SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 70
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Executive Summary 2557
บรรณาธิการ ดร.นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี
กองบรรณาธิการ นส.สุภาภรณ์ โคตรมณี ,นายเจนวิทย์ เขตเจริญ ,นายสุรชัย รสโสดา ,
นางภัสธิยะกุล ชาวกะมุด ,นายคฑาวุธ เยี่ยงแก้ว,นส.รัชชดา สุขผึ้ง,
นางรุ่งทิพย์ เอกพงษ์ ,นางอรัญญา สุริยจันทร์ , ภญ.ปิยวรรณ วิมลชัยฤกษ์,
นส.พิมพ์พร ดาศักดิ์ ,นางรัชนี คอมแพงจันทร์ ,นส.นพเก้า พิมพ์พาพ์
นางอนิสสา เกตุกาเนิด,นายพลพีร์ พรศิรธนานันต์,นางนิ่มนวล ไขแสงจันทร์,
นายสุรชัย คลังชานาญ
ออกแบบโดย นส.ณัฐจิรัตนันท์ โสตะวงศ์
สานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8
เลขที่ 4 ถ.อธิบดี ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000
โทรศัพท์ 042-222356 ต่อ 133,137 โทรสาร 042-221875
Email : R8office@gmail.com , Facebook Fan page : R8way , www.R8Way.com
พิมพ์ที่ 1 จานวน 500 เล่ม
กExecutive summary 2557
คานา
ในปี 2557 กระทรวงสาธารณสุข ได้ปฏิรูประบบบริหารจัดการใหม่ โดยการปรับบทบาทของกระทรวงสาธารณสุขให้เป็น
National Health Authority และปรับโครงสร้างการบริหารจัดการเป็นรูปแบบเขตบริการสุขภาพ ที่ครอบคลุม 4-8 จังหวัด ประชากร
ประมาณ 4-5 ล้านคน แบ่งเป็น 12 เขต โดยมอบหมายให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้ประธานคณะกรรมการเขต
บริการสุขภาพ (Chief Executive Officer, CEO) และมีตัวแทนจาก หน่วยบริการระดับต่างๆ เป็นคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ
(Service Provider Board) และยังได้จัดตั้งสานักงานเขตบริการสุขภาพอีก 12 แห่ง มาเพื่อรองรับการดาเนินงานดังกล่าว จุดมุ่งหมาย
หลักครั้งนี้ เพื่อปรับบทบาทหน้าที่และกลไกการดาเนินงานของทุกกระทรวงสาธารณสุขให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ
ประสิทธิภาพ และเข้าถึงบริการที่จาเป็น ไร้รอยต่อ โดยใช้วิธีการจัดบริการ "ร่วม" ซึ่งมีเครื่องมือหลัก คือ ผังบริการ (service plan)
เพื่อให้ประชาชนในแต่ละเขตพื้นที่ เข้าถึงบริการสุขภาพอย่างดีสุด
ในการนี้ เขตบริการสุขภาพที่ 8 ที่ครอบคลุมพื้นที่ 7 จังหวัด ได้แก่ อุดรธานี สกลนคร นครพนม เลย หนองบัวลาภู
หนองคาย และบึงกาฬ จึงได้วางกลยุทธ์ R8 Way หรือวิถีการดาเนินงานด้านระบบสุขภาพของเขตบริการสุขภาพที่ 8 เพื่อเป็นกรอบ
การปฏิบัติงาน โดยมีค่านิยมขององค์กร (core value) คือ เพิ่มการเข้าถึงบริการ ที่มีคุณภาพ (Access, Quality, Efficiency และ
Seamless, AQES) มีรูปแบบการบริหารจัดการ (operating model) 4Ps คือ Planning, People, Process และ Performance ในการ
ขับเคลื่อนเขต R8 way ประกอบด้วย กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก ได้แก่ 5 รุก 5 รับ 5 สนับสนุน มีระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ของการ
ปฏิบัติงาน โดยการเทียบเคียง (benchmarking) ด้วยระบบข้อมูลสารสนเทศ (cockpit) โดยมุ่งหวังว่าจะเป็นแนวทางการดาเนินงานให้
ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ สามารถดาเนินงานได้อย่างเป็นเอกภาพ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายในการปฏิรูประบบ
บริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข และมุ่งหวังให้พี่น้องประชาชน ในเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้รับบริการที่ดีขึ้น สามารถเข้าถึง
บริการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ แบบไร้รอยต่อ อย่างยั่งยืนต่อไป
นพ.สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย
ประธานคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8
ขExecutive summary 2557
สารบัญ
คานา..................................................................................................................................................................................................ก
สารบัญ..............................................................................................................................................................................................ข
สารบัญแผนภาพ.................................................................................................................................................................................ง
สารบัญตาราง ...................................................................................................................................................................................จ
1. บทนา.............................................................................................................................................................................................1
2. เขตบริการสุขภาพที่ 8...................................................................................................................................................................3
2.1 ข้อมูลทั่วไป...........................................................................................................................................................................3
2.2 คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8................................................................................................................................4
2.3 สานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8........................................................................................................................................6
2.4 การจัดหน่วยบริการตามแผนพัฒนางานบริการ (service plan) มีดังนี้........................................................................10
2.5 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร และรูปแบบการบริหารจัดการ.................................................................................11
3. กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก (Planning)...............................................................................................................................................13
4. กาลังคน (People)....................................................................................................................................................................33
4.1 การจัดการกาลังคน (Human resource management)...............................................................................................33
คExecutive summary 2557
4.2 การพัฒนากาลังคน (Human resource development) ..............................................................................................36
4.3 การติดต่อสื่อสาร (communication)...............................................................................................................................37
5. กระบวนการทางาน (Process)..................................................................................................................................................39
6. การวัดผลการดาเนินงาน (Performance appraisal)............................................................................................................44
7. บทสรุป........................................................................................................................................................................................47
ภาคผนวก ก : รายชื่อคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8 อุดรธานี......................................................................................49
ภาคผนวก ข : รายชื่อเจ้าหน้าที่สานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2557..............................................................................51
ภาคผนวก ค : การจัดระดับหน่วยบริการตามแผนพัฒนางานบริการ เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2557................................53
ภาคผนวก ง : หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรตามกลยุทธ์ 15 ร่องหลัก เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2557.................................55
งExecutive summary 2557
สารบัญแผนภาพ
แผนภาพที่ 1 จังหวัดในเขตบริการสุขภาพที่ 8................................................................................................................................3
แผนภาพที่ 2 โครงสร้างสานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8..............................................................................................................4
แผนภาพที่ 3 จานวนหน่วยบริการระดับต่างๆ เขตบริการสุขภาพที่ 8.......................................................................................10
แผนภาพที่ 4 ค่านิยมองค์กร เขตบริการสุขภาพที่ 8...................................................................................................................11
แผนภาพที่ 5 รูปแบบการบริหารจัดการ เขตบริการสุขภาพที่ 8 ................................................................................................12
แผนภาพที่ 6 การขับเคลื่อนการทางาน เขตบริการสุขภาพที่ 8..................................................................................................13
แผนภาพที่ 7 การกาหนดกลยุทธ์ ปี 2557 เขตบริการสุขภาพที่ 8.............................................................................................16
แผนภาพที่ 8 กลยุทธ์เชิงรุก (order to winner strategies)........................................................................................................17
แผนภาพที่ 9 กลยุทธ์เชิงรับ (order to qualifier strategies).....................................................................................................18
แผนภาพที่ 10 กลยุทธ์สนับสนุน (supporting rting strategies) ..............................................................................................18
แผนภาพที่ 11 บันได 4 ขั้น ด้านการเงินการคลัง เขตบริการสุขภาพที่ 8.................................................................................30
แผนภาพที่ 12 สัดส่วนกาลังคนเทียบกับ FTE ทุกวิชาชีพ ตามระดับของโรงพยาบาล ปี 2556...............................................34
แผนภาพที่ 13 ผลิตภาพต่อบุคลากร ตามระดับของโรงพยาบาล ปี 2556................................................................................34
แผนภาพที่ 14 หลักสูตรการพัฒนาบุคลากร เขตบริการสุขภาพที่ 8.........................................................................................37
แผนภาพที่ 15 การสื่อสาร เขตบริการสุขภาพที่ 8.......................................................................................................................38
แผนภาพที่ 16 กระบวนการทางาน 7 building blocks เขตบริการสุขภาพที่ 8.......................................................................40
แผนภาพที่ 17 การวัดผลการดาเนินงาน 15 กลยุทธ์ เขตบริการสุขภาพที่ 8...........................................................................45
จExecutive summary 2557
แผนภาพที่ 18 การเทียบเคียง (benchmarking) ผลการดาเนินงาน เขตบริการสุขภาพที่ 8...................................................46
แผนภาพที่ 19 ตัวอย่างการติดตามและประเมินผล โดย R8 Way Cockpit...............................................................................47
สารบัญตาราง
ตารางที่ 1 ข้อมูลการสูญเสียปีสุขภาวะของประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2552..............................................................14
ตารางที่ 2 การส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการนอกเขต เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2554-2556...........................................................14
ตารางที่ 3 รายรับงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เขต 7 8 9 และ 10 ปี 2557............................................15
ตารางที่ 4 อัตรากาลังตามวิชาชีพที่มีอยู่เทียบกับกรอบ (Human rource development)....................................................35
ตารางที่ 5 กระบวนการดาเนินงาน 7 building blocks สาขาจักษุ เขตบริการสุขภาพที่ 8......................................................41
Executive summary 2557
1. บทนา
ระบบสุขภาพของไทยในปัจจุบันยังไม่สามารถทาให้ประชาชนมีสุขภาพดีโดยถ้วนหน้าได้ เพราะคนไทยยัง
เจ็บป่วยล้มตายโดยโรคไม่จาเป็นเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะจาก โรคหัวใจ อุบัติเหตุ เอดส์ ติดสารเสพย์ติด มะเร็ง โรคจาก
การประกอบอาชีพ โรคเรื้อรังต่างๆ ซึ่งโรคและปัญหาเหล่านั้น ส่วนใหญ่ล้วนป้องกันได้ แต่อาจไม่สามารถแก้ไขได้หรือได้ผล
น้อย หากรอให้เจ็บป่วยด้วยโรคเหล่านั้นไปแล้ว
ที่สาคัญ คนไทยใช้เงินเพื่อสุขภาพสูงมากแต่กลับได้ผลตอบแทนต่า เพราะเราใช้เงินเพื่อซ่อมสุขภาพเป็นส่วนใหญ่
ในปี 2556 ประเทศไทยใช้จ่ายเรื่องสุขภาพประมาณ 250,000 ล้านบาท โดยค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นด้วยอัตรากว่า
ร้อยละ 10 ต่อปี ขณะที่เรากาลังเดินเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย ยารักษาโรคใหม่ๆ แต่มีราคาแพงมากขึ้น
หมายความว่า เรากาลังวิ่งเข้าไปสู่สภาวะวิกฤตด้านการเงินการคลัง ทั้งนี้ส่วนหนึ่งเกิดจากระบบบริการสุขภาพ (health care
service) ที่ยังขาดประสิทธิภาพ คุณภาพ การเข้าถึงบริการที่จาเป็น ก่อให้เกิดเป็นความทุกข์ทั้งฝ่ายผู้ให้และผู้รับบริการ
ด้วยเหตุนี้กระทรวงสาธารณสุข จึงมีนโยบายที่สาคัญ คือ การปฏิรูประบบบริการสุขภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยทุกคน
สามารถเข้าถึงบริการ ที่มีคุณภาพ ขณะเดียวกันก็มีการบริหารจัดการระบบที่มีประสิทธิภาพ แบบไร้รอยต่อ โดยมีแนวทางใน
การดาเนินการ ดังนี้
1. การปรับระบบสาธารณสุขระดับชาติ
1.1 การกากับ ควบคุม ดูแลระบบที่กาหนดนโยบายด้านสาธารณสุข (National Health Authority:
NHA)
1.2 สร้างกลไกในการกาหนดและผลักดันนโยบายในรูปของคณะกรรมการนโยบายสาธารณสุขระดับชาติ
(National Health Policy Board: NHPB)
Executive summary 2557
2. การปรับบทบาทภารกิจกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง)
2.1 ปรับบทบาทภารกิจกระทรวงสาธารณสุข เพื่อรองรับ National Health Authority
2.2 ปรับบทบาทภารกิจสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานระดับกรม ให้สอดคล้องกับ
ภารกิจใหม่ของกระทรวงฯตามภารกิจด้าน Regulator และ Support Provider และจัดตั้งหน่วยงานกลาง
รองรับ National Health Authority ใน 12 บทบาทใหม่
3. การปรับบทบาทภารกิจกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนภูมิภาค)
3.1 จัดตั้งเขตบริการสุขภาพที่ 1-12 และเขตกรุงเทพฯ เพื่อ
 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร โดยการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
 เพิ่มศักยภาพ คุณภาพ ของหน่วยบริการในเขตบริการสุขภาพ
 พัฒนาระบบการส่งต่อให้ดีขึ้น
 มีการกาหนด KPIs เพื่อการกากับ ติดตามและประเมินผลที่ชัดเจน (Greater accountability
by setting KPIs)
3.2 ตั้งคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ (Area Health Board) เพื่อความร่วมมือการทางานระหว่าง
ผู้ซื้อบริการและผู้จัดบริการในการวางแผนการซื้อและการจัดบริการ ด้วยเหตุนี้ เขตบริการสุขภาพที่ 8 ซึ่งดูแลสุขภาพ
ประชาชนใน 7 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ได้แก่ เลย หนองบัวลาภู อุดรธานี หนองคาย สกลนคร บึงกาฬ
และนครพนม จึงได้วางยุทธศาสตร์ในการดาเนินงานด้านบริการ (service plan) ที่เรียกว่า R8 Way หรือ วิถีการดาเนินงาน
ด้านระบบบริการสุขภาพสาหรับเขตบริการสุขภาพที่ 8 เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปของกระทรวงสาธารณสุขโดย
มุ่งหวังว่าจะเป็นแนวทางการดาเนินงานให้กับผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ ในการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขให้กับพี่น้องประชาชน
Executive summary 2557
ในเขตบริการสุขภาพที่ 8 สามารถเข้าถึงบริการ (Access) ที่มีคุณภาพ (Quality )ประสิทธิภาพ (Efficiency) แบบไร้รอยต่อ
(Seamless) อย่างยั่งยืน ต่อไป
2. เขตบริการสุขภาพที่ 8
2.1 ข้อมูลทั่วไป
เขตบริการสุขภาพที่ 8 ประกอบด้วย 7 จังหวัด ตั้งอยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ได้แก่ อุดรธานี สกลนคร
นครพนม เลย หนองบัวลาภู หนองคาย และบึงกาฬ ประกอบไปด้วย 89 อาเภอ 644 ตาบล 7,430 หมู่บ้าน 1,438,965
หลังคาเรือน ในปี 2556 มีประชากรทั้งสิ้น 5,491,263 คน แยกเป็นชาย 2,745,534 คน หญิง 2,745,729 คน
แผนภาพที่ 1 จังหวัดในเขตบริการสุขภาพที่ 8
Executive summary 2557
สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอก 5 อันดับแรก ในปี 2556 ได้แก่ โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบย่อยอาหารรวม
ในช่องปาก โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตาบอลิซึม โรคระบบกล้ามเนื้อรวมโครงสร้างและเนื้อยึดเสริม และโรค
ระบบไหลเวียนเลือด สาเหตุการเสียชีวิต 5 อันดับแรก ในปี 2556 ของประชาชนในเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้แก่ มะเร็งและ
เนื้องอกทุกชนิด โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็งตับ และโรคเบาหวาน
2.2 คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8
คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ประกอบด้วย ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธาน มีผู้อานวยการ
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ 8 ผู้อานวยการสานักงานควบคุมและป้องกันโรคที่ 6 ผู้อานวยการวิทยาลัยพยาบาลพระบรม
ราชชนนี อุดรธานี ผู้อานวยการศูนย์อนามัย ที่ 6 และผู้อานวยการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่ 8 อุดรธานี เป็น
ที่ปรึกษา มีนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ผู้อานวยการโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ทุกจังหวัด ตัวแทนผู้อานวยการ
โรงพยาบาลชุมชน ตัวแทนสาธารณสุขอาเภอ ตัวแทนผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) ตัวแทน
หน่วยบริการของกรมอื่นๆ และผู้อานวยการสานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8 เป็นกรรมการและเลขานุการ จานวน 31 คน
โดยมีรายชื่อของคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8 ดังในภาคผนวก ก โดยคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ มีบทบาท
และหน้าที่ (ตามคาสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 1449/2556) ดังนี้
1. บริหารเขตแบบบูรณาการสมบูรณ์เบ็ดเสร็จ ไร้รอยต่อที่มีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียมและเป็นธรรม
2. พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ในระบบฐานรากของการมีส่วนร่วมรับผิดชอบระบบบริการสุขภาพของหน่วย
บริการที่เกี่ยวข้องทุกระดับ เพื่อประชาชนมีสุขภาพดี
3. อนุมัติแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ อนุมัติแผนจัดสรรทรัพยากร งบประมาณ กาลังคน การลงทุน
(ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง) ในเขต
Executive summary 2557
4. อานาจบริหารงานบุคคลของหน่วยงานในเขต โดยให้ความเห็นชอบต่อข้อเสนอของประธาน ในการลงนาม
คาสั่งแต่งตั้ง โยกย้าย และพิจารณาความดีความชอบในอานาจที่เกินอานาจของจังหวัด ตามที่ได้รับมอบ
อานาจจากปลัดกระทรวงสาธารณสุข
5. ให้ความเห็นชอบให้ประธานคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ดาเนินการออกคาสั่ง/ระเบียบทางการบริหาร
(การเงิน/การบุคคล) ในระดับเขตบริการสุขภาพ ตามที่ได้รับมอบอานาจจากปลัดกระทรวงสาธารณสุข
6. ให้ความเห็นชอบให้ประธานคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ดาเนินแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา/
คณะอนุกรรมการ/คณะทางาน/พร้อมอานาจในการถอดถอน/ลงโทษ ในระดับเขตบริการสุขภาพ ตามที่ได้รับ
มอบอานาจจากปลัดกระทรวงสาธารณสุข
7. ให้ความเห็นชอบให้ประธานคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ดาเนินการจัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานบริการ
ในเขต ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด
8. ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถจัดการระบบ
บริการสุขภาพ ที่สอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการบริการสุขภาพที่กระทรวงกาหนด
9. กาหนดรูปแบบวิธีการจัดเครือข่ายบริการภายในเขต เช่น One Hospital, One Province, One Regional,
One Business เป็นต้น
10. ให้ความเห็นชอบประกาศสานักงานเขต ในการแบ่งส่วนภายในสานักงานเขต เป็นกลุ่มงานหรือหน่วยงานที่
เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่ากลุ่มงาน
11. พิจารณาให้กรรมการพ้นจากตาแหน่ง เพราะบกพร่องต่อหน้าที่ ทาให้เสื่อมเสียต่อเขตหรือหย่อนความสามารถ
Executive summary 2557
12. กรรมการมีอานาจเสนอวาระเข้าที่ประชุม โดยกรรมการ 1 ใน 3 สามารถเสนอเรื่องเข้าวาระการประชุม ถ้ามติ
ที่ประชุมเสียงส่วนใหญ่เกินกว่ากึ่งหนึ่ง จะมีผลในทางปฏิบัติ
13. พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบงานด้านบริการของสานักงานเขตบริการสุขภาพ ตามที่สานักงาน
เขตบริการสุขภาพเสนอ
14. พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบงานด้านวิชาการของสานักงานเขตบริการสุขภาพ ตามที่สานักงาน
เขตบริการสุขภาพเสนอ
15. พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบงานด้านงบประมาณของสานักงานเขตบริการสุขภาพ ตามที่
สานักงานเขตบริการสุขภาพเสนอ
16. พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบงานด้านบริหารบุคคลของสานักงานเขตบริการสุขภาพ ตามที่
สานักงานเขตบริการสุขภาพเสนอ
17. พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบงานด้านบริหารทั่วไปของสานักงานเขตบริการสุขภาพ ตามที่
สานักงานเขตบริการสุขภาพ เสนอ
18. อานาจหน้าที่อื่น ๆ ตามที่กระทรวงกาหนด
2.3 สานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8
สานักงานเขตบริการสุขภาพ ที่ 8 เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลาง มีฐานะเทียบเท่ากอง มีที่ตั้งอยู่ เลขที่ 4 ถนน
อธิบดี ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 ชั้น 3 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่
(ตามคาสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 1449/2556) ดังนี้
Executive summary 2557
1. สานักงานเลขานุการการบริหารงานของคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ (service provider board)
2. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนายุทธศาสตร์เขตบริการสุขภาพ บนฐานข้อมูลและฐานความรู้ แผนปฏิบัติ
การและเป้าหมายการดาเนินงาน ให้สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของประเทศตามนโยบาย
รัฐบาล และกระทรวงสาธารณสุข
3. วิเคราะห์การจัดตั้งคาของบประมาณ บริหารจัดการงบประมาณขาลง ติดตาม กากับ เร่งรัดและรายงานผลการใช้
งบประมาณในภาพรวมเขตบริการสุขภาพ วางระบบและแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานในเขต
บริการสุขภาพรับ ทราบ กากับการเบิกจ่ายงบประมาณของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพให้เป็นไปตามกฎหมาย
และหลักเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ
4. ประสานงานการบริหารอัตรากาลัง ปรับเกลี่ยจัดสรรให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์กลาง ประสานการบริหารงานบุคคล
เป็นแกนกลางในการบริหารบุคลากรจากกรมต่างๆ ที่ปฏิบัติงานในเขตบริการสุขภาพ โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ
5. บริหารจัดการระบบบริการในระดับเขตบริการสุขภาพให้เกิดประสิทธิภาพ มีคุณภาพได้มาตรฐานและสร้างความ
เป็นธรรม
6. บริหารจัดการระบบบริการในระดับเขตบริการสุขภาพ กาหนดหลักเกณฑ์ และแนวทางการจัดสรรทรัพยากรด้าน
สุขภาพเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการในเขตบริการสุขภาพให้แก่หน่วยงานในเขตบริการ สุขภาพที่
สอดคล้องตามบริบทของพื้นที่ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ
Executive summary 2557
7. กากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบการจัดสรร และการปรับเกลี่ยทรัพยากรด้านสุขภาพระหว่างหน่วยงานในเขตบริการ
สุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ประหยัด คุ้มค่าและสมประโยชน์ต่อราชการ โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ
8. กากับ ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์ และรายงานผลการดาเนินการของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพต่อ
คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ โดยกลไกการตรวจราชการและนิเทศงาน ร่วมกับกลไกการตรวจประเมินโดย
หน่วยงานภายในและภายนอก (Internal & External Audit)
9. กากับดูแลหน่ายงานในเขต ให้เป็นตามกฎระเบียบ และเป็นผู้แทนในการบังคับใช้กฎ ระเบียบต่างๆ
10. ส่งเสริมหรือสนับสนุนให้เกิดการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย รวบรวมข้อมูลข่าวสาร จัดทาระบบข้อมูลและฐานความรู้ด้าน
การสาธารณสุขในเขตบริการสุขภาพ ให้เป็นระบบเดียว มีคุณภาพ ใช้งานได้
11. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การวิจัยและพัฒนารูปแบบพัฒนากลไกการเฝ้าระวังและป้องกันโรค ภัยสุขภาพ และ
ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินในเขตบริการสุขภาพ
12. ดาเนินการและประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การวิจัยและพัฒนารูปแบบ พัฒนาระบบการกากับติดตาม และ
ประเมินผลของหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนที่เกี่ยวข้องกับระบบบริการสุขภาพในเขตบริการสุขภาพ
13. จัดระบบการประเมินผลและรับรองมาตรฐานบริการต่างๆ ของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ
14. เป็นศูนย์ประสานงานความร่วมมือกับภาคีต่างๆ ระหว่างเขตบริการสุขภาพ เขตบริการสุขภาพกับส่วนกลาง ทั้ง
ภายใน/นอกกระทรวงสาธารณสุข
15. เป็นศูนย์ดาเนินการเกี่ยวกับการร้องเรียนร้องทุกข์ ทั้งด้านการคุ้มครองผู้บริโภค การบริการ การบริหาร และการ
ปฏิบัติราชการ
Executive summary 2557
16. ประสานงาน ส่งเสริมการดาเนินงานของคณะอนุกรรมการ และคณะทางานของคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ
17. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นในฐานะสานักงานผู้แทนกระทรวงสาธารณสุขใน เขตบริการสุขภาพ
18. ปฏิบัติหน้าที่อื่นเกี่ยวกับกิจการภายในเขตบริการสุขภาพ ที่มิได้ระบุให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใดโดยเฉพาะ
อานาจหน้าที่อื่นๆที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด
แผนภาพที่ 2 โครงสร้างสานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8
โดยมีรายชื่อของผู้ปฏิบัติทั้งเต็มเวลา (full time) และบางเวลา (part time) ดังในภาคผนวก ข
Executive summary 2557
A
S
M1
M2
F2
F3
P
2
5
2
16
50
13
874
2.4 การจัดหน่วยบริการตามแผนพัฒนางานบริการ (service plan) มีดังนี้
เขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้แบ่งหน่วยบริการเป็นระดับต่างๆ เพื่อให้สามารถจัดบริการให้กับผู้ป่วยได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการที่จาเป็นได้โดยง่าย ไม่ต้องเดินทางไกล และเกิดประสิทธิภาพในการบริหาร
จัดการในระยะยาว โดยจาแนกเป็น โรงพยาบาลศูนย์ จานวน 2 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป 5 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 81 แห่ง
รวม 88 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 874 แห่ง
แผนภาพที่ 3 จานวนหน่วยบริการระดับต่างๆ เขตบริการสุขภาพที่ 8
โดยมีรายชื่อของหน่วยบริการในแต่ละระดับดัง ในภาคผนวก ค
Executive summary 2557
2.5 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร และรูปแบบการบริหารจัดการ
เขตบริการสุขภาพที่ 8 มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร และรูปแบบการบริหารจัดการ ดังนี้
วิสัยทัศน์ (Vision) : ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง สร้างความเจริญทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
พันธกิจ (Mission) : จัดระบบบริการตั้งแต่ระดับปฐมภูมิจนถึงบริการศูนย์ความเป็นเลิศที่มีคุณภาพ
ครอบคลุมและระบบส่งต่อ ที่ไร้รอยต่อ
ค่านิยม(Core value) : เขตบริการสุขภาพที่ 8 เพิ่มการเข้าถึงบริการ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ แบบไร้
รอยต่อ (AQES ; Access, Quality, Efficiency, Seamless)
แผนภาพที่ 4 ค่านิยมองค์กร เขตบริการสุขภาพที่ 8
Executive summary 2557
เขตบริการสุขภาพที่ 8 ยังมีรูปแบบการบริหารจัดการ (operating model) ที่ใช้ในการขับเคลื่อนการทางานทั้ง 7
จังหวัด โดยใช้หลัก 4Ps คือ
1. Planning คือ การเน้นการวางแผนกลยุทธ์อย่างเป็นระบบ โดยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ของระบบบริการ
และปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญของพี่น้องประชาชน ทั้ง 7 จังหวัด
2. People คือ การเน้นการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการดาเนินงานเพื่อตอบสนองต่อ
กลยุทธ์ของเขตบริการสุขภาพ
3. Process คือ การเน้นกระบวนการทางานอย่างเป็นระบบ (systematic approaches) ครบถ้วนทุกองค์ประกอบ
4. Performance คือ การติดตามและประเมินผลลัพธ์การปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และ
ยั่งยืน ต่อไป
แผนภาพที่ 5 รูปแบบการบริหารจัดการ เขตบริการสุขภาพที่ 8
PERFORMANCE
PROCESS
PEOPLE
PLANNING
Executive summary 2557
ไม่เพียงเท่านั้น เขตบริการสุขภาพที่ 8 ยังได้ออกแบบการทางานโดยใช้เครือข่ายวิชาชีพ ร่วมผลักดันงานตามกล
ยุทธ์หลัก ร่วมกับการทางานแบบแนวดิ่งที่มีผู้รับผิดชอบกลยุทธ์ 15 ร่องหลัก เพื่อให้เกิดการประสานงาน สนับสนุนให้มีการ
ทางานอย่างเป็นเอกภาพ และตอบสนองต่อกลยุทธ์ 15 ร่องหลัก ให้มากที่สุด
แผนภาพที่ 6 การขับเคลื่อนการทางาน เขตบริการสุขภาพที่ 8
3. กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก (Planning)
กลยุทธ์การดาเนินงานนั้น คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้นานโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และข้อมูล
ต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาวิเคราะห์ บริบท และสภาพปัญหา ของเขตบริการสุขภาพที่ 8 อาทิ
 ยุทธศาสตร์การดาเนินงานและตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข 44 ตัว
 ข้อมูลการสูญเสียปีสุขภาวะ ของประชาชนในเขตบริการสุขภาพที่ 8
 การส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการนอกเขต ปี 2556
 รายรับงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เปรียบเทียบกับเขตอื่นๆ ปี 2556
LEADERSHIP
15
7 Building blocks
Executive summary 2557
ตารางที่ 1 ข้อมูลการสูญเสียปีสุขภาวะของประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2552
อันดับที่ ชาย ปีสุขภาวะ หญิง ปีสุขภาวะ
1 มะเร็งตับ 1,670 เบาหวาน 2,941
2 อุบัติเหตุ 1,435 มะเร็งตับ 1,005
3 เบาหวาน 1,321 ซึมเศร้า 1,004
ที่มา IHPP สปสช. สสส.
ตารางที่ 2 การส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการนอกเขต เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2554-2556
ปี จานวนผู้ป่วย Adj RW จานวนเงิน(ล้านบาท)
2554 24,838 73,499.9 686
2555 26,048 73,479.8 618
2556 29,607 55,600.9 507
หมายเหตุ ปี 2556 ประมาณการ 12 เดือน จากตัวเลขจริง 10 เดือน
Executive summary 2557
ตารางที่ 3 รายรับงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เขต 7 8 9 และ 10 ปี 2557
ประเภทเงินที่เบิกจ่าย เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10
1. กองทุนผู้ป่วยนอก 1,060.64 1,010.96 1,020.89 1,004.93
1. กองทุนผู้ป่วยใน 1,059.37 781.07 870.72 914.42
3. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 260.48 258.63 254.46 250.41
ประเภทเงินที่เบิกจ่าย เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10
4. กองทุน central reimbursement 291.45 143.49 163.41 198.08
5. งบค่าเสื่อม 129.75 117.57 115.25 115.98
6. กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 13.37 13.32 13.72 13.30
7. เงินช่วยเหลือหน่วยบริการ ม. 41 5.39 6.38 4.11 3.29
8. งบบริการเพิ่มสาหรับหน่วยบริการต้นทุน
สูง
0.77 3.85 0.11 13.83
9. งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ 4.89 4.83 4.87 4.80
10. เงินช่วยเหลือผู้ให้บริการ 0.08 0.09 0.14 0.07
11. งบแพทย์แผนไทย 10.86 7.89 8.71 9.17
รวม 2,765.04 2,348.08 2,456.39 2,528.25
Executive summary 2557
จากข้อมูลต่างๆ พบว่าเขตบริการสุขภาพที่ 8 มีปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญ คือ มะเร็งตับและท่อน้าดี เบาหวาน
อุบัติเหตุ และโรคซึมเศร้า มีการส่งผู้ป่วยไปรับการรักษานอกเขตค่อนข้างมาก สูญเสียค่าใช้จ่ายกว่า ปีละ 600 ล้านบาท
และยังมีรายรับจากกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (UC) ต่าที่สุด เมื่อเทียบกับเขตบริการสุขภาพอื่นๆ จึงได้นาข้อมูล
เหล่านี้มาจัดลาดับความสาคัญ และกาหนดเป็นกลยุทธ์การดาเนินงาน 6 ประเด็น ของเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้แก่ 1)
มะเร็งท่อน้าดีและตับ 2) โรคต้อกระจก 3) การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 4) รพ.สต./คปสอ. ติดดาว 5) ความถูกต้องและ
คุณภาพของระบบบัญชี และ 6) ระบบข้อมูลสารสนเทศ แล้วนามาผนวกรวมกับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขปี 2557
เพื่อเป็นกลยุทธ์การดาเนินงานของเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้เป็น กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก : 5 รุก 5 รับ และ 5 สนับสนุน
แผนภาพที่ 7 การกาหนดกลยุทธ์ ปี 2557 เขตบริการสุขภาพที่ 8
KPIs
%
%
Executive summary 2557
กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก 5 รุก 5 รับ และ 5 สนับสนุน หมายถึง กลยุทธ์เชิงรุก (order to winner strategies)
หมายถึง จะทาเรื่องดังกล่าวเพื่อเป็นเลิศ เป็นตัวอย่างให้กับเขตอื่นๆ จานวน 5 กลยุทธ์ กลยุทธ์เชิงรับ (order to qualifier
strategies) หมายถึง ทาเรื่องดังกล่าวซึ่งยังเป็นจุดอ่อน ตามให้ทัน ดีให้ได้ จานวน 5 กลยุทธ์ และ กลยุทธ์สนับสนุน
(supportive strategies) ซึ่งจะหนุนกลยุทธ์เชิงรุก กลยุทธ์เชิงรับ รวมทั้งยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ อีก 5 กลยุทธ์ ทั้งนี้คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8 ยังได้มอบหมายให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด รพศ.
หรือรพท. หรือศูนย์วิชาการที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละเรื่อง เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนตามกลยุทธ์ ในภาพของเขต
ดังนี้
แผนภาพที่ 8 กลยุทธ์เชิงรุก (order to winner strategies)
1)
2)
3)
4)
5) 6
Executive summary 2557
แผนภาพที่ 9 กลยุทธ์เชิงรับ (order to qualifier strategies)
แผนภาพที่ 10 กลยุทธ์สนับสนุน (supporting rting strategies)
Executive summary 2557
โดยแต่ละกลยุทธ์มีเนื้อหาโดยสรุปสาหรับผู้บริหาร ดังนี้
1. แม่และเด็ก
เป้าประสงค์
1. ลดอัตราการเสียชีวิตของมารดา ให้น้อยกว่า 18:แสนประชากร
2. เพิ่มคุณภาพการดูแลแม่และเด็ก และเพิ่มบริการผู้ป่วยเด็กวิกฤติ NICU และ Sick new born ให้มีมาตรฐาน
และเพียงพอ
วิธีการ
1. มีระบบการฝากครรภ์ (ANC) คุณภาพ ทั้งภาครัฐและเอกชน (คลินิก) และมีห้องคลอดคุณภาพ ในทุกระดับ
หน่วยบริการ โดยมีสูติแพทย์ออกไปดูแลเป็นที่ปรึกษาทุกโรงพยาบาล มีคณะกรรมการ MCH board ที่
ขับเคลื่อนงานแม่และเด็ก อย่างเป็นรูปธรรมทั้งในระดับอาเภอและจังหวัด
2. เพิ่มจานวนเตียง Sick new born ในระดับ M2 และ NICU ในระดับ M1 S และ A ให้เพียงพอ ในอัตรา
1:1,500 การคลอด เพื่อลดการส่งต่ออกนอกเขต ภายใน 2 ปี
3. พัฒนาบุคลากรให้สามารถดูแลงานแม่และเด็กได้อย่างมีคุณภาพ ทั้งหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว
2. อุบัติเหตุและการแพทย์ฉุกเฉิน
เป้าประสงค์
1. มีระบบอุบัติเหตุและการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) โดยเฉพาะด้าน pre-hospital care ที่มีคุณภาพ
2. มีการดูแลผู้ป่วยในห้องฉุกเฉิน (emergency room) ที่มีคุณภาพ เพื่อลดการเสียชีวิตโดยไม่จาเป็น
Executive summary 2557
วิธีการ
1. การพัฒนาระบบอุบัติเหตุและการแพทย์ฉุกเฉิน อย่างต่อเนื่อง (continuity quality improvement, CQI)
 ทุกโรงพยาบาลมีระบบการดูแลผู้ป่วย และการตรวจสอบคุณภาพการส่งต่อ (referral audit) อย่าง
น้อย 6 ระบบ (3H, 3S) ได้แก่
I. 3S: Stroke STEMI SEPSIS
II. 3H: High risk in pregnancy, High risk in newborn, High risk in trauma
 ทุกโรงพยาบาล สามารถแยก ผู้ป่วยห้องฉุกเฉินเป็น 5 สี ได้อย่างถูกต้อง
 โรงพยาบาล ระดับ M1 ขึ้นไป มีการจัดระบบ Probability survival score (PS score) ที่สามารถ
นาไปใช้และแปลผลได้
 โรงพยาบาลระดับ F1-F3 มีระบบทบทวนเพื่อลดความเสี่ยงคนไข้วิกฤติ (สีแดง) และกึ่งวิกฤติ
(สีส้ม-ชมพู) ที่มีคุณภาพและเหมาะสม
2. การพัฒนาบุคลากร
 บุคลากรในห้องฉุกเฉินทุกแห่ง ต้องได้รับการอบรมหลักสูตร Advanced Trauma and Life
Support (ATLS) ทุกคน ในปี 2557
 โรงพยาบาล ระดับ A และ S ต้องมีแพทย์ (staff) ออกตรวจในเวรบ่าย ในวันจันทร์-ศุกร์ วันหยุด
และวันนักขัตฤกษ์ ต้องมีแพทย์ออกตรวจทั้งเวรเช้าและบ่าย โรงพยาบาล ระดับ M2 อาจจะเป็น
แพทย์ใช้ทุนได้
 โรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไปในเวรบ่ายต้องมี OPD นอกเวลาแยกออกจากห้องฉุกเฉิน เพื่อลด
ผู้ป่วยสีเขียว
Executive summary 2557
3. มีการจัดเครือข่ายอุบัติเหตุและการแพทย์ฉุกเฉินในระดับจังหวัด และมีกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพร่วมกัน
3. โรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไต)
3.1 โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
เป้าประสงค์
1. มีระบบการดูแลเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีคุณภาพ
2. มีกระบวนการเพิ่มคุณภาพ (CQI) งานโรคเรื้อรัง ทั้งในชุมชน, รพ.สต., รพช./รพท./รพศ. เพื่อเพิ่มการ
เข้าถึงบริการ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ แบบไร้รอยต่อ
วิธีการ
1. มีคณะกรรมการโรคเรื้อรังระดับระดับจังหวัด อาเภอ และดาเนินงานเรื่องนี้อย่างเป็นรูปธรรม
2. Case manager และ system manager ทุกระดับต้องถูกพัฒนาและมีกระบวนงานที่เป็น CQI ที่เข้มแข็ง
โดยมีระบบบริการที่คุณภาพ กระจายใกล้ชิดชุมชน และชุมชนมีส่วนร่วมมากขึ้น
3. ขยายบริการ Non-drug therapy ในชุมชนภายใต้การจัดการความรู้แบบ Context Base Learning ใน
ชุมชน, รพ.สต., คลินิก และรพ.ระดับต่างๆ
4. กระจายผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ไม่มีโรคแทรกซ้อนไป รพ.สต. ให้มากกว่า ปี 2556
5. ตรวจวัดคุณภาพทางคลินิกของผู้ป่วยใน รพ.สต., รพช., ที่อย่างมีหลักฐานเชิงประจักษ์ว่ามี CQI ทั้งผล
เลือด ผลความดัน การคัดกรองโรคแทรกซ้อน โดยมีเป้าหมาย รายอาเภอ รายจังหวัด
 โดยมีคลินิกโรคเรื้อรัง (NCD) ที่มีคุณภาพ ≥ 80%
 ผู้ป่วยเบาหวานสามารถคุมน้าตาลได้ดี ≥ 40%
Executive summary 2557
 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถคุมความดันโลหิตได้ดี ≥ 60%
6. มีการกระจายแพทย์อายุรศาสตร์ไปดูแลผู้ป่วยที่มีโรคแทรกซ้อน ที่ รพช. ที่ยังไม่มีอายุรแพทย์เป็น
ประจา อย่างน้อยเดือนละ 2-3 ครั้ง ตามปริมาณผู้ป่วยที่เหมาะสม
3.2 โรคไต (Chronic kidney diseases)
เป้าประสงค์
1. ผู้ป่วยโรคไตสามารถเข้าถึงการคัดกรอง รักษา และทดแทนไต
2. หน่วยบริการทุกระดับสามารถคัดกรอง ตรวจ และดูแล โรคไตในระยะเริ่มแรกได้
วิธีการ
1. มีเครือข่ายระดับจังหวัด อาเภอ ที่เชื่อมโยงกับงานโรคเรื้อรัง (NCD) โดยการมีส่วนร่วมของแพทย์
อายุรแพทย์และอายุรแพทย์โรคไต และมีระบบ CQI ที่เข้มแข็ง
2. ระดับ รพ.สต. มีระบบคัดกรองภาวะไตเสื่อมของผู้ป่วยในชุมชน พยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไปสามารถดูแล
ผู้ป่วยไตวายที่ล้างไตทางหน้าท้อง (CAPD) ในพื้นที่ของตนเองได้
3. โรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป มี คลินิกไตวายเรื้อรังคุณภาพ (Chronic kidney diseases, CKD) ทุกแห่ง
โรงพยาบาลระดับ M2 ขึ้นไป ระดับ รพช. มีระบบพี่เลี้ยงดูแลการล้างไตทางหน้าท้อง (CAPD) ในรพช.
ลูกข่าย และมีบริการล้างไตทางเส้นเลือด (Hemodialysis) ครอบคลุมอย่างน้อย 8 เครื่อง ต่อแสน
ประชากร (รวมของรัฐและของเอกชน) โดยผู้ป่วยเดินทางไม่เกิน 50 กม.
4. โรงพยาบาลระดับ A รพศ.อุดรธานีสามารถการผ่าตัดเปลี่ยนไต ได้รายที่ 5 ภายในปี 2557 ส่วน
โรงพยาบาล A และ S ระดับ อื่นๆ สามารถหาผู้บริจาคไต (donor) ได้ภายในปี 2557
Executive summary 2557
4. หัวใจและหลอดเลือด
แบ่งออกเป็น 2 ประเด็น ที่สาคัญ คือ หัวใจ และหลอดเลือดสมอง (stroke)
4.1 หัวใจ
เป้าประสงค์
1. ลดอัตราการเสียชีวิตในโรคหัวใจเฉียบพลัน (STEMI) ในโรงพยาบาลให้ได้น้อยกว่า ร้อยละ 7
2. มีระบบการดูแลผู้ป่วยหัวใจที่มีคุณภาพ บูรณาการตั้งแต่ระดับปฐมภูมิจนถึงตติยภูมิ
วิธีการ
1. โรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป ทุกแห่ง สามารถให้ Fibrinolytic agent
2. โรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป ทุกแห่ง มี warfarin clinic ที่มีสหวิชาชีพร่วมกันดูแลผู้ป่วย
3. โรงพยาบาลระดับ A มีคลินิกหัวใจแยกเฉพาะ
4. โรงพยาบาลอุดรธานี สามารถผ่าตัดหัวใจ (open heart) ได้มากกว่า ปี 2556 อย่างน้อย 1.5 เท่า
เพื่อลดการส่งต่อ
4.2 หลอดเลือดสมอง (Stroke)
เป้าประสงค์
1. มีระบบการดูแลหลอดเลือดสมอง (Stroke) ที่มีคุณภาพ บูรณาการตั้งแต่ระดับปฐมภูมิจนถึงตติย
ภูมิ ครอบคลุมทุกพื้นที่ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยง่าย
วิธีการ
1. เพิ่มหน่วยบริการที่สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างครบวงจร อาทิ มี CT scan ในโรงพยาบาล ระดับ
M1 และ M2 บางแห่ง ให้ครอบคลุม เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการได้โดยง่าย
Executive summary 2557
2. โรงพยาบาล อุดรธานี สกลนคร เลย หนองคาย และนครพนม มี Stroke Unit ส่วน โรงพยาบาล
หนองบัวลาภู บึงกาฬ สว่างแดนดิน และกุมภวาปี มี Stroke corner สาหรับดูแลผู้ป่วย
3. โรงพยาบาล ระดับ M1 ขึ้นไป สามารถให้บริการ Thrombolytic agent ได้มากขึ้นกว่าเดิมอย่าง
น้อย 1.5 เท่า
4. รพ.สต. ทุกแห่ง มีระบบการดูแลและลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยงอย่างเป็นระบบ
5.มะเร็งท่อน้าดีและตับ
เป้าประสงค์
1. ลดอัตราการเสียชีวิตของประชาชนในเขตบริการที่ 8 จากโรคมะเร็งท่อน้าดีและตับให้ได้ร้อยละ50 ใน3 ปี
2. มีการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งท่อน้าดีและตับ โดยใช้กลยุทธ์หัวใจ 4 ดวงในการดาเนินงาน
วิธีการ
1. ลดอัตราการติดเชื้อติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ เน้นไปที่การมีหลักสูตรในโรงเรียน ควบคู่ไปกับการร่วมมือ
กับหน่วยราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคธุรกิจ ในการให้สุขศึกษารณรงค์ ไม่กินปลาดิบ
และการบังคับใช้กฎหมายอย่างเหมาะสม
2. คัดกรองกลุ่มเสี่ยงอย่างเหมาะสมโดยเครื่อง ultrasound เพื่อค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มต้นเพื่อให้รับการ
รักษาได้รวดเร็วขึ้น
3. พัฒนาศักยภาพการผ่าตัด ทั้งแบบการรักษาให้หายขาด (curative treatment) และการรักษาแบบ
ประคับประคอง (palliative treatment) ในหน่วยบริการระดับ A S และ M1 เพื่อลดการส่งต่อให้มาก
ที่สุด และ สามารถลงทะเบียน tumor registry ได้
Executive summary 2557
4. ระดับ รพ.สต. ให้การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย (palliative care) ให้มีช่วงชีวิตสุดท้ายอย่างมี
ความสุข
6. ส่งต่อนอกเขต
เป้าประสงค์
1. ลดการส่งต่อออกนอกเขตให้ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
2. มีระบบส่งต่อที่มีคุณภาพมากขึ้น ทั้งด้านประสานการส่งต่อ การส่งไป และส่งกลับ
วิธีการ
1. เพิ่มศักยภาพการผ่าตัดในโรคที่ต้องส่งต่อ เช่น หัวใจ มะเร็งท่อน้าดีและตับ เป็นต้น
2. ลดการรอคิวการรักษา เช่น การฉายแสง ในผู้ป่วยมะเร็ง เป็นต้น
3. โรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไป มีพยาบาลเต็มเวลา (full time) ตลอด 24 ชั่วโมง ให้การประสานการส่ง
ต่อภายในเขต ทั้งหมด
4. พัฒนาระบบการส่งไปและส่งกลับ (refer in refer out refer back) โดยการวิเคราะห์รายแผนก
5. พัฒนาโรงพยาบาลระดับ M2 ให้มีศักยภาพในการรักษาพยาบาลมากขึ้น
6. พัฒนากลไกด้านการเงินการคลังเพื่อสร้างแรงงจูงใจ ให้โรงพยาบาลระดับ M1 และ M2 เพิ่มการทา
หัตถการ อาทิ ไส้ติ่ง ไส้เลื่อน หมันหญิง ให้มากขึ้น เพื่อลดภาระโรงพยาบาล ระดับ A และ S
Executive summary 2557
7. จักษุ
เป้าประสงค์
1. ลดการตาบอดจากโรคตาต้อกระจก (Blinding cataract)
2. เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและการรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา (Diabetes Retinopathy)ให้
มากขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
3. ลดการส่งต่อโรคตานอกเขต (Regional refer out) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
วิธีการ
1. การคัดกรองต้อกระจกเชิงรุก ในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ รพ.สต.ทุกแห่ง พร้อมกัน 7 จังหวัด
2. ลดการรอคิวการผ่าตัด โดยเพิ่มการผ่าตัดใน รพช. แม่ข่าย (node) อย่างน้อย 20 แห่ง โดยแบ่ง
ผู้รับผิดชอบ 3 ทีม คือ ทีมที่ 1 อุดรธานี บึงกาฬ ทีมที่ 2 สกลนคร นครพนม และทีมที่ 3 หนองบัวลาภู
เลย หนองคาย อย่างน้อย 23,000 ดวงตา โดยไม่ต้องใช้ในส่งตัว (refer)
3. คัดกรองโรคตา (AMD และ DR) ในผู้ป่วยเบาหวาน หากพบความผิดปกติส่งต่อไปรักษาที่หน่วยบริการ
ระดับสูงกว่า ต่อไป
4. รพศ.อุดรธานี เพิ่มศักยภาพการรักษาพยาบาล เพื่อลดการส่งต่อออกนอกเขตให้ได้
8. ทันตกรรม
เป้าประสงค์
1. ขยายบริการทันตกรรม ลงสู่รพ.สต.ให้มากขึ้นกว่าปี 2556
2. ทุกหน่วยบริการมีการให้บริการประชาชนทั้งด้านส่งเสริมและรักษามากขึ้น
Executive summary 2557
วิธีการ
1. ทุกโรงพยาบาล ต้องส่งทันตแพทย์หรือทันตาภิบาลออกให้บริการในรพ.สต.ให้ครอบคลุมทุกตาบล อย่าง
น้อยสัปดาห์ละหนึ่งวัน ในปี 2557
2. มีเครื่องมือทันตกรรม ที่มีปริมาณเหมาะสมกับปริมาณงานและบุคลากร และจัดบริการทุกวันเต็มเวลา
เพื่อให้บริการได้ทั่วถึงมากขึ้น
3. มีศักยภาพการให้บริการที่เหมาะสม อาทิ เพิ่มหน่วยบริการที่รักษารากฟันให้มากขึ้นอย่างน้อย 20 แห่ง มี
การทาฟันปลอม การผ่าตัดทางด้านช่องปากเพิ่มมากขึ้น
4. มีเครือข่ายทันตกรรมที่ดูแลเครื่องมือ และมีงานป้องกันการติดเชื้อที่ได้มาตรฐาน
9. สุขภาพจิต
เป้าประสงค์
1. มีการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงจิตเวชที่มีประสิทธิภาพ และมีการจัดบริการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในโรงพยาบาลตั้งแต่
ระดับ F2 ขึ้นไป ให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. มีระบบคัดกรองพัฒนาการเด็กที่มีคุณภาพ ในรพ.สต.ขึ้นไปทุกแห่ง
วิธีการ
1. มีการคัดกรองผู้ป่วยซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยง เช่น กลุ่มโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ
2. มีคลินิกจิตเวชและยาจิตเวชที่จาเป็นจานวน 35 รายการ ในโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไป
3. รพท./รพศ. ทุกแห่ง ยกเว้น รพ.เลย และรพ.นครพนม มี Emergency psychiatric corner และเพิ่มหอ
ผู้ป่วยจิตเวชที่ รพ.หนองบัวลาภู
Executive summary 2557
4. มีการคัดกรองพัฒนาการเด็กเล็กคุณภาพ ทุกหน่วยบริการ โดยเพิ่มวันคัดกรองอีก 2-3 วัน/เดือน ตาม
ปริมาณงาน สาหรับโรงพยาบาลมีการบูรณาการงานผู้ป่วยนอก เวชกรรมสังคม และจิตเวช อยู่ในหน่วย
เดียวกัน และมีคลินิกคุณภาพที่เป็นตัวอย่างได้อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง
5. มีการบูรณาการร่วมกับภาคส่วนอื่นๆ โดยเฉพาะศูนย์เด็กเล็ก ให้มีการคัดกรอง และการพัฒนาเด็กให้มี
คุณภาพมากขึ้น
10. การดูแลผู้ป่วยระยะยาว (Long term care)
เป้าประสงค์
1. มีระบบการดูแลผู้ป่วยระยะยาว (long term care) ในชุมชน ให้ได้รับบริการ ครบถ้วน ต่อเนื่อง
2. มีศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะยาว ในโรงพยาบาล (continuity of care, COC)
วิธีการ
1. ปี 2557 เน้น ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Palliative care) และผู้ป่วยเตียงสาม ในชุมชน
2. จัดตั้งศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะยาวในโรงพยาบาล (continuity of care, COC) ในหน่วยบริการ ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80 และจัดทาคู่มือ ระบบการไหลเวียนของผู้ป่วยจากโรงพยาบาลสู่รพ.สต. และชุมชน และระบบ
การดูแลผู้ป่วยในแบบสหวิชาชีพ
3. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ Long term care link (LTC link) เพื่อใช้ในหน่วยบริการทุกแห่ง
4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร เช่น Long term care manager ระดับ รพ.สต. พัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะ
ทาง LTC 4 เดือน โดยเขตบริการสุขภาพ
5. พัฒนาศักยภาพผู้ดูแล (care giver) และสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคเครือข่าย
Executive summary 2557
11. การเงินการคลัง (Financing)
เป้าประสงค์
1. มีหน่วยบริการที่มีวิกฤติการเงินการคลัง ระดับ 7 ไม่เกิน ร้อยละ 10
2. ระบบบัญชีและข้อมูลต้นทุน มีคุณภาพไม่ต่ากว่าระดับ B
วิธีการ
การดาเนินงานด้านการเงินการคลังของเขตบริการสุขภาพที่ 8 แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ
1. Measuring performance คือ การจัดเตรียมคุณภาพของข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ระบบ
บัญชีเกณฑ์คงค้าง ต้นทุน (unit cost) แผนเงินบารุง และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผลการปฏิบัติงาน
และการเงินการคลังอื่นๆ
2. Analyzing performance คือ การวิเคราะห์ข้อมูลการเงินการคลัง ของหน่วยบริการภายในเขต โดยใช้
วิธีการเทียบเคียงในหน่วยบริการที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน (benchmarking) ในเขตบริการสุขภาพที่ 8
แบ่งหน่วยบริการออกเป็น 11 กลุ่ม ที่ในการเปรียบเทียบ รายรับ รายจ่าย และผลลัพธ์การปฏิบัติงาน
ต่างๆ
3. Driving performance คือ การขับเคลื่อนผลลัพธ์การปฏิบัติงาน สาหรับหน่วยบริการที่ประสบปัญหา
วิกฤติด้านการเงินการคลัง ทางเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้จัดทาโครงการเพิ่มประสิทธิภาพหน่วย
บริการที่มีปัญหาภาวะวิกฤติ (พปง.) ขึ้น เพื่อใช้ในการขับเคลื่อน ผลลัพธ์การปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น
4. Communicating performance คือ การสื่อสารให้ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบงาน รับทราบถึงผลการ
ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อจะได้ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ได้อย่างทันท่วงที
Executive summary 2557
แผนภาพที่ 11 บันได 4 ขั้น ด้านการเงินการคลัง เขตบริการสุขภาพที่ 8
12. จัดซื้อร่วม
เป้าประสงค์
1. จัดซื้อร่วมทั้ง ยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา (ทั่วไปและราคาแพง) วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ วัสดุทันตกรรม
ให้ลดลงทั้งด้านปริมาณการใช้และราคาต่อหน่วย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
วิธีการ
1. มีคณะกรรมการในระดับเขต ที่ศึกษา ต่อรอง ราคา และจัดซื้อร่วม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. มีการเปรียบเทียบราคา ในทุกหน่วยบริการ เพื่อให้ได้ราคาที่เหมาะสมที่สุด
3. พัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการติดตามประเมินผลการดาเนินงาน
-
-Unit cost
-
Measuring
performance
Analyzing
performance
Driving
performance
-Benchmarking
11
-
-FAI
-
-
- Lab
-
1
2
3
Communicating
performance
-Benchmarking
-FAI
-
4
Executive summary 2557
4. มีการทบทวนการใช้ ทั้ง ยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา (ทั่วไปและราคาแพง) วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ วัสดุ
ทันตกรรม ในทุกหน่วยบริการเพื่อให้เกิดการใช้ที่เหมาะสม
5. มีการจัดอบรมเกี่ยวกับการบริหารเวชภัณฑ์ให้เหมาะสม
13. รพ.สต./คปสอ. ติดดาว
เป้าประสงค์
1. บูรณาการงานนโยบายกระทรวงสาธารณสุข กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก เข้าสู่รพ.สต.และคปสอ. โดยใช้กล
ยุทธ์ติดดาว เพื่อสร้างแรงจูงใจในการดาเนินงาน
2. ในปี 2557 ทุก CUP ต้องมีรพ.สต.ที่ผ่านคุณภาพ 3 ดาว ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
วิธีการ
1. มีคณะกรรมการระดับเขตที่ออกแบบหลักเกณฑ์การพัฒนารพ.สต./คปสอ.ติดดาวที่สามารถบูรณาการ
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข และกลยุทธ์ 15 ร่องหลักของเขต เข้าสู่ระดับรพ.สต.และคปสอ.ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2. มีหลักเกณฑ์การประเมินทั้งอิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม ที่สร้างแรงจูงใจในการพัฒนารพ.สต./คปสอ. ได้ใน
ระยะยาว
Executive summary 2557
14. การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
เป้าประสงค์
1. ใน ปี 2557 มีหน่วยบริการ ผ่านการรับรองคุณภาพ (HA) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
วิธีการ
1. สร้างเครือข่ายการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (quality network) ระดับเขตและจังหวัด
2. มีการพัฒนาทีมงานในระดับเขตที่สามารถพัฒนาบุคลากรในหน่วยบริการต่างๆได้ด้วยตนเอง
(in house training act to accreditation)
3. พัฒนาทีมพี่เลี้ยง และสร้างกลไกสนับสนุนแต่ละจังหวัดในการดาเนินงาน
15. ระบบข้อมูลสารสนเทศ
เป้าประสงค์
1. มีระบบข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ใช้ติดตามผลการดาเนินงาน ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและกล
ยุทธ์ 15 ร่องหลัก ได้เป็นอย่างมีประสิทธิภาพ
2. มีนวัตกรรมด้านระบบข้อมูลสารสนเทศที่ทันสมัย
วิธีการ
1. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อใช้ในการติดตามและประเมินผล ตามยุทธศาสตร์กระทรวง
สาธารณสุข กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก และตัวชี้วัด QOF ของ สปสช. ทุกไตรมาส โดยมีห้องควบคุม (Cockpit
room) ที่ทุกหน่วยบริการดูได้จาก www.R8way.com
2. รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยใน (IP individual) ของผู้ป่วยทุกสิทธิ จากทุกหน่วยบริการ ตามรหัส ICD 9 ICD10
เพื่อนามาใช้ในการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน
Executive summary 2557
3. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศในหน่วยบริการ ตามระบบ JHCIS หรือ HosXP ในกลุ่ม 1) EPI, 2) ANC
และ 3) DM&HT ให้ครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75
4. สร้างนวัตกรรมของระบบข้อมูลสารสนเทศ สาหรับผู้ปฏิบัติงาน ให้มีความสะดวก คล่องตัวมากขึ้น เช่น
Application เยี่ยมบ้าน ในมือถือของเจ้าหน้าที่ เป็นต้น
4. กาลังคน (People)
การพัฒนากาลังคน (Human resource development) และการจัดการกาลังคน (Human resource
management) เป็นปัจจัยที่สาคัญสาหรับการดาเนินงานของเขตบริการสุขภาพที่ 8 โดยมีรายละเอียดดังนี้
4.1 การจัดการกาลังคน (Human resource management)
ในเบื้องต้นเขตบริการสุขภาพให้ความสาคัญกับการจัดสรรตาแหน่งข้าราชการและนักเรียนทุนให้แต่ละจังหวัด
หลังจากนั้นจะมอบให้แต่ละจังหวัดจัดสรรภายในจังหวัดต่อไป โดยมีหลักเกณฑ์หรือกรอบการพิจารณา ดังนี้
1. จานวนพนักงานปฏิบัติงานเต็มเวลาเมื่อเทียบกับเวลามาตรฐานการทางาน (Full Time Equivalent,
FTE) ปี 2555 เป็นหลัก
2. สัดส่วนต่อประชากร และสัดส่วนต่อผลิตภาพ (productivity)
3. หลักเกณฑ์อื่นๆ เช่น โรงพยาบาลเปิดใหม่ หรือจังหวัดใหม่ ที่ขาดบุคลากรจานวนมาก เป็นต้น
Executive summary 2557
แผนภาพที่ 12 สัดส่วนกาลังคนเทียบกับ FTE ทุกวิชาชีพ ตามระดับของโรงพยาบาล ปี 2556
แผนภาพที่ 13 ผลิตภาพต่อบุคลากร ตามระดับของโรงพยาบาล ปี 2556
หมายเหตุ : ผลิตภาพ (productivity ปรับเปลี่ยนหน่วย OP visit และ RW ของ IPD รวมเป็นหน่วย RW)
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
Watcharin Chongkonsatit
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
Dashodragon KaoKaen
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
tassanee chaicharoen
 
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่นร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
Tar Bt
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
Sambushi Kritsada
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
Yanee Tongmanee
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
 

Was ist angesagt? (20)

3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEdit
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEditกลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEdit
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEdit
 
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่นร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
เศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพ
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 

Andere mochten auch

4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
Watcharin Chongkonsatit
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
softganz
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
Watcharin Chongkonsatit
 

Andere mochten auch (19)

WHO Building Blocks_
WHO Building Blocks_WHO Building Blocks_
WHO Building Blocks_
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอหนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
 
TAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทย
TAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทยTAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทย
TAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทย
 
Service plan สาขา ไต 8 สิงหาคม 2557 ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ
Service plan สาขา ไต 8 สิงหาคม 2557 ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะService plan สาขา ไต 8 สิงหาคม 2557 ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ
Service plan สาขา ไต 8 สิงหาคม 2557 ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ
 
Dhs บรรยายมหาวิทยาลัยคริสเตียน
Dhs บรรยายมหาวิทยาลัยคริสเตียนDhs บรรยายมหาวิทยาลัยคริสเตียน
Dhs บรรยายมหาวิทยาลัยคริสเตียน
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
DHML นพ ทวีเกียรติ
DHML  นพ ทวีเกียรติDHML  นพ ทวีเกียรติ
DHML นพ ทวีเกียรติ
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
Sawanpracharak Triage Scale
Sawanpracharak Triage ScaleSawanpracharak Triage Scale
Sawanpracharak Triage Scale
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
 

Ähnlich wie R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8

การขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ
การขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศการขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ
การขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ
Utai Sukviwatsirikul
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
taem
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
taem
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรม
Sirirat Channok
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
Met Namchu
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
taem
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
anira143 anira143
 

Ähnlich wie R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8 (20)

2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry
 
2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry
 
การขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ
การขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศการขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ
การขนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
สมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdf
สมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdfสมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdf
สมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdf
 
ลองของ
ลองของลองของ
ลองของ
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรม
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 600 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
 
Prework coaching
Prework coachingPrework coaching
Prework coaching
 
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดย ดร.ดนัย เทียนพุฒ
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
 
Educate21 4
Educate21 4Educate21 4
Educate21 4
 
coaching
coachingcoaching
coaching
 

Mehr von Dr.Suradet Chawadet

Mehr von Dr.Suradet Chawadet (13)

AI for primary healthcare
AI for primary healthcareAI for primary healthcare
AI for primary healthcare
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
 
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
 
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciationการเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
 
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
 
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
 
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
 
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวการสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม
 
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDOความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
 
โรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรมโรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรม
 

R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8

  • 2. บรรณาธิการ ดร.นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี กองบรรณาธิการ นส.สุภาภรณ์ โคตรมณี ,นายเจนวิทย์ เขตเจริญ ,นายสุรชัย รสโสดา , นางภัสธิยะกุล ชาวกะมุด ,นายคฑาวุธ เยี่ยงแก้ว,นส.รัชชดา สุขผึ้ง, นางรุ่งทิพย์ เอกพงษ์ ,นางอรัญญา สุริยจันทร์ , ภญ.ปิยวรรณ วิมลชัยฤกษ์, นส.พิมพ์พร ดาศักดิ์ ,นางรัชนี คอมแพงจันทร์ ,นส.นพเก้า พิมพ์พาพ์ นางอนิสสา เกตุกาเนิด,นายพลพีร์ พรศิรธนานันต์,นางนิ่มนวล ไขแสงจันทร์, นายสุรชัย คลังชานาญ ออกแบบโดย นส.ณัฐจิรัตนันท์ โสตะวงศ์ สานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8 เลขที่ 4 ถ.อธิบดี ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 โทรศัพท์ 042-222356 ต่อ 133,137 โทรสาร 042-221875 Email : R8office@gmail.com , Facebook Fan page : R8way , www.R8Way.com พิมพ์ที่ 1 จานวน 500 เล่ม
  • 3. กExecutive summary 2557 คานา ในปี 2557 กระทรวงสาธารณสุข ได้ปฏิรูประบบบริหารจัดการใหม่ โดยการปรับบทบาทของกระทรวงสาธารณสุขให้เป็น National Health Authority และปรับโครงสร้างการบริหารจัดการเป็นรูปแบบเขตบริการสุขภาพ ที่ครอบคลุม 4-8 จังหวัด ประชากร ประมาณ 4-5 ล้านคน แบ่งเป็น 12 เขต โดยมอบหมายให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้ประธานคณะกรรมการเขต บริการสุขภาพ (Chief Executive Officer, CEO) และมีตัวแทนจาก หน่วยบริการระดับต่างๆ เป็นคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ (Service Provider Board) และยังได้จัดตั้งสานักงานเขตบริการสุขภาพอีก 12 แห่ง มาเพื่อรองรับการดาเนินงานดังกล่าว จุดมุ่งหมาย หลักครั้งนี้ เพื่อปรับบทบาทหน้าที่และกลไกการดาเนินงานของทุกกระทรวงสาธารณสุขให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และเข้าถึงบริการที่จาเป็น ไร้รอยต่อ โดยใช้วิธีการจัดบริการ "ร่วม" ซึ่งมีเครื่องมือหลัก คือ ผังบริการ (service plan) เพื่อให้ประชาชนในแต่ละเขตพื้นที่ เข้าถึงบริการสุขภาพอย่างดีสุด ในการนี้ เขตบริการสุขภาพที่ 8 ที่ครอบคลุมพื้นที่ 7 จังหวัด ได้แก่ อุดรธานี สกลนคร นครพนม เลย หนองบัวลาภู หนองคาย และบึงกาฬ จึงได้วางกลยุทธ์ R8 Way หรือวิถีการดาเนินงานด้านระบบสุขภาพของเขตบริการสุขภาพที่ 8 เพื่อเป็นกรอบ การปฏิบัติงาน โดยมีค่านิยมขององค์กร (core value) คือ เพิ่มการเข้าถึงบริการ ที่มีคุณภาพ (Access, Quality, Efficiency และ Seamless, AQES) มีรูปแบบการบริหารจัดการ (operating model) 4Ps คือ Planning, People, Process และ Performance ในการ ขับเคลื่อนเขต R8 way ประกอบด้วย กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก ได้แก่ 5 รุก 5 รับ 5 สนับสนุน มีระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ของการ ปฏิบัติงาน โดยการเทียบเคียง (benchmarking) ด้วยระบบข้อมูลสารสนเทศ (cockpit) โดยมุ่งหวังว่าจะเป็นแนวทางการดาเนินงานให้ ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ สามารถดาเนินงานได้อย่างเป็นเอกภาพ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายในการปฏิรูประบบ บริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข และมุ่งหวังให้พี่น้องประชาชน ในเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้รับบริการที่ดีขึ้น สามารถเข้าถึง บริการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ แบบไร้รอยต่อ อย่างยั่งยืนต่อไป นพ.สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย ประธานคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8
  • 4. ขExecutive summary 2557 สารบัญ คานา..................................................................................................................................................................................................ก สารบัญ..............................................................................................................................................................................................ข สารบัญแผนภาพ.................................................................................................................................................................................ง สารบัญตาราง ...................................................................................................................................................................................จ 1. บทนา.............................................................................................................................................................................................1 2. เขตบริการสุขภาพที่ 8...................................................................................................................................................................3 2.1 ข้อมูลทั่วไป...........................................................................................................................................................................3 2.2 คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8................................................................................................................................4 2.3 สานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8........................................................................................................................................6 2.4 การจัดหน่วยบริการตามแผนพัฒนางานบริการ (service plan) มีดังนี้........................................................................10 2.5 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร และรูปแบบการบริหารจัดการ.................................................................................11 3. กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก (Planning)...............................................................................................................................................13 4. กาลังคน (People)....................................................................................................................................................................33 4.1 การจัดการกาลังคน (Human resource management)...............................................................................................33
  • 5. คExecutive summary 2557 4.2 การพัฒนากาลังคน (Human resource development) ..............................................................................................36 4.3 การติดต่อสื่อสาร (communication)...............................................................................................................................37 5. กระบวนการทางาน (Process)..................................................................................................................................................39 6. การวัดผลการดาเนินงาน (Performance appraisal)............................................................................................................44 7. บทสรุป........................................................................................................................................................................................47 ภาคผนวก ก : รายชื่อคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8 อุดรธานี......................................................................................49 ภาคผนวก ข : รายชื่อเจ้าหน้าที่สานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2557..............................................................................51 ภาคผนวก ค : การจัดระดับหน่วยบริการตามแผนพัฒนางานบริการ เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2557................................53 ภาคผนวก ง : หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรตามกลยุทธ์ 15 ร่องหลัก เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2557.................................55
  • 6. งExecutive summary 2557 สารบัญแผนภาพ แผนภาพที่ 1 จังหวัดในเขตบริการสุขภาพที่ 8................................................................................................................................3 แผนภาพที่ 2 โครงสร้างสานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8..............................................................................................................4 แผนภาพที่ 3 จานวนหน่วยบริการระดับต่างๆ เขตบริการสุขภาพที่ 8.......................................................................................10 แผนภาพที่ 4 ค่านิยมองค์กร เขตบริการสุขภาพที่ 8...................................................................................................................11 แผนภาพที่ 5 รูปแบบการบริหารจัดการ เขตบริการสุขภาพที่ 8 ................................................................................................12 แผนภาพที่ 6 การขับเคลื่อนการทางาน เขตบริการสุขภาพที่ 8..................................................................................................13 แผนภาพที่ 7 การกาหนดกลยุทธ์ ปี 2557 เขตบริการสุขภาพที่ 8.............................................................................................16 แผนภาพที่ 8 กลยุทธ์เชิงรุก (order to winner strategies)........................................................................................................17 แผนภาพที่ 9 กลยุทธ์เชิงรับ (order to qualifier strategies).....................................................................................................18 แผนภาพที่ 10 กลยุทธ์สนับสนุน (supporting rting strategies) ..............................................................................................18 แผนภาพที่ 11 บันได 4 ขั้น ด้านการเงินการคลัง เขตบริการสุขภาพที่ 8.................................................................................30 แผนภาพที่ 12 สัดส่วนกาลังคนเทียบกับ FTE ทุกวิชาชีพ ตามระดับของโรงพยาบาล ปี 2556...............................................34 แผนภาพที่ 13 ผลิตภาพต่อบุคลากร ตามระดับของโรงพยาบาล ปี 2556................................................................................34 แผนภาพที่ 14 หลักสูตรการพัฒนาบุคลากร เขตบริการสุขภาพที่ 8.........................................................................................37 แผนภาพที่ 15 การสื่อสาร เขตบริการสุขภาพที่ 8.......................................................................................................................38 แผนภาพที่ 16 กระบวนการทางาน 7 building blocks เขตบริการสุขภาพที่ 8.......................................................................40 แผนภาพที่ 17 การวัดผลการดาเนินงาน 15 กลยุทธ์ เขตบริการสุขภาพที่ 8...........................................................................45
  • 7. จExecutive summary 2557 แผนภาพที่ 18 การเทียบเคียง (benchmarking) ผลการดาเนินงาน เขตบริการสุขภาพที่ 8...................................................46 แผนภาพที่ 19 ตัวอย่างการติดตามและประเมินผล โดย R8 Way Cockpit...............................................................................47 สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ข้อมูลการสูญเสียปีสุขภาวะของประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2552..............................................................14 ตารางที่ 2 การส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการนอกเขต เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2554-2556...........................................................14 ตารางที่ 3 รายรับงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เขต 7 8 9 และ 10 ปี 2557............................................15 ตารางที่ 4 อัตรากาลังตามวิชาชีพที่มีอยู่เทียบกับกรอบ (Human rource development)....................................................35 ตารางที่ 5 กระบวนการดาเนินงาน 7 building blocks สาขาจักษุ เขตบริการสุขภาพที่ 8......................................................41
  • 8. Executive summary 2557 1. บทนา ระบบสุขภาพของไทยในปัจจุบันยังไม่สามารถทาให้ประชาชนมีสุขภาพดีโดยถ้วนหน้าได้ เพราะคนไทยยัง เจ็บป่วยล้มตายโดยโรคไม่จาเป็นเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะจาก โรคหัวใจ อุบัติเหตุ เอดส์ ติดสารเสพย์ติด มะเร็ง โรคจาก การประกอบอาชีพ โรคเรื้อรังต่างๆ ซึ่งโรคและปัญหาเหล่านั้น ส่วนใหญ่ล้วนป้องกันได้ แต่อาจไม่สามารถแก้ไขได้หรือได้ผล น้อย หากรอให้เจ็บป่วยด้วยโรคเหล่านั้นไปแล้ว ที่สาคัญ คนไทยใช้เงินเพื่อสุขภาพสูงมากแต่กลับได้ผลตอบแทนต่า เพราะเราใช้เงินเพื่อซ่อมสุขภาพเป็นส่วนใหญ่ ในปี 2556 ประเทศไทยใช้จ่ายเรื่องสุขภาพประมาณ 250,000 ล้านบาท โดยค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นด้วยอัตรากว่า ร้อยละ 10 ต่อปี ขณะที่เรากาลังเดินเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย ยารักษาโรคใหม่ๆ แต่มีราคาแพงมากขึ้น หมายความว่า เรากาลังวิ่งเข้าไปสู่สภาวะวิกฤตด้านการเงินการคลัง ทั้งนี้ส่วนหนึ่งเกิดจากระบบบริการสุขภาพ (health care service) ที่ยังขาดประสิทธิภาพ คุณภาพ การเข้าถึงบริการที่จาเป็น ก่อให้เกิดเป็นความทุกข์ทั้งฝ่ายผู้ให้และผู้รับบริการ ด้วยเหตุนี้กระทรวงสาธารณสุข จึงมีนโยบายที่สาคัญ คือ การปฏิรูประบบบริการสุขภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยทุกคน สามารถเข้าถึงบริการ ที่มีคุณภาพ ขณะเดียวกันก็มีการบริหารจัดการระบบที่มีประสิทธิภาพ แบบไร้รอยต่อ โดยมีแนวทางใน การดาเนินการ ดังนี้ 1. การปรับระบบสาธารณสุขระดับชาติ 1.1 การกากับ ควบคุม ดูแลระบบที่กาหนดนโยบายด้านสาธารณสุข (National Health Authority: NHA) 1.2 สร้างกลไกในการกาหนดและผลักดันนโยบายในรูปของคณะกรรมการนโยบายสาธารณสุขระดับชาติ (National Health Policy Board: NHPB)
  • 9. Executive summary 2557 2. การปรับบทบาทภารกิจกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง) 2.1 ปรับบทบาทภารกิจกระทรวงสาธารณสุข เพื่อรองรับ National Health Authority 2.2 ปรับบทบาทภารกิจสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานระดับกรม ให้สอดคล้องกับ ภารกิจใหม่ของกระทรวงฯตามภารกิจด้าน Regulator และ Support Provider และจัดตั้งหน่วยงานกลาง รองรับ National Health Authority ใน 12 บทบาทใหม่ 3. การปรับบทบาทภารกิจกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนภูมิภาค) 3.1 จัดตั้งเขตบริการสุขภาพที่ 1-12 และเขตกรุงเทพฯ เพื่อ  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร โดยการใช้ทรัพยากรร่วมกัน  เพิ่มศักยภาพ คุณภาพ ของหน่วยบริการในเขตบริการสุขภาพ  พัฒนาระบบการส่งต่อให้ดีขึ้น  มีการกาหนด KPIs เพื่อการกากับ ติดตามและประเมินผลที่ชัดเจน (Greater accountability by setting KPIs) 3.2 ตั้งคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ (Area Health Board) เพื่อความร่วมมือการทางานระหว่าง ผู้ซื้อบริการและผู้จัดบริการในการวางแผนการซื้อและการจัดบริการ ด้วยเหตุนี้ เขตบริการสุขภาพที่ 8 ซึ่งดูแลสุขภาพ ประชาชนใน 7 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ได้แก่ เลย หนองบัวลาภู อุดรธานี หนองคาย สกลนคร บึงกาฬ และนครพนม จึงได้วางยุทธศาสตร์ในการดาเนินงานด้านบริการ (service plan) ที่เรียกว่า R8 Way หรือ วิถีการดาเนินงาน ด้านระบบบริการสุขภาพสาหรับเขตบริการสุขภาพที่ 8 เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปของกระทรวงสาธารณสุขโดย มุ่งหวังว่าจะเป็นแนวทางการดาเนินงานให้กับผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ ในการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขให้กับพี่น้องประชาชน
  • 10. Executive summary 2557 ในเขตบริการสุขภาพที่ 8 สามารถเข้าถึงบริการ (Access) ที่มีคุณภาพ (Quality )ประสิทธิภาพ (Efficiency) แบบไร้รอยต่อ (Seamless) อย่างยั่งยืน ต่อไป 2. เขตบริการสุขภาพที่ 8 2.1 ข้อมูลทั่วไป เขตบริการสุขภาพที่ 8 ประกอบด้วย 7 จังหวัด ตั้งอยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ได้แก่ อุดรธานี สกลนคร นครพนม เลย หนองบัวลาภู หนองคาย และบึงกาฬ ประกอบไปด้วย 89 อาเภอ 644 ตาบล 7,430 หมู่บ้าน 1,438,965 หลังคาเรือน ในปี 2556 มีประชากรทั้งสิ้น 5,491,263 คน แยกเป็นชาย 2,745,534 คน หญิง 2,745,729 คน แผนภาพที่ 1 จังหวัดในเขตบริการสุขภาพที่ 8
  • 11. Executive summary 2557 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอก 5 อันดับแรก ในปี 2556 ได้แก่ โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบย่อยอาหารรวม ในช่องปาก โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตาบอลิซึม โรคระบบกล้ามเนื้อรวมโครงสร้างและเนื้อยึดเสริม และโรค ระบบไหลเวียนเลือด สาเหตุการเสียชีวิต 5 อันดับแรก ในปี 2556 ของประชาชนในเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้แก่ มะเร็งและ เนื้องอกทุกชนิด โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็งตับ และโรคเบาหวาน 2.2 คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8 คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ประกอบด้วย ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธาน มีผู้อานวยการ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ 8 ผู้อานวยการสานักงานควบคุมและป้องกันโรคที่ 6 ผู้อานวยการวิทยาลัยพยาบาลพระบรม ราชชนนี อุดรธานี ผู้อานวยการศูนย์อนามัย ที่ 6 และผู้อานวยการสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่ 8 อุดรธานี เป็น ที่ปรึกษา มีนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ผู้อานวยการโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ทุกจังหวัด ตัวแทนผู้อานวยการ โรงพยาบาลชุมชน ตัวแทนสาธารณสุขอาเภอ ตัวแทนผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) ตัวแทน หน่วยบริการของกรมอื่นๆ และผู้อานวยการสานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8 เป็นกรรมการและเลขานุการ จานวน 31 คน โดยมีรายชื่อของคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8 ดังในภาคผนวก ก โดยคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ มีบทบาท และหน้าที่ (ตามคาสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 1449/2556) ดังนี้ 1. บริหารเขตแบบบูรณาการสมบูรณ์เบ็ดเสร็จ ไร้รอยต่อที่มีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียมและเป็นธรรม 2. พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ในระบบฐานรากของการมีส่วนร่วมรับผิดชอบระบบบริการสุขภาพของหน่วย บริการที่เกี่ยวข้องทุกระดับ เพื่อประชาชนมีสุขภาพดี 3. อนุมัติแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ อนุมัติแผนจัดสรรทรัพยากร งบประมาณ กาลังคน การลงทุน (ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง) ในเขต
  • 12. Executive summary 2557 4. อานาจบริหารงานบุคคลของหน่วยงานในเขต โดยให้ความเห็นชอบต่อข้อเสนอของประธาน ในการลงนาม คาสั่งแต่งตั้ง โยกย้าย และพิจารณาความดีความชอบในอานาจที่เกินอานาจของจังหวัด ตามที่ได้รับมอบ อานาจจากปลัดกระทรวงสาธารณสุข 5. ให้ความเห็นชอบให้ประธานคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ดาเนินการออกคาสั่ง/ระเบียบทางการบริหาร (การเงิน/การบุคคล) ในระดับเขตบริการสุขภาพ ตามที่ได้รับมอบอานาจจากปลัดกระทรวงสาธารณสุข 6. ให้ความเห็นชอบให้ประธานคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ดาเนินแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา/ คณะอนุกรรมการ/คณะทางาน/พร้อมอานาจในการถอดถอน/ลงโทษ ในระดับเขตบริการสุขภาพ ตามที่ได้รับ มอบอานาจจากปลัดกระทรวงสาธารณสุข 7. ให้ความเห็นชอบให้ประธานคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ดาเนินการจัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานบริการ ในเขต ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด 8. ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถจัดการระบบ บริการสุขภาพ ที่สอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการบริการสุขภาพที่กระทรวงกาหนด 9. กาหนดรูปแบบวิธีการจัดเครือข่ายบริการภายในเขต เช่น One Hospital, One Province, One Regional, One Business เป็นต้น 10. ให้ความเห็นชอบประกาศสานักงานเขต ในการแบ่งส่วนภายในสานักงานเขต เป็นกลุ่มงานหรือหน่วยงานที่ เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่ากลุ่มงาน 11. พิจารณาให้กรรมการพ้นจากตาแหน่ง เพราะบกพร่องต่อหน้าที่ ทาให้เสื่อมเสียต่อเขตหรือหย่อนความสามารถ
  • 13. Executive summary 2557 12. กรรมการมีอานาจเสนอวาระเข้าที่ประชุม โดยกรรมการ 1 ใน 3 สามารถเสนอเรื่องเข้าวาระการประชุม ถ้ามติ ที่ประชุมเสียงส่วนใหญ่เกินกว่ากึ่งหนึ่ง จะมีผลในทางปฏิบัติ 13. พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบงานด้านบริการของสานักงานเขตบริการสุขภาพ ตามที่สานักงาน เขตบริการสุขภาพเสนอ 14. พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบงานด้านวิชาการของสานักงานเขตบริการสุขภาพ ตามที่สานักงาน เขตบริการสุขภาพเสนอ 15. พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบงานด้านงบประมาณของสานักงานเขตบริการสุขภาพ ตามที่ สานักงานเขตบริการสุขภาพเสนอ 16. พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบงานด้านบริหารบุคคลของสานักงานเขตบริการสุขภาพ ตามที่ สานักงานเขตบริการสุขภาพเสนอ 17. พิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบงานด้านบริหารทั่วไปของสานักงานเขตบริการสุขภาพ ตามที่ สานักงานเขตบริการสุขภาพ เสนอ 18. อานาจหน้าที่อื่น ๆ ตามที่กระทรวงกาหนด 2.3 สานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8 สานักงานเขตบริการสุขภาพ ที่ 8 เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลาง มีฐานะเทียบเท่ากอง มีที่ตั้งอยู่ เลขที่ 4 ถนน อธิบดี ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 ชั้น 3 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่ (ตามคาสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 1449/2556) ดังนี้
  • 14. Executive summary 2557 1. สานักงานเลขานุการการบริหารงานของคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ (service provider board) 2. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนายุทธศาสตร์เขตบริการสุขภาพ บนฐานข้อมูลและฐานความรู้ แผนปฏิบัติ การและเป้าหมายการดาเนินงาน ให้สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของประเทศตามนโยบาย รัฐบาล และกระทรวงสาธารณสุข 3. วิเคราะห์การจัดตั้งคาของบประมาณ บริหารจัดการงบประมาณขาลง ติดตาม กากับ เร่งรัดและรายงานผลการใช้ งบประมาณในภาพรวมเขตบริการสุขภาพ วางระบบและแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานในเขต บริการสุขภาพรับ ทราบ กากับการเบิกจ่ายงบประมาณของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพให้เป็นไปตามกฎหมาย และหลักเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ 4. ประสานงานการบริหารอัตรากาลัง ปรับเกลี่ยจัดสรรให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์กลาง ประสานการบริหารงานบุคคล เป็นแกนกลางในการบริหารบุคลากรจากกรมต่างๆ ที่ปฏิบัติงานในเขตบริการสุขภาพ โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ 5. บริหารจัดการระบบบริการในระดับเขตบริการสุขภาพให้เกิดประสิทธิภาพ มีคุณภาพได้มาตรฐานและสร้างความ เป็นธรรม 6. บริหารจัดการระบบบริการในระดับเขตบริการสุขภาพ กาหนดหลักเกณฑ์ และแนวทางการจัดสรรทรัพยากรด้าน สุขภาพเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการในเขตบริการสุขภาพให้แก่หน่วยงานในเขตบริการ สุขภาพที่ สอดคล้องตามบริบทของพื้นที่ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ
  • 15. Executive summary 2557 7. กากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบการจัดสรร และการปรับเกลี่ยทรัพยากรด้านสุขภาพระหว่างหน่วยงานในเขตบริการ สุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ประหยัด คุ้มค่าและสมประโยชน์ต่อราชการ โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ 8. กากับ ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์ และรายงานผลการดาเนินการของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพต่อ คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ โดยกลไกการตรวจราชการและนิเทศงาน ร่วมกับกลไกการตรวจประเมินโดย หน่วยงานภายในและภายนอก (Internal & External Audit) 9. กากับดูแลหน่ายงานในเขต ให้เป็นตามกฎระเบียบ และเป็นผู้แทนในการบังคับใช้กฎ ระเบียบต่างๆ 10. ส่งเสริมหรือสนับสนุนให้เกิดการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย รวบรวมข้อมูลข่าวสาร จัดทาระบบข้อมูลและฐานความรู้ด้าน การสาธารณสุขในเขตบริการสุขภาพ ให้เป็นระบบเดียว มีคุณภาพ ใช้งานได้ 11. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การวิจัยและพัฒนารูปแบบพัฒนากลไกการเฝ้าระวังและป้องกันโรค ภัยสุขภาพ และ ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินในเขตบริการสุขภาพ 12. ดาเนินการและประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การวิจัยและพัฒนารูปแบบ พัฒนาระบบการกากับติดตาม และ ประเมินผลของหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนที่เกี่ยวข้องกับระบบบริการสุขภาพในเขตบริการสุขภาพ 13. จัดระบบการประเมินผลและรับรองมาตรฐานบริการต่างๆ ของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ 14. เป็นศูนย์ประสานงานความร่วมมือกับภาคีต่างๆ ระหว่างเขตบริการสุขภาพ เขตบริการสุขภาพกับส่วนกลาง ทั้ง ภายใน/นอกกระทรวงสาธารณสุข 15. เป็นศูนย์ดาเนินการเกี่ยวกับการร้องเรียนร้องทุกข์ ทั้งด้านการคุ้มครองผู้บริโภค การบริการ การบริหาร และการ ปฏิบัติราชการ
  • 16. Executive summary 2557 16. ประสานงาน ส่งเสริมการดาเนินงานของคณะอนุกรรมการ และคณะทางานของคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ 17. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในฐานะสานักงานผู้แทนกระทรวงสาธารณสุขใน เขตบริการสุขภาพ 18. ปฏิบัติหน้าที่อื่นเกี่ยวกับกิจการภายในเขตบริการสุขภาพ ที่มิได้ระบุให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใดโดยเฉพาะ อานาจหน้าที่อื่นๆที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด แผนภาพที่ 2 โครงสร้างสานักงานเขตบริการสุขภาพที่ 8 โดยมีรายชื่อของผู้ปฏิบัติทั้งเต็มเวลา (full time) และบางเวลา (part time) ดังในภาคผนวก ข
  • 17. Executive summary 2557 A S M1 M2 F2 F3 P 2 5 2 16 50 13 874 2.4 การจัดหน่วยบริการตามแผนพัฒนางานบริการ (service plan) มีดังนี้ เขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้แบ่งหน่วยบริการเป็นระดับต่างๆ เพื่อให้สามารถจัดบริการให้กับผู้ป่วยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการที่จาเป็นได้โดยง่าย ไม่ต้องเดินทางไกล และเกิดประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการในระยะยาว โดยจาแนกเป็น โรงพยาบาลศูนย์ จานวน 2 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป 5 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 81 แห่ง รวม 88 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 874 แห่ง แผนภาพที่ 3 จานวนหน่วยบริการระดับต่างๆ เขตบริการสุขภาพที่ 8 โดยมีรายชื่อของหน่วยบริการในแต่ละระดับดัง ในภาคผนวก ค
  • 18. Executive summary 2557 2.5 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร และรูปแบบการบริหารจัดการ เขตบริการสุขภาพที่ 8 มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร และรูปแบบการบริหารจัดการ ดังนี้ วิสัยทัศน์ (Vision) : ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง สร้างความเจริญทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน พันธกิจ (Mission) : จัดระบบบริการตั้งแต่ระดับปฐมภูมิจนถึงบริการศูนย์ความเป็นเลิศที่มีคุณภาพ ครอบคลุมและระบบส่งต่อ ที่ไร้รอยต่อ ค่านิยม(Core value) : เขตบริการสุขภาพที่ 8 เพิ่มการเข้าถึงบริการ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ แบบไร้ รอยต่อ (AQES ; Access, Quality, Efficiency, Seamless) แผนภาพที่ 4 ค่านิยมองค์กร เขตบริการสุขภาพที่ 8
  • 19. Executive summary 2557 เขตบริการสุขภาพที่ 8 ยังมีรูปแบบการบริหารจัดการ (operating model) ที่ใช้ในการขับเคลื่อนการทางานทั้ง 7 จังหวัด โดยใช้หลัก 4Ps คือ 1. Planning คือ การเน้นการวางแผนกลยุทธ์อย่างเป็นระบบ โดยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ของระบบบริการ และปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญของพี่น้องประชาชน ทั้ง 7 จังหวัด 2. People คือ การเน้นการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการดาเนินงานเพื่อตอบสนองต่อ กลยุทธ์ของเขตบริการสุขภาพ 3. Process คือ การเน้นกระบวนการทางานอย่างเป็นระบบ (systematic approaches) ครบถ้วนทุกองค์ประกอบ 4. Performance คือ การติดตามและประเมินผลลัพธ์การปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และ ยั่งยืน ต่อไป แผนภาพที่ 5 รูปแบบการบริหารจัดการ เขตบริการสุขภาพที่ 8 PERFORMANCE PROCESS PEOPLE PLANNING
  • 20. Executive summary 2557 ไม่เพียงเท่านั้น เขตบริการสุขภาพที่ 8 ยังได้ออกแบบการทางานโดยใช้เครือข่ายวิชาชีพ ร่วมผลักดันงานตามกล ยุทธ์หลัก ร่วมกับการทางานแบบแนวดิ่งที่มีผู้รับผิดชอบกลยุทธ์ 15 ร่องหลัก เพื่อให้เกิดการประสานงาน สนับสนุนให้มีการ ทางานอย่างเป็นเอกภาพ และตอบสนองต่อกลยุทธ์ 15 ร่องหลัก ให้มากที่สุด แผนภาพที่ 6 การขับเคลื่อนการทางาน เขตบริการสุขภาพที่ 8 3. กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก (Planning) กลยุทธ์การดาเนินงานนั้น คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้นานโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และข้อมูล ต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อมาวิเคราะห์ บริบท และสภาพปัญหา ของเขตบริการสุขภาพที่ 8 อาทิ  ยุทธศาสตร์การดาเนินงานและตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข 44 ตัว  ข้อมูลการสูญเสียปีสุขภาวะ ของประชาชนในเขตบริการสุขภาพที่ 8  การส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการนอกเขต ปี 2556  รายรับงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เปรียบเทียบกับเขตอื่นๆ ปี 2556 LEADERSHIP 15 7 Building blocks
  • 21. Executive summary 2557 ตารางที่ 1 ข้อมูลการสูญเสียปีสุขภาวะของประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2552 อันดับที่ ชาย ปีสุขภาวะ หญิง ปีสุขภาวะ 1 มะเร็งตับ 1,670 เบาหวาน 2,941 2 อุบัติเหตุ 1,435 มะเร็งตับ 1,005 3 เบาหวาน 1,321 ซึมเศร้า 1,004 ที่มา IHPP สปสช. สสส. ตารางที่ 2 การส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการนอกเขต เขตบริการสุขภาพที่ 8 ปี 2554-2556 ปี จานวนผู้ป่วย Adj RW จานวนเงิน(ล้านบาท) 2554 24,838 73,499.9 686 2555 26,048 73,479.8 618 2556 29,607 55,600.9 507 หมายเหตุ ปี 2556 ประมาณการ 12 เดือน จากตัวเลขจริง 10 เดือน
  • 22. Executive summary 2557 ตารางที่ 3 รายรับงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เขต 7 8 9 และ 10 ปี 2557 ประเภทเงินที่เบิกจ่าย เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 1. กองทุนผู้ป่วยนอก 1,060.64 1,010.96 1,020.89 1,004.93 1. กองทุนผู้ป่วยใน 1,059.37 781.07 870.72 914.42 3. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 260.48 258.63 254.46 250.41 ประเภทเงินที่เบิกจ่าย เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 4. กองทุน central reimbursement 291.45 143.49 163.41 198.08 5. งบค่าเสื่อม 129.75 117.57 115.25 115.98 6. กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 13.37 13.32 13.72 13.30 7. เงินช่วยเหลือหน่วยบริการ ม. 41 5.39 6.38 4.11 3.29 8. งบบริการเพิ่มสาหรับหน่วยบริการต้นทุน สูง 0.77 3.85 0.11 13.83 9. งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ 4.89 4.83 4.87 4.80 10. เงินช่วยเหลือผู้ให้บริการ 0.08 0.09 0.14 0.07 11. งบแพทย์แผนไทย 10.86 7.89 8.71 9.17 รวม 2,765.04 2,348.08 2,456.39 2,528.25
  • 23. Executive summary 2557 จากข้อมูลต่างๆ พบว่าเขตบริการสุขภาพที่ 8 มีปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญ คือ มะเร็งตับและท่อน้าดี เบาหวาน อุบัติเหตุ และโรคซึมเศร้า มีการส่งผู้ป่วยไปรับการรักษานอกเขตค่อนข้างมาก สูญเสียค่าใช้จ่ายกว่า ปีละ 600 ล้านบาท และยังมีรายรับจากกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (UC) ต่าที่สุด เมื่อเทียบกับเขตบริการสุขภาพอื่นๆ จึงได้นาข้อมูล เหล่านี้มาจัดลาดับความสาคัญ และกาหนดเป็นกลยุทธ์การดาเนินงาน 6 ประเด็น ของเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้แก่ 1) มะเร็งท่อน้าดีและตับ 2) โรคต้อกระจก 3) การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 4) รพ.สต./คปสอ. ติดดาว 5) ความถูกต้องและ คุณภาพของระบบบัญชี และ 6) ระบบข้อมูลสารสนเทศ แล้วนามาผนวกรวมกับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขปี 2557 เพื่อเป็นกลยุทธ์การดาเนินงานของเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้เป็น กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก : 5 รุก 5 รับ และ 5 สนับสนุน แผนภาพที่ 7 การกาหนดกลยุทธ์ ปี 2557 เขตบริการสุขภาพที่ 8 KPIs % %
  • 24. Executive summary 2557 กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก 5 รุก 5 รับ และ 5 สนับสนุน หมายถึง กลยุทธ์เชิงรุก (order to winner strategies) หมายถึง จะทาเรื่องดังกล่าวเพื่อเป็นเลิศ เป็นตัวอย่างให้กับเขตอื่นๆ จานวน 5 กลยุทธ์ กลยุทธ์เชิงรับ (order to qualifier strategies) หมายถึง ทาเรื่องดังกล่าวซึ่งยังเป็นจุดอ่อน ตามให้ทัน ดีให้ได้ จานวน 5 กลยุทธ์ และ กลยุทธ์สนับสนุน (supportive strategies) ซึ่งจะหนุนกลยุทธ์เชิงรุก กลยุทธ์เชิงรับ รวมทั้งยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ให้บรรลุ วัตถุประสงค์ อีก 5 กลยุทธ์ ทั้งนี้คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพที่ 8 ยังได้มอบหมายให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัด รพศ. หรือรพท. หรือศูนย์วิชาการที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละเรื่อง เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนตามกลยุทธ์ ในภาพของเขต ดังนี้ แผนภาพที่ 8 กลยุทธ์เชิงรุก (order to winner strategies) 1) 2) 3) 4) 5) 6
  • 25. Executive summary 2557 แผนภาพที่ 9 กลยุทธ์เชิงรับ (order to qualifier strategies) แผนภาพที่ 10 กลยุทธ์สนับสนุน (supporting rting strategies)
  • 26. Executive summary 2557 โดยแต่ละกลยุทธ์มีเนื้อหาโดยสรุปสาหรับผู้บริหาร ดังนี้ 1. แม่และเด็ก เป้าประสงค์ 1. ลดอัตราการเสียชีวิตของมารดา ให้น้อยกว่า 18:แสนประชากร 2. เพิ่มคุณภาพการดูแลแม่และเด็ก และเพิ่มบริการผู้ป่วยเด็กวิกฤติ NICU และ Sick new born ให้มีมาตรฐาน และเพียงพอ วิธีการ 1. มีระบบการฝากครรภ์ (ANC) คุณภาพ ทั้งภาครัฐและเอกชน (คลินิก) และมีห้องคลอดคุณภาพ ในทุกระดับ หน่วยบริการ โดยมีสูติแพทย์ออกไปดูแลเป็นที่ปรึกษาทุกโรงพยาบาล มีคณะกรรมการ MCH board ที่ ขับเคลื่อนงานแม่และเด็ก อย่างเป็นรูปธรรมทั้งในระดับอาเภอและจังหวัด 2. เพิ่มจานวนเตียง Sick new born ในระดับ M2 และ NICU ในระดับ M1 S และ A ให้เพียงพอ ในอัตรา 1:1,500 การคลอด เพื่อลดการส่งต่ออกนอกเขต ภายใน 2 ปี 3. พัฒนาบุคลากรให้สามารถดูแลงานแม่และเด็กได้อย่างมีคุณภาพ ทั้งหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว 2. อุบัติเหตุและการแพทย์ฉุกเฉิน เป้าประสงค์ 1. มีระบบอุบัติเหตุและการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) โดยเฉพาะด้าน pre-hospital care ที่มีคุณภาพ 2. มีการดูแลผู้ป่วยในห้องฉุกเฉิน (emergency room) ที่มีคุณภาพ เพื่อลดการเสียชีวิตโดยไม่จาเป็น
  • 27. Executive summary 2557 วิธีการ 1. การพัฒนาระบบอุบัติเหตุและการแพทย์ฉุกเฉิน อย่างต่อเนื่อง (continuity quality improvement, CQI)  ทุกโรงพยาบาลมีระบบการดูแลผู้ป่วย และการตรวจสอบคุณภาพการส่งต่อ (referral audit) อย่าง น้อย 6 ระบบ (3H, 3S) ได้แก่ I. 3S: Stroke STEMI SEPSIS II. 3H: High risk in pregnancy, High risk in newborn, High risk in trauma  ทุกโรงพยาบาล สามารถแยก ผู้ป่วยห้องฉุกเฉินเป็น 5 สี ได้อย่างถูกต้อง  โรงพยาบาล ระดับ M1 ขึ้นไป มีการจัดระบบ Probability survival score (PS score) ที่สามารถ นาไปใช้และแปลผลได้  โรงพยาบาลระดับ F1-F3 มีระบบทบทวนเพื่อลดความเสี่ยงคนไข้วิกฤติ (สีแดง) และกึ่งวิกฤติ (สีส้ม-ชมพู) ที่มีคุณภาพและเหมาะสม 2. การพัฒนาบุคลากร  บุคลากรในห้องฉุกเฉินทุกแห่ง ต้องได้รับการอบรมหลักสูตร Advanced Trauma and Life Support (ATLS) ทุกคน ในปี 2557  โรงพยาบาล ระดับ A และ S ต้องมีแพทย์ (staff) ออกตรวจในเวรบ่าย ในวันจันทร์-ศุกร์ วันหยุด และวันนักขัตฤกษ์ ต้องมีแพทย์ออกตรวจทั้งเวรเช้าและบ่าย โรงพยาบาล ระดับ M2 อาจจะเป็น แพทย์ใช้ทุนได้  โรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไปในเวรบ่ายต้องมี OPD นอกเวลาแยกออกจากห้องฉุกเฉิน เพื่อลด ผู้ป่วยสีเขียว
  • 28. Executive summary 2557 3. มีการจัดเครือข่ายอุบัติเหตุและการแพทย์ฉุกเฉินในระดับจังหวัด และมีกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพร่วมกัน 3. โรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไต) 3.1 โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป้าประสงค์ 1. มีระบบการดูแลเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีคุณภาพ 2. มีกระบวนการเพิ่มคุณภาพ (CQI) งานโรคเรื้อรัง ทั้งในชุมชน, รพ.สต., รพช./รพท./รพศ. เพื่อเพิ่มการ เข้าถึงบริการ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ แบบไร้รอยต่อ วิธีการ 1. มีคณะกรรมการโรคเรื้อรังระดับระดับจังหวัด อาเภอ และดาเนินงานเรื่องนี้อย่างเป็นรูปธรรม 2. Case manager และ system manager ทุกระดับต้องถูกพัฒนาและมีกระบวนงานที่เป็น CQI ที่เข้มแข็ง โดยมีระบบบริการที่คุณภาพ กระจายใกล้ชิดชุมชน และชุมชนมีส่วนร่วมมากขึ้น 3. ขยายบริการ Non-drug therapy ในชุมชนภายใต้การจัดการความรู้แบบ Context Base Learning ใน ชุมชน, รพ.สต., คลินิก และรพ.ระดับต่างๆ 4. กระจายผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ไม่มีโรคแทรกซ้อนไป รพ.สต. ให้มากกว่า ปี 2556 5. ตรวจวัดคุณภาพทางคลินิกของผู้ป่วยใน รพ.สต., รพช., ที่อย่างมีหลักฐานเชิงประจักษ์ว่ามี CQI ทั้งผล เลือด ผลความดัน การคัดกรองโรคแทรกซ้อน โดยมีเป้าหมาย รายอาเภอ รายจังหวัด  โดยมีคลินิกโรคเรื้อรัง (NCD) ที่มีคุณภาพ ≥ 80%  ผู้ป่วยเบาหวานสามารถคุมน้าตาลได้ดี ≥ 40%
  • 29. Executive summary 2557  ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถคุมความดันโลหิตได้ดี ≥ 60% 6. มีการกระจายแพทย์อายุรศาสตร์ไปดูแลผู้ป่วยที่มีโรคแทรกซ้อน ที่ รพช. ที่ยังไม่มีอายุรแพทย์เป็น ประจา อย่างน้อยเดือนละ 2-3 ครั้ง ตามปริมาณผู้ป่วยที่เหมาะสม 3.2 โรคไต (Chronic kidney diseases) เป้าประสงค์ 1. ผู้ป่วยโรคไตสามารถเข้าถึงการคัดกรอง รักษา และทดแทนไต 2. หน่วยบริการทุกระดับสามารถคัดกรอง ตรวจ และดูแล โรคไตในระยะเริ่มแรกได้ วิธีการ 1. มีเครือข่ายระดับจังหวัด อาเภอ ที่เชื่อมโยงกับงานโรคเรื้อรัง (NCD) โดยการมีส่วนร่วมของแพทย์ อายุรแพทย์และอายุรแพทย์โรคไต และมีระบบ CQI ที่เข้มแข็ง 2. ระดับ รพ.สต. มีระบบคัดกรองภาวะไตเสื่อมของผู้ป่วยในชุมชน พยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไปสามารถดูแล ผู้ป่วยไตวายที่ล้างไตทางหน้าท้อง (CAPD) ในพื้นที่ของตนเองได้ 3. โรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป มี คลินิกไตวายเรื้อรังคุณภาพ (Chronic kidney diseases, CKD) ทุกแห่ง โรงพยาบาลระดับ M2 ขึ้นไป ระดับ รพช. มีระบบพี่เลี้ยงดูแลการล้างไตทางหน้าท้อง (CAPD) ในรพช. ลูกข่าย และมีบริการล้างไตทางเส้นเลือด (Hemodialysis) ครอบคลุมอย่างน้อย 8 เครื่อง ต่อแสน ประชากร (รวมของรัฐและของเอกชน) โดยผู้ป่วยเดินทางไม่เกิน 50 กม. 4. โรงพยาบาลระดับ A รพศ.อุดรธานีสามารถการผ่าตัดเปลี่ยนไต ได้รายที่ 5 ภายในปี 2557 ส่วน โรงพยาบาล A และ S ระดับ อื่นๆ สามารถหาผู้บริจาคไต (donor) ได้ภายในปี 2557
  • 30. Executive summary 2557 4. หัวใจและหลอดเลือด แบ่งออกเป็น 2 ประเด็น ที่สาคัญ คือ หัวใจ และหลอดเลือดสมอง (stroke) 4.1 หัวใจ เป้าประสงค์ 1. ลดอัตราการเสียชีวิตในโรคหัวใจเฉียบพลัน (STEMI) ในโรงพยาบาลให้ได้น้อยกว่า ร้อยละ 7 2. มีระบบการดูแลผู้ป่วยหัวใจที่มีคุณภาพ บูรณาการตั้งแต่ระดับปฐมภูมิจนถึงตติยภูมิ วิธีการ 1. โรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป ทุกแห่ง สามารถให้ Fibrinolytic agent 2. โรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป ทุกแห่ง มี warfarin clinic ที่มีสหวิชาชีพร่วมกันดูแลผู้ป่วย 3. โรงพยาบาลระดับ A มีคลินิกหัวใจแยกเฉพาะ 4. โรงพยาบาลอุดรธานี สามารถผ่าตัดหัวใจ (open heart) ได้มากกว่า ปี 2556 อย่างน้อย 1.5 เท่า เพื่อลดการส่งต่อ 4.2 หลอดเลือดสมอง (Stroke) เป้าประสงค์ 1. มีระบบการดูแลหลอดเลือดสมอง (Stroke) ที่มีคุณภาพ บูรณาการตั้งแต่ระดับปฐมภูมิจนถึงตติย ภูมิ ครอบคลุมทุกพื้นที่ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยง่าย วิธีการ 1. เพิ่มหน่วยบริการที่สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างครบวงจร อาทิ มี CT scan ในโรงพยาบาล ระดับ M1 และ M2 บางแห่ง ให้ครอบคลุม เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการได้โดยง่าย
  • 31. Executive summary 2557 2. โรงพยาบาล อุดรธานี สกลนคร เลย หนองคาย และนครพนม มี Stroke Unit ส่วน โรงพยาบาล หนองบัวลาภู บึงกาฬ สว่างแดนดิน และกุมภวาปี มี Stroke corner สาหรับดูแลผู้ป่วย 3. โรงพยาบาล ระดับ M1 ขึ้นไป สามารถให้บริการ Thrombolytic agent ได้มากขึ้นกว่าเดิมอย่าง น้อย 1.5 เท่า 4. รพ.สต. ทุกแห่ง มีระบบการดูแลและลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยงอย่างเป็นระบบ 5.มะเร็งท่อน้าดีและตับ เป้าประสงค์ 1. ลดอัตราการเสียชีวิตของประชาชนในเขตบริการที่ 8 จากโรคมะเร็งท่อน้าดีและตับให้ได้ร้อยละ50 ใน3 ปี 2. มีการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งท่อน้าดีและตับ โดยใช้กลยุทธ์หัวใจ 4 ดวงในการดาเนินงาน วิธีการ 1. ลดอัตราการติดเชื้อติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ เน้นไปที่การมีหลักสูตรในโรงเรียน ควบคู่ไปกับการร่วมมือ กับหน่วยราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคธุรกิจ ในการให้สุขศึกษารณรงค์ ไม่กินปลาดิบ และการบังคับใช้กฎหมายอย่างเหมาะสม 2. คัดกรองกลุ่มเสี่ยงอย่างเหมาะสมโดยเครื่อง ultrasound เพื่อค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มต้นเพื่อให้รับการ รักษาได้รวดเร็วขึ้น 3. พัฒนาศักยภาพการผ่าตัด ทั้งแบบการรักษาให้หายขาด (curative treatment) และการรักษาแบบ ประคับประคอง (palliative treatment) ในหน่วยบริการระดับ A S และ M1 เพื่อลดการส่งต่อให้มาก ที่สุด และ สามารถลงทะเบียน tumor registry ได้
  • 32. Executive summary 2557 4. ระดับ รพ.สต. ให้การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย (palliative care) ให้มีช่วงชีวิตสุดท้ายอย่างมี ความสุข 6. ส่งต่อนอกเขต เป้าประสงค์ 1. ลดการส่งต่อออกนอกเขตให้ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 2. มีระบบส่งต่อที่มีคุณภาพมากขึ้น ทั้งด้านประสานการส่งต่อ การส่งไป และส่งกลับ วิธีการ 1. เพิ่มศักยภาพการผ่าตัดในโรคที่ต้องส่งต่อ เช่น หัวใจ มะเร็งท่อน้าดีและตับ เป็นต้น 2. ลดการรอคิวการรักษา เช่น การฉายแสง ในผู้ป่วยมะเร็ง เป็นต้น 3. โรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไป มีพยาบาลเต็มเวลา (full time) ตลอด 24 ชั่วโมง ให้การประสานการส่ง ต่อภายในเขต ทั้งหมด 4. พัฒนาระบบการส่งไปและส่งกลับ (refer in refer out refer back) โดยการวิเคราะห์รายแผนก 5. พัฒนาโรงพยาบาลระดับ M2 ให้มีศักยภาพในการรักษาพยาบาลมากขึ้น 6. พัฒนากลไกด้านการเงินการคลังเพื่อสร้างแรงงจูงใจ ให้โรงพยาบาลระดับ M1 และ M2 เพิ่มการทา หัตถการ อาทิ ไส้ติ่ง ไส้เลื่อน หมันหญิง ให้มากขึ้น เพื่อลดภาระโรงพยาบาล ระดับ A และ S
  • 33. Executive summary 2557 7. จักษุ เป้าประสงค์ 1. ลดการตาบอดจากโรคตาต้อกระจก (Blinding cataract) 2. เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรองและการรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา (Diabetes Retinopathy)ให้ มากขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3. ลดการส่งต่อโรคตานอกเขต (Regional refer out) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 วิธีการ 1. การคัดกรองต้อกระจกเชิงรุก ในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ รพ.สต.ทุกแห่ง พร้อมกัน 7 จังหวัด 2. ลดการรอคิวการผ่าตัด โดยเพิ่มการผ่าตัดใน รพช. แม่ข่าย (node) อย่างน้อย 20 แห่ง โดยแบ่ง ผู้รับผิดชอบ 3 ทีม คือ ทีมที่ 1 อุดรธานี บึงกาฬ ทีมที่ 2 สกลนคร นครพนม และทีมที่ 3 หนองบัวลาภู เลย หนองคาย อย่างน้อย 23,000 ดวงตา โดยไม่ต้องใช้ในส่งตัว (refer) 3. คัดกรองโรคตา (AMD และ DR) ในผู้ป่วยเบาหวาน หากพบความผิดปกติส่งต่อไปรักษาที่หน่วยบริการ ระดับสูงกว่า ต่อไป 4. รพศ.อุดรธานี เพิ่มศักยภาพการรักษาพยาบาล เพื่อลดการส่งต่อออกนอกเขตให้ได้ 8. ทันตกรรม เป้าประสงค์ 1. ขยายบริการทันตกรรม ลงสู่รพ.สต.ให้มากขึ้นกว่าปี 2556 2. ทุกหน่วยบริการมีการให้บริการประชาชนทั้งด้านส่งเสริมและรักษามากขึ้น
  • 34. Executive summary 2557 วิธีการ 1. ทุกโรงพยาบาล ต้องส่งทันตแพทย์หรือทันตาภิบาลออกให้บริการในรพ.สต.ให้ครอบคลุมทุกตาบล อย่าง น้อยสัปดาห์ละหนึ่งวัน ในปี 2557 2. มีเครื่องมือทันตกรรม ที่มีปริมาณเหมาะสมกับปริมาณงานและบุคลากร และจัดบริการทุกวันเต็มเวลา เพื่อให้บริการได้ทั่วถึงมากขึ้น 3. มีศักยภาพการให้บริการที่เหมาะสม อาทิ เพิ่มหน่วยบริการที่รักษารากฟันให้มากขึ้นอย่างน้อย 20 แห่ง มี การทาฟันปลอม การผ่าตัดทางด้านช่องปากเพิ่มมากขึ้น 4. มีเครือข่ายทันตกรรมที่ดูแลเครื่องมือ และมีงานป้องกันการติดเชื้อที่ได้มาตรฐาน 9. สุขภาพจิต เป้าประสงค์ 1. มีการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงจิตเวชที่มีประสิทธิภาพ และมีการจัดบริการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในโรงพยาบาลตั้งแต่ ระดับ F2 ขึ้นไป ให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 2. มีระบบคัดกรองพัฒนาการเด็กที่มีคุณภาพ ในรพ.สต.ขึ้นไปทุกแห่ง วิธีการ 1. มีการคัดกรองผู้ป่วยซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยง เช่น กลุ่มโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ 2. มีคลินิกจิตเวชและยาจิตเวชที่จาเป็นจานวน 35 รายการ ในโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไป 3. รพท./รพศ. ทุกแห่ง ยกเว้น รพ.เลย และรพ.นครพนม มี Emergency psychiatric corner และเพิ่มหอ ผู้ป่วยจิตเวชที่ รพ.หนองบัวลาภู
  • 35. Executive summary 2557 4. มีการคัดกรองพัฒนาการเด็กเล็กคุณภาพ ทุกหน่วยบริการ โดยเพิ่มวันคัดกรองอีก 2-3 วัน/เดือน ตาม ปริมาณงาน สาหรับโรงพยาบาลมีการบูรณาการงานผู้ป่วยนอก เวชกรรมสังคม และจิตเวช อยู่ในหน่วย เดียวกัน และมีคลินิกคุณภาพที่เป็นตัวอย่างได้อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง 5. มีการบูรณาการร่วมกับภาคส่วนอื่นๆ โดยเฉพาะศูนย์เด็กเล็ก ให้มีการคัดกรอง และการพัฒนาเด็กให้มี คุณภาพมากขึ้น 10. การดูแลผู้ป่วยระยะยาว (Long term care) เป้าประสงค์ 1. มีระบบการดูแลผู้ป่วยระยะยาว (long term care) ในชุมชน ให้ได้รับบริการ ครบถ้วน ต่อเนื่อง 2. มีศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะยาว ในโรงพยาบาล (continuity of care, COC) วิธีการ 1. ปี 2557 เน้น ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Palliative care) และผู้ป่วยเตียงสาม ในชุมชน 2. จัดตั้งศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะยาวในโรงพยาบาล (continuity of care, COC) ในหน่วยบริการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 และจัดทาคู่มือ ระบบการไหลเวียนของผู้ป่วยจากโรงพยาบาลสู่รพ.สต. และชุมชน และระบบ การดูแลผู้ป่วยในแบบสหวิชาชีพ 3. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ Long term care link (LTC link) เพื่อใช้ในหน่วยบริการทุกแห่ง 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร เช่น Long term care manager ระดับ รพ.สต. พัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะ ทาง LTC 4 เดือน โดยเขตบริการสุขภาพ 5. พัฒนาศักยภาพผู้ดูแล (care giver) และสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคเครือข่าย
  • 36. Executive summary 2557 11. การเงินการคลัง (Financing) เป้าประสงค์ 1. มีหน่วยบริการที่มีวิกฤติการเงินการคลัง ระดับ 7 ไม่เกิน ร้อยละ 10 2. ระบบบัญชีและข้อมูลต้นทุน มีคุณภาพไม่ต่ากว่าระดับ B วิธีการ การดาเนินงานด้านการเงินการคลังของเขตบริการสุขภาพที่ 8 แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ 1. Measuring performance คือ การจัดเตรียมคุณภาพของข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ระบบ บัญชีเกณฑ์คงค้าง ต้นทุน (unit cost) แผนเงินบารุง และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผลการปฏิบัติงาน และการเงินการคลังอื่นๆ 2. Analyzing performance คือ การวิเคราะห์ข้อมูลการเงินการคลัง ของหน่วยบริการภายในเขต โดยใช้ วิธีการเทียบเคียงในหน่วยบริการที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน (benchmarking) ในเขตบริการสุขภาพที่ 8 แบ่งหน่วยบริการออกเป็น 11 กลุ่ม ที่ในการเปรียบเทียบ รายรับ รายจ่าย และผลลัพธ์การปฏิบัติงาน ต่างๆ 3. Driving performance คือ การขับเคลื่อนผลลัพธ์การปฏิบัติงาน สาหรับหน่วยบริการที่ประสบปัญหา วิกฤติด้านการเงินการคลัง ทางเขตบริการสุขภาพที่ 8 ได้จัดทาโครงการเพิ่มประสิทธิภาพหน่วย บริการที่มีปัญหาภาวะวิกฤติ (พปง.) ขึ้น เพื่อใช้ในการขับเคลื่อน ผลลัพธ์การปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น 4. Communicating performance คือ การสื่อสารให้ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบงาน รับทราบถึงผลการ ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อจะได้ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ได้อย่างทันท่วงที
  • 37. Executive summary 2557 แผนภาพที่ 11 บันได 4 ขั้น ด้านการเงินการคลัง เขตบริการสุขภาพที่ 8 12. จัดซื้อร่วม เป้าประสงค์ 1. จัดซื้อร่วมทั้ง ยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา (ทั่วไปและราคาแพง) วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ วัสดุทันตกรรม ให้ลดลงทั้งด้านปริมาณการใช้และราคาต่อหน่วย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 วิธีการ 1. มีคณะกรรมการในระดับเขต ที่ศึกษา ต่อรอง ราคา และจัดซื้อร่วม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีการเปรียบเทียบราคา ในทุกหน่วยบริการ เพื่อให้ได้ราคาที่เหมาะสมที่สุด 3. พัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการติดตามประเมินผลการดาเนินงาน - -Unit cost - Measuring performance Analyzing performance Driving performance -Benchmarking 11 - -FAI - - - Lab - 1 2 3 Communicating performance -Benchmarking -FAI - 4
  • 38. Executive summary 2557 4. มีการทบทวนการใช้ ทั้ง ยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา (ทั่วไปและราคาแพง) วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ วัสดุ ทันตกรรม ในทุกหน่วยบริการเพื่อให้เกิดการใช้ที่เหมาะสม 5. มีการจัดอบรมเกี่ยวกับการบริหารเวชภัณฑ์ให้เหมาะสม 13. รพ.สต./คปสอ. ติดดาว เป้าประสงค์ 1. บูรณาการงานนโยบายกระทรวงสาธารณสุข กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก เข้าสู่รพ.สต.และคปสอ. โดยใช้กล ยุทธ์ติดดาว เพื่อสร้างแรงจูงใจในการดาเนินงาน 2. ในปี 2557 ทุก CUP ต้องมีรพ.สต.ที่ผ่านคุณภาพ 3 ดาว ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 วิธีการ 1. มีคณะกรรมการระดับเขตที่ออกแบบหลักเกณฑ์การพัฒนารพ.สต./คปสอ.ติดดาวที่สามารถบูรณาการ นโยบายกระทรวงสาธารณสุข และกลยุทธ์ 15 ร่องหลักของเขต เข้าสู่ระดับรพ.สต.และคปสอ.ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2. มีหลักเกณฑ์การประเมินทั้งอิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม ที่สร้างแรงจูงใจในการพัฒนารพ.สต./คปสอ. ได้ใน ระยะยาว
  • 39. Executive summary 2557 14. การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล เป้าประสงค์ 1. ใน ปี 2557 มีหน่วยบริการ ผ่านการรับรองคุณภาพ (HA) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 วิธีการ 1. สร้างเครือข่ายการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (quality network) ระดับเขตและจังหวัด 2. มีการพัฒนาทีมงานในระดับเขตที่สามารถพัฒนาบุคลากรในหน่วยบริการต่างๆได้ด้วยตนเอง (in house training act to accreditation) 3. พัฒนาทีมพี่เลี้ยง และสร้างกลไกสนับสนุนแต่ละจังหวัดในการดาเนินงาน 15. ระบบข้อมูลสารสนเทศ เป้าประสงค์ 1. มีระบบข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ใช้ติดตามผลการดาเนินงาน ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและกล ยุทธ์ 15 ร่องหลัก ได้เป็นอย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีนวัตกรรมด้านระบบข้อมูลสารสนเทศที่ทันสมัย วิธีการ 1. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อใช้ในการติดตามและประเมินผล ตามยุทธศาสตร์กระทรวง สาธารณสุข กลยุทธ์ 15 ร่องหลัก และตัวชี้วัด QOF ของ สปสช. ทุกไตรมาส โดยมีห้องควบคุม (Cockpit room) ที่ทุกหน่วยบริการดูได้จาก www.R8way.com 2. รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยใน (IP individual) ของผู้ป่วยทุกสิทธิ จากทุกหน่วยบริการ ตามรหัส ICD 9 ICD10 เพื่อนามาใช้ในการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงาน
  • 40. Executive summary 2557 3. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศในหน่วยบริการ ตามระบบ JHCIS หรือ HosXP ในกลุ่ม 1) EPI, 2) ANC และ 3) DM&HT ให้ครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 4. สร้างนวัตกรรมของระบบข้อมูลสารสนเทศ สาหรับผู้ปฏิบัติงาน ให้มีความสะดวก คล่องตัวมากขึ้น เช่น Application เยี่ยมบ้าน ในมือถือของเจ้าหน้าที่ เป็นต้น 4. กาลังคน (People) การพัฒนากาลังคน (Human resource development) และการจัดการกาลังคน (Human resource management) เป็นปัจจัยที่สาคัญสาหรับการดาเนินงานของเขตบริการสุขภาพที่ 8 โดยมีรายละเอียดดังนี้ 4.1 การจัดการกาลังคน (Human resource management) ในเบื้องต้นเขตบริการสุขภาพให้ความสาคัญกับการจัดสรรตาแหน่งข้าราชการและนักเรียนทุนให้แต่ละจังหวัด หลังจากนั้นจะมอบให้แต่ละจังหวัดจัดสรรภายในจังหวัดต่อไป โดยมีหลักเกณฑ์หรือกรอบการพิจารณา ดังนี้ 1. จานวนพนักงานปฏิบัติงานเต็มเวลาเมื่อเทียบกับเวลามาตรฐานการทางาน (Full Time Equivalent, FTE) ปี 2555 เป็นหลัก 2. สัดส่วนต่อประชากร และสัดส่วนต่อผลิตภาพ (productivity) 3. หลักเกณฑ์อื่นๆ เช่น โรงพยาบาลเปิดใหม่ หรือจังหวัดใหม่ ที่ขาดบุคลากรจานวนมาก เป็นต้น
  • 41. Executive summary 2557 แผนภาพที่ 12 สัดส่วนกาลังคนเทียบกับ FTE ทุกวิชาชีพ ตามระดับของโรงพยาบาล ปี 2556 แผนภาพที่ 13 ผลิตภาพต่อบุคลากร ตามระดับของโรงพยาบาล ปี 2556 หมายเหตุ : ผลิตภาพ (productivity ปรับเปลี่ยนหน่วย OP visit และ RW ของ IPD รวมเป็นหน่วย RW)