลงานหรือผลสำเร็จของงานด้านกฎหมาย ลงเผยแพร่ในเว็บไซต์
นำเสนอผลงานหรือผลสำเร็จของงานด้านกฎหมาย ลงเผยแพร่ในเว็บไซต์
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
ขอเชิญเสนอผลงานวิจัยในการประชุมสัมมนาทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคงตะ...
ขอเชิญเสนอผลงานวิจัยในการประชุมสัมมนาทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคงตะ...ขอเชิญเสนอผลงานวิจัยในการประชุมสัมมนาทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคงตะ...
ขอเชิญเสนอผลงานวิจัยในการประชุมสัมมนาทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคงตะ...
 
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ครั้...
 
ขอเชิญสมทบทุน โครงการ "ศิริราช ๙ มงคล"
ขอเชิญสมทบทุน โครงการ "ศิริราช ๙ มงคล"ขอเชิญสมทบทุน โครงการ "ศิริราช ๙ มงคล"
ขอเชิญสมทบทุน โครงการ "ศิริราช ๙ มงคล"
 
ขอเชิญสมทบทุน โครงการ "ศิริราช ๙ มงคล"
ขอเชิญสมทบทุน โครงการ "ศิริราช ๙ มงคล"ขอเชิญสมทบทุน โครงการ "ศิริราช ๙ มงคล"
ขอเชิญสมทบทุน โครงการ "ศิริราช ๙ มงคล"
 
Kanarat
KanaratKanarat
Kanarat
 
แจ้งเตือนนักเรียนให้ระวังมิจฉาชีพหลอกลวง
แจ้งเตือนนักเรียนให้ระวังมิจฉาชีพหลอกลวงแจ้งเตือนนักเรียนให้ระวังมิจฉาชีพหลอกลวง
แจ้งเตือนนักเรียนให้ระวังมิจฉาชีพหลอกลวง
 
ขอเชิญร่วมแข่งขันกอล์ฟ (ส.บ.ม.ท.)
ขอเชิญร่วมแข่งขันกอล์ฟ (ส.บ.ม.ท.)ขอเชิญร่วมแข่งขันกอล์ฟ (ส.บ.ม.ท.)
ขอเชิญร่วมแข่งขันกอล์ฟ (ส.บ.ม.ท.)
 
โครงการ "คนดีของแผ่นดิน ครั้งที่ 2"
โครงการ "คนดีของแผ่นดิน ครั้งที่ 2"โครงการ "คนดีของแผ่นดิน ครั้งที่ 2"
โครงการ "คนดีของแผ่นดิน ครั้งที่ 2"
 
ขอเชิญเข้าร่วมโครงการอบรมพัฒนาระบบเครือข่ายภายในสถานศึกษา
ขอเชิญเข้าร่วมโครงการอบรมพัฒนาระบบเครือข่ายภายในสถานศึกษาขอเชิญเข้าร่วมโครงการอบรมพัฒนาระบบเครือข่ายภายในสถานศึกษา
ขอเชิญเข้าร่วมโครงการอบรมพัฒนาระบบเครือข่ายภายในสถานศึกษา
 
การประกวดบทร้อยกรองส่งเสริมการศึกษา
การประกวดบทร้อยกรองส่งเสริมการศึกษาการประกวดบทร้อยกรองส่งเสริมการศึกษา
การประกวดบทร้อยกรองส่งเสริมการศึกษา
 
โครงการประกวดเขียนเรียงความและวาดภาพเฉลิมพระเกียรติ
โครงการประกวดเขียนเรียงความและวาดภาพเฉลิมพระเกียรติโครงการประกวดเขียนเรียงความและวาดภาพเฉลิมพระเกียรติ
โครงการประกวดเขียนเรียงความและวาดภาพเฉลิมพระเกียรติ
 
รับสมัครเด็กกำพร้า ยากจน เรียนต่อฟรี
รับสมัครเด็กกำพร้า ยากจน เรียนต่อฟรีรับสมัครเด็กกำพร้า ยากจน เรียนต่อฟรี
รับสมัครเด็กกำพร้า ยากจน เรียนต่อฟรี
 
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมซอฟแวร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมซอฟแวร์หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมซอฟแวร์
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมซอฟแวร์
 
โครงการอบรมเศรษฐศาสตร์สำหรับครูผู้สอนสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษา รุ่นที่ 24
โครงการอบรมเศรษฐศาสตร์สำหรับครูผู้สอนสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษา รุ่นที่  24โครงการอบรมเศรษฐศาสตร์สำหรับครูผู้สอนสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษา รุ่นที่  24
โครงการอบรมเศรษฐศาสตร์สำหรับครูผู้สอนสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษา รุ่นที่ 24
 

แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3

  • 1.
  • 2. แนวทางการดำเนินงาน ตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3.
  • 4. คำนำ แนวทางการดำเนิ น งานตามนโยบายเรี ย นฟรี เรี ย นดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพปีงบประมาณ ๒๕๕๔ จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพทั้งระดับ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานให้เสร็จตามกำหนดเวลา รวมทั้ง ประหยัด โปร่งใส เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนและทางราชการสูงสุด การจั ด ทำแนวทางการดำเนิ น งานตามนโยบายเรี ย นฟรี เรี ย นดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ สำหรับปีการศึกษา ๒๕๕๔ มีแนวคิดและหลักการ ในการดำเนินการ ๔ ประการดังนี้ ๑. ยึดหลักการแนวทางการดำเนินงานในปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็น แนวทางหลัก ๒. สนองตอบต่อนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ และจุดเน้นการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑) ที่รัฐบาลมุ่งเน้นให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี คุ ณ ภาพโดยมี เ ป้ า หมายหลั ก ๓ ประการ คื อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพและ มาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและ การเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษา ๓. ปรับปรุงแนวดำเนินงานตามผลการสำรวจและรายงานการวิจัย การดำเนินงานในปีงบประมาณ ๒๕๕๒ ๔. แนวทางการดำเนินงาน ปีการศึกษา ๒๕๕๔ เป็นแนวทางการ ดำเนินงานที่สามารถใช้ร่วมกันสำหรับสถานศึกษา ที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกสังกัด
  • 5. สาระสำคั ญ ของแนวทางการดำเนิ น งาน ตามนโยบายเรี ย นฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ประกอบด้วย ความเป็นมา วัตถุประสงค์ สาระสำคั ญ ของนโยบาย วิ ส ั ย ทั ศ น์ เป้ า หมาย งบประมาณ แนวทาง การบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ แนวทางการจัดซื้อจัดหา การติดตามควบคุมและ กำกับ ปฏิ ท ิ น การดำเนินงาน ประโยชน์ที่คาดว่ า จะได้ ร ั บ และเอกสารที ่ เกี่ยวข้อง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปี ง บประมาณ ๒๕๕๔ เล่ ม นี ้ จะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การดำเนิ น งานตาม นโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียน มีความพร้อมที่จะเรียนมากขึ้น สถานศึกษามีความพร้อมที่จะจัดกิจกรรม การเรียนรู้มากขึ้น ส่งผลให้นักเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี ที่มี คุณภาพและมาตรฐาน โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย รวมทั้งสอดคล้องกับเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และนโยบายของรัฐบาล (นายชินภัทร ภูมิรัตน) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 6. สารบัญ หน้า คำนำ ความเป็นมา ๑ วัตถุประสงค์ ๓ สาระสำคัญของนโยบาย ๓ วิสัยทัศน์นโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ๕ เป้าหมาย ๖ ✿ ด้านปริมาณ ๖ ✿ ด้านคุณภาพ ๑๐ ตัวชี้วัด ๑๑ งบประมาณ ๑๒ แนวทางการจัดสรรงบประมาณ ๒๕ แนวทางการบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ์ ๒๙ แนวทางการจัดซื้อจัดหา ๓๑ ✿ ด้านการมีส่วนร่วม ๔๔ การติดตาม ควบคุม และกำกับ ๔๗ ปฏิทินการดำเนินงาน ๔๘ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๕๐ ภาคผนวก ✿ การบริหารงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุน ทั่วไป เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน - ค่าจัดการเรียนการสอน (ค่าใช้จ่ายรายหัว) ๕๒ - ค่าจัดการเรียนการสอน (เงินอุดหนุนปัจจัย พื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน) ๕๖
  • 7. สารบัญ (ต่อ) หน้า - ค่าจัดการเรียนการสอน (ค่าอาหารสำหรับ นักเรียนประจำพักนอน) ๕๙ ✿ หลักฐานการจ่ายเงิน ๖๒ ✿ แนวทางการดำเนินการเลือกซื้อหนังสือเสริม ประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย) ๖๓ ✿ หนังสือกรมบัญชีกลาง เรื่องการขอผ่อนผันการจัดซื้อ หนังสือเรียนโดยวิธีพิเศษ ๖๙ ✿ ตารางแสดงการลดค่าใช้จ่ายผู้ปกครอง/นักเรียน ๗๒ ✿ หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องหลักเกณฑ์เงินบำรุงการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๘๑ ✿ คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องแต่งตั้งคณะทำงานประชุมสัมมนาและกำหนด แนวทางการดำเนินงานและการบริหารงบประมาณ ตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๔ ๘๙ ✿ ศูนย์ประสานงาน ๙๔
  • 8. แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ ความเป็นมา ด้ ว ยรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๐ หมวด ๓ มาตรา ๔๙ ได้บัญญัติไว้ว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับ การศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พุทธศักราช ๒๕๕๓ มาตรา ๑๐ วรรค ๑ ได้บัญญัติไว้ว่า “การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาส เสมอกัน ในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้อง จัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” ซึ่งเป็นข้อกำหนด ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบกับคำแถลงนโยบายของ คณะรั ฐ มนตรี ได้ ก ำหนดเป็ น นโยบายเร่ ง ด่ ว นที ่ จ ะเริ ่ ม ดำเนิ น การตาม เจตนารมณ์ดังกล่าวในปีการศึกษา ๒๕๕๒ แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 9. โดยกำหนดไว้ในข้อ ๑.๓ การลดภาระค่าครองชีพของประชาชน ข้อ ๑.๓.๑ ว่า “ให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี ๑๕ ปี โดยสนับสนุน ตำราในวิชาหลักให้แก่ทุกสถานศึกษา จัดให้มีชุดนักเรียนและอุปกรณ์การ เรียนฟรี ให้ทันปีการศึกษา ๒๕๕๒ และสนับสนุนค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เพื่อชดเชย รายการต่าง ๆ ที่สถานศึกษาเรียกเก็บจากผู้ปกครอง” อีกทั้งนโยบายของรัฐ ด้านการศึกษา ข้อ ๓.๑.๔ กำหนดว่า “จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา ฟรี ๑๕ ปี ตั้งแต่อนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมทั้งเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและความเป็นธรรมใน โอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนในกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ทั้งผู้ยากไร้ ผู้พิการ หรือทุพพลภาพ ผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ผู้บกพร่องทางร่างกายและสติ ปั ญ ญา และชนต่ า งวั ฒ นธรรมรวมทั ้ ง ยกระดั บ การพั ฒ นาศู น ย์ เ ด็ ก เล็ ก ในชุมชน” กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ดำเนินการตามเจตนารมณ์ดังกล่าวข้าง ต้นโดยจัดทำโครงการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมี คุณภาพขึ้น ตั้งแต่ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน ทุ ก คนได้ ร ั บ โอกาสทางการศึ ก ษาอย่ า งเต็ ม ตามศั ก ยภาพ ซึ ่ ง กระทรวง ศึกษาธิการยังคงดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปีอย่างมี คุณภาพ ต่อเนื่องในปีการศึกษา ๒๕๕๓ จนถึงปัจจุบัน แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 10. วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี ที่มีคุณภาพ และมาตรฐานโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในรายการที่รัฐจัดให้ได้แก่ ค่าจัดการเรียน การสอน หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียนและกิจกรรม พัฒนาคุณภาพผู้เรียน สาระสำคัญของนโยบาย นโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปีอย่างมีคุณภาพ เป็นนโยบายเร่งด่วน ของรัฐบาล เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี ตั้งแต่ชั้นอนุบาล ๑ ถึ ง ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ทั ้ ง ประเภทสามั ญ ศึ ก ษาและประเภท อาชีวศึกษา อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตามสิทธิที่กำหนด ไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐ และเพื่อลด ภาระค่าใช้จ่ายเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ปกครอง โดยสนับสนุน ค่าเล่าเรียน (ค่าจัดการเรียนการสอน:รายหัว/ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน/ ค่าอาหารนักเรียนพักนอน) ค่าหนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบ แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 11. นักเรียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อดำเนินการตั้งแต่ภาคเรียน ที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ และดำเนินการต่อเนื่องในปีการศึกษา ๒๕๕๓ - ๒๕๕๔ สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามแผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี โครงการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ๑๕ ปี กิจกรรมการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย งบเงิน อุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานรวม ๕ รายการดังนี้ ๑. ค่าจัดการเรียนการสอน ๒๖,๖๗๑,๓๐๐,๓๐๐ บาท ๒. ค่าอุปกรณ์การเรียน ๓,๐๘๔,๒๙๔,๔๐๐ บาท ๓. ค่าเครื่องแบบนักเรียน ๓,๒๒๑,๑๔๘,๕๐๐ บาท ๔. ค่าหนังสือเรียน ๓,๖๒๔,๓๘๙,๖๐๐ บาท ๕. ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๕,๒๕๓,๖๘๘,๕๐๐ บาท รวมทั้งสิ้น ๔๑,๘๕๔,๘๒๑,๓๐๐ บาท แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 12. ในการดำเนิ น งานตามนโยบายเรี ย นฟรี เรี ย นดี ๑๕ ปี อย่ า งมี คุณภาพ ในปีการศึกษา ๒๕๕๔ นอกจากการมุ่งลดภาระค่าใช้จ่ายเป็นการ บรรเทาความเดือดร้อนแล้ว ยังมุ่งตอบสนองต่อจุดเน้นการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑) ที่รัฐบาลมุ่งเน้นให้คนไทยได้เรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยมีเป้าหมายหลัก ๓ ประการคือ ๑. เพิ ่ ม โอกาสทางการศึ ก ษาและการเรี ย นรู ้ อ ย่ า งทั ่ ว ถึ ง และมี คุณภาพ ๒. พั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาและการเรี ย นรู ้ ข อง คนไทย ๓. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหาร และจัดการศึกษา วิสัยทัศน์นโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ นโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ มุ่งลดค่าใช้จ่าย ผู้ปกครอง เพิ่มโอกาสทางการศึกษา พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารและจัดการศึกษา แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 13. เป้าหมาย ด้านปริมาณ ๑. ลดค่าใช้จ่ายผู้ปกครองนักเรียนแยกตามประเภทโรงเรียนดังนี้ ก. โรงเรียนปกติ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๔ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๔ ชั้น (ปีงบประมาณ ๒๕๕๔) (ปีงบประมาณ ๒๕๕๕) อ.๑ - ๒ ๑,๖๖๕ บาท ๑,๑๖๕ บาท ป.๑ - ป.๖ นร.ทั่วไป ๒,๓๐๖ บาท - ๒,๖๒๓ บาท ๑,๓๘๕ บาท ป.๑ - ป.๖ นร.ยากจน ๒,๘๐๖ บาท - ๓,๑๒๓ บาท ๑,๘๘๕ บาท*** *** ม.๑ - ม.๓ นร.ทั่วไป ๓,๕๔๙ บาท - ๓,๖๙๓ บาท ๒,๔๐๐ บาท ม.๑ - ม.๓ นร.ยากจน ๕,๐๔๙ บาท - ๕,๑๙๓ บาท ๓,๙๐๐ บาท ม.๔ - ม.๖ ๔,๐๙๓ บาท - ๔,๓๒๐ บาท ๒,๖๐๕ บาท แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 14. ข. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว/สถานประกอบการ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๔ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๔ ชั้น (ปีงบประมาณ ๒๕๕๔) (ปีงบประมาณ ๒๕๕๕) อ.๑ - ๒ ๔,๓๐๖ บาท ๓,๘๐๖ บาท ป.๑ - ป.๖ ๔,๙๓๒ บาท - ๕,๒๔๙ บาท ๔,๐๑๑ บาท ม.๑ - ม.๓ ๖,๑๐๖ บาท - ๖,๙๔๙ บาท ๕,๖๕๖ บาท ม.๔ - ม.๖ ๗,๑๘๒ บาท - ๙,๕๔๘ บาท ๕,๘๗๖ บาท ปวช. ๑-๓ ๙,๔๗๓ บาท ๖,๕๗๓ บาท (สถานประกอบการ) ค. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๔ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๔ ชั้น (ปีงบประมาณ ๒๕๕๔) (ปีงบประมาณ ๒๕๕๕) อ.๑ - ๒ ๑๔,๖๘๕ บาท ๑๔,๑๘๕ บาท ป.๑ - ป.๖ ๑๕,๓๑๕.๘๐ บาท - ๑๔,๓๙๕ บาท ๑๕,๖๓๒.๖๐ บาท ม.๑ - ม.๓ ๑๖,๑๔๙.๒๐ บาท - ๑๕,๐๐๐ บาท ๑๖,๒๙๓.๒๐ บาท ม.๔ - ม.๖ ๑๖,๖๙๓.๐๐ บาท - ๑๕,๒๐๕ บาท ๑๖,๙๒๐.๒๐ บาท แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 15. ง. โรงเรียนการศึกษาพิเศษ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๔ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๔ ชั้น (ปีงบประมาณ ๒๕๕๔) (ปีงบประมาณ ๒๕๕๕) อ. ๑ - ๒ ๑๔,๘๘๕ บาท ๑๔,๓๘๕ บาท ป.๑ - ป.๖ ๑๕,๕๒๕.๘๐ บาท - ๑๔,๖๐๕ บาท ๑๕,๘๔๒.๖๐ บาท ม.๑ - ม.๓ ๑๖,๕๔๙.๒๐ บาท - ๑๕,๔๐๐ บาท ๑๖,๖๙๓.๒๐ บาท ม.๔ - ม.๖ ๑๖,๘๙๓ บาท - ๑๕,๔๐๕ บาท ๑๘,๑๒๐.๒๐ บาท จ. ศูนย์การศึกษาพิเศษ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๔ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๔ ชั้น (ปีงบประมาณ ๒๕๕๔) (ปีงบประมาณ ๒๕๕๕) เด็กที่มา ๘๑๕ บาท ๓๑๕ บาท รับบริการที่ศูนย์ฯ แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 16. ๒. จำนวนนักเรียนที่ ได้รับโอกาสทางการศึกษา นักเรียน ๘,๐๙๐,๒๑๕ คน แยกระดับการศึกษา ดังนี้ ๑. ก่อนประถมศึกษา ๑,๐๔๓,๑๐๖ คน ๒. ประถมศึกษา ๓,๕๖๔,๕๓๙ คน ๓. มัธยมศึกษาตอนต้น ๒,๓๕๗,๗๓๓ คน ๔. มัธยมศึกษาตอนปลาย ๑,๑๒๐,๘๗๔ คน ๕. ปวช. (สถานประกอบการ) ๓,๙๖๑ คน นักเรียนแยกประเภทโรงเรียนดังนี้ ๑. โรงเรียนปกติ ๘,๐๑๘,๒๔๒ คน ๒. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ๔๕,๗๕๘ คน ๓. โรงเรียนการศึกษาพิเศษ ๒๒,๐๘๔ คน ๔. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔,๑๓๑ คน โดยครอบครัว/สถานประกอบการ แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 17. 0 ด้านคุณภาพ ๑. นักเรียนมีความรู้ทักษะกระบวนการตามเป้าหมายของการ จัดการเรียนรู้ จากการเรียนรู้ที่มีความพร้อมทั้งหนังสือเรียน แบบฝึกหัด อุปกรณ์การเรียนและการจัดกิจกรรมภาคปฏิบัติด้านต่าง ๆ เสริมการเรียนรู้ ในห้องเรียน ๒. นั ก เรี ย นมี ค วามรู้ แ ละประสบการณ์ จ ากการจั ด กิ จ กรรม วิชาการ/กิจกรรมทัศนศึกษา ๓. นั ก เรี ย นมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ จ ากการจั ด กิ จ กรรม คุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ๔. นักเรียนมีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพื่อ การแสวงหาความรู้และการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ๕. นักเรียนมีความสามารถ ทักษะและคุณลักษณะตามจุดเน้น การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับผ่านกระบวนการเรียนรู้ การใช้สื่อและ อุปกรณ์การเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 18. ตัวชี้วัด ด้านปริมาณ ๑. จำนวนเงินที่ลดค่าใช้จ่ายให้ผู้ปกครอง ๒. จำนวนนักเรียนที่ได้รับโอกาสทางการศึกษา ด้านคุณภาพ ๑. ร้ อ ยละของนั ก เรี ย นมี ค วามพร้ อ มด้ า นต่ า ง ๆ ทั ้ ง ด้ า นการ สนับสนุนค่าจัดการเรียนการสอน เครื่องแบบนักเรียน อุปกรณ์การเรียน หนังสือเรียน แบบฝึกหัด และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๒. ระดับความสำเร็จของนักเรียนมีความรู้ และประสบการณ์จาก การจัดกิจกรรมวิชาการ/กิจกรรมทัศนศึกษา ๓. ร้อยละของนักเรียน มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ จากการจัด กิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ๔. ร้อยละของนักเรียน มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพื่อการแสวงหาความรู้ และการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ๕. ร้อยละของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ ตามจุดเน้น ด้านการมีส่วนร่วม ระดั บ การมี ส ่ ว นร่ ว มในขั ้ น ตอนต่ า ง ๆ ของนั ก เรี ย น ผู ้ ป กครอง คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 19. งบประมาณ ๑. ค่าจัดการเรียนการสอน (เงินอุดหนุนรายหัว/ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน/อาหารนักเรียน พักนอน) สำหรับนักเรียนโรงเรียนปกติ มีเกณฑ์การจัดสรรดังนี้ ๑) ระดับก่อนประถมศึกษา - รายหัวโรงเรียนปกติ ๘๕๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๑,๗๐๐ บาท/ คน/ปี) - รายหั ว ครอบครั ว /สถานประกอบการ ๓,๔๙๑ บาท/คน/ ภาคเรียน (๖,๙๘๒ บาท/คน/ปี) ๒) ระดับประถมศึกษา - รายหัวโรงเรียนปกติ ๙๕๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๑,๙๐๐ บาท/ คน/ปี) - ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน (๔๐%) ๕๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี) - ค่ า อาหารนั ก เรี ย นพั ก นอน ๒,๖๕๐ บาท/คน/ภาคเรี ย น (๕,๓๐๐ บาท/คน/ปี) - รายหั ว ครอบครั ว /สถานประกอบการ ๓,๕๗๖ บาท/คน/ ภาคเรียน (๗,๑๕๒ บาท/คน/ปี) แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 20. ๓) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - รายหัวโรงเรียนปกติ ๑,๗๕๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๓,๕๐๐ บาท/คน/ปี) - ปั จ จั ย พื ้ น ฐานนั ก เรี ย นยากจน (๓๐%) ๑,๕๐๐ บาท/คน/ ภาคเรียน (๓,๐๐๐ บาท/คน/ปี) - รายหั ว ครอบครั ว /สถานประกอบการ ๕,๐๐๖ บาท/คน/ ภาคเรียน (๑๐,๐๑๒ บาท/คน/ปี) ๔) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - รายหัวโรงเรียนปกติ ๑,๙๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๓,๘๐๐ บาท /คน/ปี) - รายหั ว ครอบครั ว /สถานประกอบการ ๕,๑๗๑ บาท/คน/ ภาคเรียน (๑๐,๓๔๒ บาท/คน/ปี) ๕) ปวช. ๑-๓ (สถานประกอบการ) - รายหัว ๕,๘๖๘ บาท/คน/ภาคเรียน (๑๑, ๗๓๖ บาท/คน/ปี) แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 21. มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๒ เห็นชอบให้เพิ่ม เงินอุดหนุนรายหัว ให้นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กตั้งแต่ ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๓ เป็นต้นไป ดังนี้ ๑. โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กที่มีนักเรียน ๑๒๐ คนลงมาให้ เพิ ่ ม จากรายหั ว ที ่ ไ ด้ ร ั บ ปกติ (ก่ อ นประถม ๑,๗๐๐ บาท/ประถมศึ ก ษา ๑,๙๐๐ บาท) เพิ่มอีก ๕๐๐ บาท/คน/ปี สำหรับภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ จะได้รับ ๒๕๐ บาท/คน/ภาคเรียน ๒. โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กที่มีนักเรียน ๓๐๐ คนลงมาให้เพิ่ม จากรายหัวที่ได้รับปกติ (ม.ต้น ๓,๕๐๐ บาท/ม.ปลาย ๓,๘๐๐ บาท) เพิ่มอีก ๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี สำหรับภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ จะได้รับ ๕๐๐ บาท/คน/ภาคเรียน มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ เห็นชอบให้เพิ่ม เงินอุดหนุนให้โรงเรียนขยายโอกาสที่มีนักเรียน ๓๐๐ คนลงมา ให้เพิ่ม จากรายหัวที่ได้รับปกติ โดยจัดให้เฉพาะนักเรียน ม.ต้นเพิ่มให้อีก ๕๐๐ บาท/ คน/ภาคเรียน (๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี) แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 22. งบปัจจัยพื้นฐานสำหรับโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ๑. ระดับก่อนประถมศึกษา - นักเรียนประจำหัวละ ๑๙,๙๐๐ บาท/คน/ปี - นักเรียนไป-กลับหัวละ ๖,๑๒๐ บาท/คน/ปี ๒. ระดับประถมศึกษา - นักเรียนประจำหัวละ ๑๙,๙๐๐ บาท/คน/ปี - นักเรียนไป-กลับหัวละ ๖,๑๒๐ บาท/คน/ปี ๓. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - นักเรียนประจำหัวละ ๑๙,๗๐๐ บาท/คน/ปี - นักเรียนไป-กลับหัวละ ๕,๕๐๐ บาท/คน/ปี ๔. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - นักเรียนประจำหัวละ ๑๙,๗๐๐ บาท/คน/ปี - นักเรียนไป-กลับหัวละ ๕,๕๐๐ บาท/คน/ปี แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 23. งบปัจจัยพื้นฐานสำหรับโรงเรียนศึกษาพิเศษ ๑. ระดับก่อนประถมศึกษา - นักเรียนประจำหัวละ ๒๐,๓๒๐ บาท/คน/ปี - นักเรียนไป-กลับหัวละ ๖,๑๒๐ บาท/คน/ปี ๒. ระดับประถมศึกษา - นักเรียนประจำหัวละ ๒๐,๓๒๐ บาท/คน/ปี - นักเรียนไป-กลับหัวละ ๖,๑๒๐ บาท/คน/ปี ๓. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - นักเรียนประจำหัวละ ๒๐,๑๐๐ บาท/คน/ปี - นักเรียนไป-กลับหัวละ ๕,๙๐๐ บาท/คน/ปี ๔. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - นักเรียนประจำหัวละ ๑๙,๗๐๐ บาท/คน/ปี - นักเรียนไป-กลับหัวละ ๕,๙๐๐ บาท/คน/ปี แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 24. ๒. เครื่องแบบนักเรียน เครื่องแบบนักเรียน ประกอบด้วย เสื้อ/กางเกง/กระโปรง คนละ ๒ ชุด/ปีในอัตรา ก่อนประถมศึกษา ๓๐๐ บาท/คน/ปี ประถมศึกษา ๓๖๐ บาท/คน/ปี มัธยมศึกษาตอนต้น ๔๕๐ บาท/คน/ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย ๕๐๐ บาท/คน/ปี ปวช.๑-๓ (สถานประกอบการ) ๙๐๐ บาท/คน/ปี กรณีนักเรียนมีชุดนักเรียนเพียงพอแล้ว สามารถซื้อเข็มขัด รองเท้า ถุงเท้าชุดลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด/ชุดกีฬา ได้ กรณีการจัดซื้อชุดนักเรียน ที่ต่างไปจากชุดนักเรียนปกติและราคาสูงกว่าที่กำหนดวงเงินดังกล่าวอาจซื้อ ได้เพียง ๑ ชุด แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 25. ๓. อุปกรณ์การเรียน อุปกรณ์การเรียนที่จำเป็นสำหรับนักเรียนเช่น สมุด ปากกา ดินสอ ยางลบไม้บรรทัดเครื่องมือเรขาคณิต วัสดุฝึก ICT กระดาษ A4 สีเทียน ดินน้ำมันไร้สารพิษ กระเป๋านักเรียน อุปกรณ์ที่จำเป็นและส่งผลต่อการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในอัตราดังนี้ ก่อนประถมศึกษา ๑๐๐ บาท/ภาคเรียน (๒๐๐ บาท/ปี) ประถมศึกษา ๑๙๕ บาท/ภาคเรียน (๓๙๐ บาท/ปี) มัธยมศึกษาตอนต้น ๒๑๐ บาท/ภาคเรียน (๔๒๐ บาท/ปี) มัธยมศึกษาตอนปลาย ๒๓๐ บาท/ภาคเรียน (๔๖๐ บาท/ปี) ชั้นปวช.๑-๓ ๒๓๐ บาท/ภาคเรียน (๔๖๐ บาท/ปี) (สถานประกอบการ) แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 26. ๔. หนังสือเรียน ๔.๑ ลักษณะของหนังสือ หนั ง สื อ ที ่ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารสนั บ สนุ น งบประมาณให้ สถานศึกษาจัดซื้อตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ๔.๑.๑ ระดับก่อนประถมศึกษาใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ สำหรับเด็กปฐมวัย ๔.๑.๒ ระดั บ ประถมศึ ก ษา (ป.๑-๖) ใช้ ห นั ง สื อ เรี ย นสาระ การเรียนรู้พื้นฐาน/รายวิชาพื้นฐาน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ๑) ภาษาไทย ๒) คณิตศาสตร์ ๓) วิทยาศาสตร์ ๔) สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ๕) สุขศึกษาและพลศึกษา ๖) ศิลปะ ๗) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 27. 0 และใช้แบบฝึกหัดใน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กระทรวง ศึกษาธิการกำหนดให้มีเพื่อเสริมทักษะที่จำเป็นแก่นักเรียนเฉพาะระดับ ประถมศึกษาได้แก่ ๑) ภาษาไทย ๒) คณิตศาสตร์ ๓) ภาษาอังกฤษ ๔.๑.๓ ระดับมัธยมศึกษา (ม.๑-๖) ใช้หนังสือสาระการเรียนรู้ พื้นฐาน/รายวิชาพื้นฐาน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๔.๒ งบประมาณค่าหนังสือที่ได้รับปี ๒๕๕๔ สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐานได้ ร ั บ งบประมาณปี ๒๕๕๔ เป็นค่าหนังสือเรียนและแบบฝึกหัด ดังนี้ มูลค่าหนังสือต่อชุด ก่อนประถมศึกษา ๒๐๐.๐๐ บาท/คน/ปี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๕๖๐.๘๐ บาท/คน/ปี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ๖๐๔.๐๐ บาท/คน/ปี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ๖๙๒.๐๐ บาท/คน/ปี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ๖๕๒.๘๐ บาท/คน/ปี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ๗๙๕.๒๐ บาท/คน/ปี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๘๗๗.๖๐ บาท/คน/ปี แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 28. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๖๙๙.๒๐ บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๘๔๓.๒๐ บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๘๐๕.๖๐ บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ๑,๒๑๕.๒๐ บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ๑,๒๐๘.๐๐ บาท/คน/ปี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ๙๘๘.๐๐ บาท/คน/ปี ชั้น ปวช. ๑-๓ (สถานประกอบการ) ๒,๐๐๐.๐๐ บาท/คน/ปี ซึ่งมีเกณฑ์การจัดสรรค่าหนังสือสำหรับภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ดังนี้ ๑. หนังสือที่มีใช้อยู่เดิม ปีการศึกษา ๒๕๕๓ จัดสรรทดแทนหนังสือ ชำรุดเสียหายจริงตามที่โรงเรียนสำรวจแต่ไม่เกิน ๓๐% ๒. หนังสือใหม่ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จัดสรร ๑๐๐% ๓. แบบฝึกหัด ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ (ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ)ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จัดสรร ๑๐๐% ของจำนวนนักเรียน ๔. งบประมาณที ่ ไ ด้ ร ั บ สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐานนำไปจัดสรรให้สถานศึกษาจัดซื้อหนังสือเรียนและแบบฝึกหัด เพื่อให้นักเรียนมีหนังสือเรียนครบทุกคนซึ่งโรงเรียนสามารถถัวจ่ายระหว่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้และระดับชั้นเรียนได้ แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 29. ๕. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ประกอบไปด้วย ๑. กิจกรรมวิชาการ ๒. กิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ๓. ทัศนศึกษา ๔. การบริการสารสนเทศ/ ICT ทั ้ ง นี ้ ใ นการวางแผนกำหนดกิ จกรรมทั ้ง ๔ กิ จ กรรมต้ อ งให้ ภ าคี ๔ ฝ่ า ย (ผู ้ แ ทนครู ผู ้ แ ทนผู ้ ป กครอง ผู ้ แ ทนชุ ม ชน และผู ้ แ ทนกรรมการ นักเรียน) และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีส่วนร่วมและพิจารณา โดยที ่ ผ ลการพิ จ ารณาต้ อ งไม่ เ ป็ น การรอนสิ ท ธิ ์ ข องเด็ ก ยากจน เด็ ก ที ่ ม ี ความต้องการพิเศษ และเด็กด้อยโอกาสที่พึงจะได้รับ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีสาระสำคัญดังต่อไปนี้ ๑. กิจกรรมวิชาการเป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมจากการ เรียนปกติในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ส่งเสริมเด็กเก่งให้มีความเป็นเลิศและแก้ไขข้อบกพร่องของนักเรียนเรียนอ่อน ให้มีศักยภาพสูงขึ้น เช่น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านประชาธิปไตย กิจกรรม พัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษา กิจกรรมปลูกฝังความรู้รักสามัคคี กิจกรรมแก้ปัญหาความขัดแย้ง เช่น ค่ายสันติวิธี ค่ายวิทย์-คณิตคิดสนุก ค่ายทักษะชีวิตค่ายภาษาพาเพลิน (แก้ปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้) เป็นต้นโดยกำหนดให้ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าว อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 30. ๒. กิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด เป็นกิจกรรมที่ช่วย ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ โดยมีสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้ กิจกรรมคุณธรรม จิตอาสา เช่น ค่ายเด็กดีของชุมชน ค่ายรักษ์โลก ค่ า ยรั ก ษ์ ส ั ต ว์ ค่ า ยยุ ว ชนคนดี กิ จ กรรมอาสาพั ฒ นา กิ จ กรรมอนุ ร ั ก ษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด เป็นกิจกรรมภาคปฏิบัติในการเรียน ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึก ทักษะการจัดการ การเผชิญสถานการณ์ การใช้ชีวิตร่วมกันเป็นหมู่คณะ เช่น การเดินทางไกล การอยู่ค่ายพักแรม การผจญภัย (ไต่เขาปีนต้นไม้ ฯลฯ) โดยกำหนดให้ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าวอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ๓. ทั ศ นศึ ก ษา โดยเน้ น ภู ม ิ ศ าสตร์ และประวั ต ิ ศ าสตร์ ข องชาติ และท้องถิ่น และ/หรือทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อสร้างเสริม ประสบการณ์ตรงให้กับนักเรียนที่เพิ่มเติมจากการเรียนในห้องเรียน เพื่อให้ นักเรียนมีความรู้และประสบการณ์อย่างกว้างขวางโดยกำหนดให้ดำเนินการ กิจกรรมดังกล่าวอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 31. ๔. การบริ ก ารสารสนเทศ/ICT เป็ น กิ จ กรรมการให้ บ ริ ก าร ICT/ คอมพิ ว เตอร์ แ ก่ น ั ก เรี ย นเพิ ่ ม เติ ม จากการเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ พ ื ้ น ฐาน ตามหลักสูตรปกติ เช่น การให้บริการสืบค้นความรู้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต การให้ บ ริ ก ารคอมพิวเตอร์ในการจัดทำสื่อ รายงาน การนำเสนอข้ อ มู ล การออกแบบสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยกำหนดให้ดำเนินการ กิจกรรมดังกล่าวอย่างน้อย ๔๐ ชั่วโมง/ปี/คน งบประมาณพัฒนากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนต่อนักเรียน ๑ คน ดังนี้ ก่อนประถมศึกษา ๒๑๕ บาท/ภาคเรียน (๔๓๐ บาท/ปี) ประถมศึกษา ๒๔๐ บาท/ภาคเรียน (๔๘๐ บาท/ปี) มัธยมศึกษาตอนต้น ๔๔๐ บาท/ภาคเรียน (๘๘๐ บาท/ปี) มัธยมศึกษาตอนปลาย ๔๗๕ บาท/ภาคเรียน (๙๕๐ บาท/ปี) ปวช. ๑-๓ ๔๗๕ บาท/ภาคเรียน (๙๕๐ บาท/ปี) (สถานประกอบการ) แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 32. แนวทางการจัดสรรงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดสรรงบประมาณ ค่าจัดการเรียนการสอน หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ ๑. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดสรรงบประมาณ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๓โดยใช้ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๓ ในการจัดสรรงบประมาณดังกล่าวโดยไม่จัดสรรรายการดังกล่าวให้ ตามจำนวนผู้ขอสละสิทธิ์ค่าเครื่องแบบนักเรียน และอุปกรณ์การเรียน และ จัดสรรงบประมาณภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๔ โดยใช้ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๓ ในการจัดสรรงบประมาณดังกล่าว ทั้งนี้ นักเรียนเข้าใหม่ ชั้นอนุบาล ๑, ป.๑, ม.๑, ม.๔ จัดสรรให้เบื้องต้นร้อยละ ๘๐ ของนักเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบจำนวนนักเรียนที่แน่นอนสำหรับชั้นอื่น ๆ จัดสรรให้ร้อยละ ๑๐๐ โดยคิดนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เลื่อนชั้นไปอีก ระดับชั้นหนึ่ง (ในกรณีที่มีข้อมูลผู้ขอสละสิทธิ์ไม่รับเครื่องแบบนักเรียนและ อุปกรณ์การเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะไม่จัดสรร รายการดังกล่าวให้ตามจำนวน ผู้ขอสละสิทธิ์) และจะจัดสรรงบประมาณ เพิ่มเติมให้อีกตามข้อมูลนักเรียน ณ วันที่๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ หักลบด้วย นักเรียนที่สละสิทธิ์โดยให้โรงเรียนดำเนินการบันทึก/แก้ไข/ปรับปรุงและยืนยัน ข้อมูลให้ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ ส่งภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 33. กรณีนักเรียนเข้าใหม่คือ ชั้น อ.๑, ป.๑, ม.๑, ม.๔ ซึ่งสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดสรรงบประมาณให้เบื้องต้นก่อน ๘๐% ของนักเรียนเดิม และคิดนักเรียนเดิมชั้น ป.๑, ป.๒, ป.๓, ป.๔, ป.๕, ม.๑, ม.๒, ม.๔, ม.๕ เลื่อนชั้นไปอีกระดับชั้นหนึ่ง ๑๐๐% นั้น ในทางปฏิบัติจริง โรงเรียนจำเป็นต้องจัดสรรเงิน/จัดหาให้กับนักเรียนที่มีจริงในภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๔ ให้ครบทุกคน (ยกเว้นนักเรียนที่สละสิทธิ์) ดังนั้น ๑) กรณี โ รงเรี ย นได้ ร ั บ จั ด สรรงบประมาณยั ง ไม่ ค รบตามจำนวน นักเรียนให้โรงเรียนยืมเงินจากรายการค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมาใช้ เป็นลำดับแรกก่อน (เพราะช่วงเปิดภาคเรียนยังไม่ได้ใช้เงินเพื่อการนี้) และ สามารถ ถัวจ่ายได้ทั้ง ๕ รายการ และเมื่อได้รับจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม ครบจำนวนนักเรียนจริง ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ แล้วให้ส่งใช้คืน รายการเดิม ๒) กรณีโรงเรียนได้รับจัดสรรงบประมาณแล้วมีเงินเหลือเนื่องจากได้ รับจัดสรรเกินจำนวนนักเรียนที่มีจริง ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ (นักเรียน ใหม่น้อย/นักเรียนเดิมย้าย) ห้ามโรงเรียนใช้เงินที่เหลือนี้ให้เก็บไว้สมทบใน การจัดสรรซึ่งจะหักลบเงินที่เหลือครั้งต่อไป (ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ภาคเรียน ที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔) แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 34. อนึ่งในปีการศึกษา ๒๕๕๔ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยสำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสารสนเทศ ให้มีการสำรวจจำนวนนักเรียนปีละ ๒ ครั้ง (ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๔/ครั้งที่ ๒ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔) เพื่อให้สามารถจัดสรร งบประมาณได้ครบถ้วนตรงตามจำนวนนักเรียนที่มีจริง ซึ่งจะทำให้ทราบ ความเคลื ่ อ นไหวของเด็ ก นั ก เรี ย นแต่ ล ะภาคเรี ย น ดั ง นั ้ น จึ ง จั ด สรร งบประมาณให้ดังนี้ ก. การจัดสรรงบประมาณภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ (งบประมาณ ปี ๒๕๕๔) ๑. จั ด สรรงบประมาณให้ ค รั ้ ง แรก ต้ น เดื อ นมี น าคม ๒๕๕๔ นักเรียนเข้าใหม่ คือ ชั้น อ.๑, ป.๑, ม.๑, ม.๔ จะจัดสรรงบประมาณให้ เบื้องต้นก่อน ๘๐% ของนักเรียนเดิม และคิดนักเรียนเดิมชั้น ป.๑, ป.๒, ป.๓, ป.๔, ป.๕ ,ม.๑, ม.๒, ม.๔, ม.๕ เลื่อนชั้นไปอีกระดับชั้นหนึ่ง ๑๐๐% ๒. กรณีโรงเรียนใดที่มีการรายงานข้อมูลนักเรียนที่รับจริงมาให้ ครบถ้วน และมีการยืนยันข้อมูลมาให้ ภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม ให้ อ ี ก จนครบ ๑๐๐% ตามจำนวนนั ก เรี ย นจริ ง ภายในเดื อ นกรกฎาคม ๒๕๕๔ แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 35. ข. การจัดสรรภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๔ (งบประมาณ ปี ๒๕๕๕) ๑. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะจัดสรร งบประมาณเบื้องต้นให้ภายในเดือนตุลาคม ๒๕๕๔ โดยจัดสรรให้ ๗๐% ของจำนวนนักเรียนที่รายงานครั้งที่ ๑ (วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๔) ๒. โรงเรียนที่รายงานข้อมูลและยืนยันข้อมูลครั้งที่ ๒ มาทัน ภายในวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน จะจัดสรรงบประมาณเพิ่มให้อีกเพื่อให้ครบ ๑๐๐% ตามจำนวน นักเรียนจริง ๓. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แจ้งจัดสรร งบประมาณตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพเป็นราย สถานศึกษาจำแนกตามระดับการศึกษาให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ทราบและแจ้งให้สถานศึกษาทราบ เพื่อเตรียมการจัดซื้อจัดหา/จัดกิจกรรม ต่อไปซึ่งโรงเรียนสามารถเปิดดูรายละเอียดการจัดสรรได้จากเว็บไซต์ของ สำนั ก นโยบายและแผนการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐานกลุ ่ ม สารสนเทศ http:// www.bopp-obec.info แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 36. ๔. สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐานจะโอน งบประมาณดังกล่าวทั้ง ๕ รายการข้างต้นเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของ สถานศึกษาทุกแห่งเพื่อให้สถานศึกษาดำเนินการให้เสร็จสิ้น สถานศึกษาได้ รับหนังสือเรียนภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔ นักเรียนได้รับหนังสือเรียน เครื่องแบบนักเรียน และอุปกรณ์การเรียนก่อนเปิดภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๔ (โรงเรียนที่เป็นหน่วยเบิกสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้โอน เงินประจำงวดให้เพื่อเบิกจากคลังจังหวัดในการจัดสรรตั้งแต่ภาคเรียนที่ ๑/ ๒๕๕๓ เป็นต้นไป) ๕. เงินค่าอุปกรณ์การเรียนและเครื่องแบบนักเรียน ที่นักเรียน/ ผู้ปกครองรับเงินสดไปแล้ว นักเรียนสามารถถัวจ่ายได้ตามความจำเป็นต้อง ใช้จ่ายจริง และเกิดประโยชน์สูงสุด แนวทางการบริจาคเงินที่ ได้รับสิทธิ์ ค่าเครื่องแบบนักเรียน/ค่าอุปกรณ์การเรียน กรณีที่ผู้ปกครองและนักเรียนได้รับสิทธิ์ค่าเครื่องแบบนักเรียนและ ค่าอุปกรณ์การเรียนแล้ว มีความประสงค์ที่จะบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ์ดังกล่าว ให้กับโรงเรียนด้วยความสมัครใจ เพื่อให้โรงเรียนนำไปพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาตามวัตถุประสงค์ต่อไป สามารถทำได้โดยทำใบสำคัญรับเงินจาก โรงเรียน และทำใบบริจาคเงินให้กับโรงเรียนในเอกสารฉบับเดียวกันดังนี้ แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 37. 0 แนวทางการบริจาคเงินที่ได้รับสิทธิ์ (ค่าเครื่องแบบนักเรียน/ค่าอุปกรณ์การเรียน) ใบสำคัญรับเงิน โรงเรียน............................................................. สพท. ................................................................ วันที่.............เดือน......................พ.ศ................ ข้าพเจ้า (นาย/นาง/น.ส.)............................................................................................................ อยู่บ้านเลขที่..........................ถนน........................................แขวง/ตำบล.................................................... อำเภอ/เขต.............................................จังหวัด....................................รหัสไปรษณีย์................................. ผู้ปกครองนักเรียนชื่อ (ด.ช./ด.ญ./นาย/นางสาว).......................................................................................... หมายเลขประจำตัวนักเรียน (๑๓ หลัก)..........................................ระดับชั้น..............ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ขอรับสิทธิ์ค่าเครื่องแบบนักเรียนและค่าอุปกรณ์การเรียนตามโครงการสนับสนุนการจัดการศึกษา โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ๑๕ ปี ดังนี้ ๑. ค่าเครื่องแบบนักเรียน ระดับชั้น......................จำนวนเงิน.........................................บาท ๒. ค่าอุปกรณ์การเรียน ระดับชั้น......................จำนวนเงิน.........................................บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น จำนวน.........................บาท (......................................................................) ลงชื่อ.............................................ผู้รับเงิน (.............................................) ลงชื่อ..............................................ผู้จ่ายเงิน (.............................................) ❏ บริจาค (กรุณาลงชื่อในแบบฟอร์มการบริจาคด้านล่าง) ❏ ไม่บริจาค ข้ า พเจ้ า มี ค วามประสงค์ ท ี ่ จ ะบริ จ าคเงิ น ที ่ ไ ด้ ร ั บ สิ ท ธิ ์ ต ามโครงการสนั บ สนุ น การจั ด การศึ ก ษาโดยไม่ เ สี ย ค่ า ใช้ จ ่ า ย ๑๕ ปี ที ่ เ ป็ น สิ ท ธิ ข องข้ า พเจ้ า ได้ ร ั บ ด้ ว ยความสมั ค รใจให้ แ ก่ โรงเรียน.................................................................ในรายการ ดังนี้ ❏ ค่าเครื่องแบบนักเรียน จำนวน................................................บาท ❏ ค่าอุปกรณ์การเรียน จำนวน................................................บาท รวมจำนวนเงินทั้งสิ้น........................บาท (..........................................................................) เพื่อให้โรงเรียนนำไปพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามวัตถุประสงค์ต่อไป ลงชื่อ................................................ผู้บริจาค ลงชื่อ........................................ผู้รับเงินบริจาค (...............................................) (.........................................) แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 38. แนวทางการจัดซื้อจัดหา เครื่องแบบนักเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะโอนเงินงบประมาณ ค่าเครื่องแบบนักเรียนซึ่งเป็นเงินงบอุดหนุนทั่วไปเข้าบัญชี เงินฝากธนาคาร ของสถานศึ ก ษาโดยให้ ส ถานศึ ก ษาจ่ า ยเงิ น สดให้ ก ั บ นั ก เรี ย นและ/หรื อ ผู ้ ป กครองเพื ่ อ ไปจั ด ซื ้ อ เครื ่ อ งแบบนั ก เรี ย นคนละ ๒ ชุ ด ในกรณี ต ้ อ งใช้ เครื่องแบบนักเรียนที่แตกต่างไปจากเครื่องแบบปกติและราคาสูงกว่าวงเงินที่ ได้รับอาจจัดซื้อได้เพียง ๑ ชุด และหากมีเครื่องแบบนักเรียนปกติเพียงพอ แล้วอาจนำเงินที่ได้รับไปจัดซื้อเข็มขัดรองเท้าถุงเท้าชุดลูกเสือ/เนตรนารี/ ยุวกาชาด/ชุดกีฬา/อุปกรณ์การเรียนที่จำเป็นได้โดยดำเนินการ ตามขั้นตอน ดังนี้ ๑. เมื่อสถานศึกษาได้รับเงินงบประมาณให้ตรวจสอบ จำนวนเงิน ที่ได้รับแจ้งการโอนเงินและจำนวนเงินในสมุดคู่ฝากของธนาคารว่ามีจำนวน เงินที่ถูกต้องตรงกัน ๒. สถานศึกษาออกใบเสร็จรับเงินตามแบบของทางราชการ ในนาม ของสถานศึกษาตามจำนวนเงินที่ได้รับส่งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อ รวบรวมไว้เป็นหลักฐาน ๓. สถานศึกษาแต่งตั้งผู้จ่ายเงินอย่างน้อย ๒ คนเพื่อร่วมกันจ่ายเงิน ให้กับนักเรียนและ/หรือผู้ปกครอง โดยลงลายมือชื่อรับเงินกรณีนักเรียน ไม่สามารถลงลายมือชื่อรับเงินได้ ให้ผู้ปกครองลงลายมือชื่อรับเงินแทนเพื่อ ไว้เป็นหลักฐานการจ่ายตามตัวอย่างเอกสารหมายเลข ๑ ในภาคผนวก ๔. สถานศึกษาแจ้งให้นักเรียน ผู้ปกครองจัดซื้อจัดหาเครื่องแบบ นั ก เรี ย นได้ ต ามความต้ อ งการ เช่ น จั ด ซื ้ อ จากสหกรณ์ ร้ า นค้ า ชุ ม ชน กลุ่มแม่บ้านหรือตัดเย็บเอง โดยดำเนินการให้ทันก่อนเปิดภาคเรียน แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 39. ๕. สถานศึกษาติดตามใบเสร็จรับเงินหรือหลักฐานการจัดหาเครื่อง แบบนักเรียนจากนักเรียน/ผู้ปกครอง ๖. สถานศึกษาดูแลให้นักเรียนมีเครื่องแบบนักเรียนจริง ๗. สถานศึกษาตรวจสอบหากพบว่านักเรียนไม่มีเครื่องแบบนักเรียน โดยที่นำเงินไปใช้จ่ายอย่างอื่นที่ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ผู้ปกครองจะต้อง คืนเงินให้กับทางราชการ ๘. ผู้ปกครองสามารถใช้จ่ายเงินค่าเครื่องแบบนักเรียนโดยถัวจ่าย ร่วมกับค่าอุปกรณ์การเรียนได้ ๙. กรณี ท ี ่ ผู ้ ป กครองสละสิ ท ธิ ์ ค ่ า เครื ่ อ งแบบนั ก เรี ย น ให้ แ ก่ สถานศึกษาต้องนำส่งคืนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๐. กรณีที่ผู้ปกครองบริจาคค่าเครื่องแบบนักเรียนให้สถานศึกษา นำไปใช้จ่ายในโครงการเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ได้ตาม ความจำเป็นและเหมาะสมโดยผ่านความเห็นชอบร่วมกันของภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔
  • 40. อุปกรณ์การเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะโอนเงินงบประมาณ ค่าอุปกรณ์การเรียนซึ่งเป็นเงินงบอุดหนุนทั่วไปเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของ สถานศึกษา โดยให้สถานศึกษาจ่ายเงินสดให้กับนักเรียนและ/หรือผู้ปกครอง เพื่อนำไปเลือกซื้ออุปกรณ์การเรียนที่จำเป็นต้องใช้ ในการเรียนการสอนได้ ตามความต้องการให้เหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละระดับชั้นดังนี้ ๑. ระดั บ ก่ อ นประถมศึ ก ษา เช่ น กระดาษ สี เ ที ย น ดิ น น้ ำ มั น ไร้สารพิษ กระเป๋านักเรียน เป็นต้น ๒. ระดับประถมศึกษา เช่น สมุด ดินสอ ยางลบ ปากกา ไม้บรรทัด ไม้โปรแทรกเตอร์ วัสดุฝึก ICT กระเป๋านักเรียน เป็นต้น ๓. ระดับมัธยมศึกษา เช่น สมุด ยางลบ ปากกา ดินสอ ไม้บรรทัด ไม้โปรแทรกเตอร์ เครื่องมือเรขาคณิตวัสดุฝึก ICT กระเป๋านักเรียน เป็นต้น ๔. ผู้ปกครองสามารถใช้จ่ายเงินอุปกรณ์การเรียนโดยถัวจ่ายร่วมกับ ค่าเครื่องแบบนักเรียนได้ ๕. กรณีที่ผู้ปกครองสละสิทธิ์อุปกรณ์การเรียนให้แก่สถานศึกษาต้อง นำส่งคืนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๖. กรณีที่ผู้ปกครองบริจาคอุปกรณ์การเรียนให้สถานศึกษานำไปใช้ จ่ายในโครงการเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพได้ตามความจำเป็น และเหมาะสมโดยผ่ า นความเห็ น ชอบร่ ว มกั น ของภาคี ๔ ฝ่ า ยและ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินการควบคุมติดตามและตรวจสอบ ให้ปฏิบัติ เหมือนกับการจ่ายเงินค่าเครื่องแบบนักเรียน แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔