SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 63
ผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์จากการส่งคลื่น
สัญญาณโทรศัพท์
ณ ห้องประชุม 210 สนง.อธิการบดี ม.อ. หาดใหญ่ 24 มีนาคม
2558
โดย ดร.สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ นักวิชาการอิสระ
14/05/58 1ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
• ภูมิหลังและข้อมูลทั่วไป
• หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ (Epidemiology & Laboratory Studies)
• ตัวอย่างความเคลื่อนไหวของสมาคมทางการแพทย์สมาคม
วิชาชีพ ภาครัฐ และภาคเอกชน
• การต่อสู้ในศาลที่ฟังความได้ว่าคลื่นจากระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่
เป็นอันตรายต่อมนุษย์
• มาตรการป้องกันไว้ก่อน : ทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดในขณะนี้
(มาตรการระวังภัย ไม่เหมือนกับ มาตรการต้องห้าม)
• References and Resources
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 2
กสทช.-ผู้ประกอบการ : มักอ้างอะไรกรณีติดตั้งเสาฯ
• คลื่นโทรศัพท์ฯเป็นรังสีชนิดไม่ทาให้เกิดการแตกตัวของไออ้อน (Non-ionizing
radiation) ไม่สามารถทาอันตรายต่อมนุษย์ได้ นอกจากทาให้เกิดความร้อน (Thermal
effects) เหมือนเตาไมโครเวฟ
• มาตรฐานปลอดภัยสากล (ICNIRP) ป้องกันผลกระทบทางความร้อนดังกล่าว
• ผลวิจัยในโลก “ไม่พบ” หรือ “ยังไม่ชัดเจน” ในเรื่องนี้ โดยอ้างเอกสารจาก ICNIRP
และ F/S ของ The International EMF Project, WHO เป็นหลัก แต่...ไม่เคยอ้างอิงถึง
ผลการศึกษาวิจัยแม้แต่ชิ้นเดียวที่สรุปชัดเจนว่า คลื่นโทรศัพท์“ปลอดภัย”ต่อมนุษย์
(“ไม่พบ” แปลว่า ยังไม่รู้ กล่าวคือ อาจมี หรือ ไม่มี ก็ได้ !)
• อ้างถึงงานวิจัยของ สจล. (กสทช. จ้างภายในวงเงิน 15 ล้านบาท) ทาการสุ่มวัดระดับ
คลื่นรอบสถานีฐาน(เสา) ใน 5 ภูมิภาครวม 40 แห่ง พบว่าต่ากว่าขีดจากัดตามมาตรฐาน
แล้วสรุปว่า “คลื่นสัญญาณที่แผ่จากสถานีฐานทั่วประเทศ จึงไม่เป็นอันตราย” !
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 3
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 4
กสทช.-ผู้ประกอบการ : มักอ้างอะไรกรณีติดตั้งเสาฯ (2)
• ระดับคลื่นที่แผ่จากสถานีฐานยังน้อยกว่าจากเครื่องโทรศัพท์(มือถือ)
• ปัญหาสุขภาพน่าจะเกิดจากเครื่อง (รับ) วิทยุ หรือ เครื่อง (รับ) โทรทัศน์
หรือ เตาไมโครเวฟ มากกว่า
• หากไม่ให้ติดตั้งเสาที่นี่ นอกจากขาดรายได้ค่าเช่าแล้ว ท่านยังจะได้รับ
รังสีคลื่นเช่นกัน เพราะเราจะหาที่ติดตั้งใหม่ในบริเวณใกล้เคียงอยู่ดี
(กรณีการไม่ต่อสัญญาเช่าให้แก่ผู้ประกอบการ 2 รายที่ตั้งเสาบนดาดฟ้า
อาคาร 2 หลังของ คณะวิจิตรศิลป์ ม.ช.)
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 5
• ผมเป็นใคร ?
- B.EE. M.EE. PhD. (EE) ประเทศ Australia
- Director, Multidisciplinary Laboratory, คณะวิทยาศาสตร์ มหิดล
- Deputy Head (Communications) Singapore Polytecnic SINGAPORE
- หนังสือ ผลกระทบต่อสุขภาพจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (2008) สบท. กทช.
- งานวิจัย การศึกษาทบทวนนโยบายและมาตรการการป้องกันผลกระทบหรือ
ความเสี่ยงต่อสุขภาพจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (2010) นสธ., มช., สสส.
- แปลรายงานการวิจัย REPORT OF THE INTER-MINISTERIAL COMMITTEE
ON EMF RADIATION (2010) รัฐบาลอินเดีย
- บทความ วาระสาคัญในการปฎิรูปประเทศ-คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสิ่งแวดล้อม
(2014) ฯลฯ
(อ่านทั้งหมดได้ที่ https://www.scribd.com/svongpanitlerd)
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 6
• ผมเป็นใคร (2) ?
- การไต่สวนของอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ในความ
เดือดร้อนของชุมชน อ.สทิงพระ จ. สงขลา เมื่อ 2 กรกฎาคม 2556
- พยานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายโจทก์คดีศาลแพ่ง (แผนกสิ่งแวดล้อม) หมายเลขดาที่
สว.(พ) ๓ /๒๕๕๔ และ สว.(พ) ๑/๒๕๕๖ ระหว่างโจทก์ นายสุพล สุขศรี
มั่งมี กับพวกและจาเลย บจม. เอไอเอส กับพวกรวม 7 คน
- พยานฝ่ายผู้ฟ้อง คดีหมายเลขดา ส.๑/๒๕๕๗ ศาลปกครองเชียงใหม่
(แผนกสิ่งแวดล้อม) ระหว่างชุมชน ต.น้าแวน พะเยา และผู้ถูกฟ้อง กสทช.
กับพวกรวม ๓ คน
- วิทยากร NBTC Public Forum ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ เมื่อ 29/4/2556 ที่ กสทช.
และ ๔/๒๕๕๗ เมื่อ 19/9/2557 ที่โรงแรมมิราเคิล แกรนด์กรุงเทพฯ
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 7
การศึกษาทบทวนนโยบายและมาตรการ
การป้ องกันผลกระทบหรือความเสี่ยงต่อสุขภาพ
จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (EMR exposure)
โดย
ดร.สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
เอกสารวิชาการภายใต้แผนงานสร้างเสริมการเรียนรู้กับสถาบันอุดมศึกษาไทย
เพื่อการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ. หรือ TUHPP)
สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สนับสนุนโดย
สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
กุมภาพันธ์ 2553
[1] [2]
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 8
www.tci.or.th/uploads/printfile/1269246
044.pdf
http://www.tuhpp.net/?p=2511
[3]
Government of India, Ministry of
Communications& InformationTechnology,
Department of Telecommunications
รัฐบาลประเทศอินเดีย
กระทรวงสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
กรมสื่อสารโทรคมนาคม
รายงานคณะกรรมการร่วมจากหลายกระทรวง
เรื่องการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
REPORT OF THE INTER-MINISTERIAL
COMMITTEE ON EMF RADIATION
ผู้แปล: สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ ดร.
นักวิชาการอิสระ
ต้นฉบับ :
www.dot.gov.in/sites/default/files/1.IMC%20Report_0.pdf
คณะกรรมการ
๑) ที่ปรึกษา (เทคโนโลยี) ประธานกรรมการ
๒) รองอธิบดีอาวุโส (BW) กรมสื่อสาร
โทรคมนาคม กรรมการและเลขานุการ
๓) นักวิทยาศาสตร์ สภาวิจัยแพทยศาสตร์แห่งชาติ
กระทรวงสาธารณสุข
๔) ที่ปรึกษา สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
๕) นักวิทยาศาสตร์ กระทรวงสิ่งแวดล้อมและป่าไม้
๖) รองอธิบดี (R) TEC กรมสื่อสารโทรคมนาคม
๗) ที่ปรึกษา ด้านสื่อสารไร้สาย กรมสื่อสาร
โทรคมนาคม
๘) รองอธิบดี (CS) กรมสื่อสารโทรคมนาคม
ฉบับแปลเป็นไทย : http://www.scribd.com/svongpanitlerd
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 9
คดีความศาลแพ่ง (แผนกคดีสิ่งแวดล้อม) รายแรกในไทย
• หมายเลขดาที่ สว.(พ) 3/2554 และ (พ) 1/2556 :
ศาลได้ตัดสินว่า “คลื่นที่แผ่จากเสาฯจัดเป็นมลพิษตาม
กฎหมายสิ่งแวดล้อมชนิดหนึ่ง เจ้าของต้องรับผิดชอบหาก
เกิดความเสียหาย แม้นได้ปฏิบัติตามมาตรฐานของ กสทช.
ก็ตาม”
• คดีกาลังเข้าสู่การพิจารณาโดยศาลฎีกา หลังจากที่ศาล
อุทธรณ์ได้สั่งกลับคาพิพากษาของศาลต้น
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 10
ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ)
ผู้เรียกต้นทาง ผู้รับปลายทาง
ชุมสาย เสาหรือสถานีฐาน 2เสาหรือสถานีฐาน 1
ฤ
เสารับ-ส่งสัญญาณ
หรือสถานีฐาน
โทรศัพท์เคลื่อนที่
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 1114/05/58
เสาโทรศัพท์หรือสถานีฐาน
การส่งคลื่นระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผู้ใช้รับคลื่นจากเครื่องเฉพาะ
ในช่วงที่ใช้หรือเปิดเครื่องไว้
จึงจะเลือกใช้มากหรือน้อยก็ได้
ผู้อยู่ใกล้เสาฯไม่อาจมีทางเลือก
คลื่นแผ่จากเสาฯจะถูกดูดกลืนสู่
ร่างกายในทุกๆส่วนและอย่าง
ตลอดเวลา
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 12
โทรศัพท์มือถือ
14/05/58
ผู้สูบมือ 2
ผู้สูบบุหรี่
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
ผลกระทบต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค กรณีคลื่นโทรศัพท์และ
เสาส่งสัญญาณ
13ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
Source: Dr John Walker of Sutton Coldfield, using data collected from ill-health
clusters around masts 13
ผังความถี่สนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic spectrum)
14/05/58 14ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
รังสีชนิดไม่ก่อไอออน รังสีชนิดก่อเกิดไอออน
(non-ionizing radiation) (ionizing radiation)
ที่มา: Swiss Agency for the Environment, Forests and Landscape- Electrosmog in the environment, June 2005
ความเห็นตามแนวคิด ฟิสิกส์ (Physics) ดั้งเดิม
Ionizing Radiation (ก่อให้แตกตัวเป็นไอออน)
รังสี เอ็กส์ แกมมาอัลฟา ฯลฯ
ผลกระทบต่อชีวภาพ (Biological, long-
term effects)
• ทาให้พันธะเคมีของโมเลกุลเนื้อเยื่อ / เซลล์แตก
ตัวเป็นไอออน (Free radicals หรือ อนุมูลอิสระ)
• ทาลาย หรือทาให้เซลล์ของสิ่งมีชีวิตชารุด อาทิ
หน่วยพันธุกรรมเป็นพิษ (genotoxicity) แตกขาด
ของสายเดี่ยวและสายคู่ของดีเอ็นเอ (single-and
double-strandDNA breaks) เป็นต้น
Non-ionizing Radiation (ไม่ก่อให้แตกตัว)
คลื่นความถี่วิทยุ/ไมโครเวฟ (โทรศัพท์เคลื่อนที่, Wi-Fi) ฯลฯ
ผลกระทบเชิงความร้อน (Thermal,
acute short-term effects)
• ทาให้เนื้อเยื่อสิ่งมีชีวิตอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น
เช่น เตาไมโครเวฟ (dielectric heating)
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 15
มะเร็ง (carcinogenicity) และโรคอื่นๆ
ICNIRP(1998); กทช.(2550) : ขีดจากัดความเข้ม E (V/m)
Thermal, Non-thermal (biological) , and
Health Effects
- มาตรฐานความปลอดภัย: ป้องกันเฉพาะผลกระทบเชิงความร้อน
- ต่อมาแพทย์พบคนไข้ป่วยเนื่องจากใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือ
อาศัยอยู่ใกล้กับเสา(สถานีฐาน) เพิ่มขึ้นทุกวัน ทั้งๆที่คลื่นที่แผ่ล้วน
ต่ากว่าขีดจากัดตามมาตรฐานความปลอดภัยมาก
- แพทย์และนักวิทยาศาสตร์บางกลุ่มจึงเชื่อว่า มาตรฐานดังกล่าว
อาจยังไม่ปลอดภัยพอทางสาธารณสุข
- จึงเริ่มศึกษาวิจัยอย่างกว้างขวางทางระบาดวิทยา (Epidemiology)
และ การทดลองในห้องปฏิบัติการ (in vivo and in vitro)
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 16
http://www.iemfa.org/index.php/the-alliance/appealing-medical-groups
แถลงการณ์ อุทธรณ์ และคาเตือนของแพทย์และ
นักวิทยาศาสตร์ให้ป้ องกันภัยเสี่ยงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 1714/05/58
ผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Effects) ของผู้อาศัยใกล้
สถานีฐาน(เสา) ภายใน 400 ม. จากการวิจัยทางระบาดวิทยา
• ปัญหาทาง สุขภาวะ เช่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ วิงเวียน นอนไม่หลับ
ความจาเสื่อม ขาดสมาธิ สั่นกระตุก ซึมเศร้า ฉุนเฉียว สายตาพร่ามัว ฯลฯ
(บัญญัติศัพท์ใหม่ขึ้นคือ อาการแพ้ หรือไวต่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, EHS)
- EHS (Electromagnetic hypersensitivity Syndrome) หรือ NSHS
• โรคมะเร็งส่วนต่างๆของร่างกาย (ผู้อาศัยรอบเสาภายใน 350-400 ม.)
- Eger H et al. (2004) พบอัตราความเสี่ยงเพิ่ม 3 กว่าเท่า
- Wolf and Wolf (2004) พบอัตราเสี่ยงเพิ่ม 4.15 เท่า
(หมายเหตุ: กรณีที่ควรศึกษาอย่างยิ่ง ซึ่งเกิดขึ้นที่คณะวิจิตรศิลป์ มช.)
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 18
อาการแพ้คลื่น (EHS) ไม่ใช่เรื่อง “คิดไปเอง”
• สวีเดน เป็นประเทศแรกในโลกที่จัดให้ EHS เป็น disability ประเภทหนึ่ง
(The Swedish Association for the Electrohypersensitive, aka FEB
http://translate.google.ca/translate?hl=en&sl=sv&u=http://eloverkanslig.org/&prev=/search%3Fq%3
Deloverkanslig.org%26client%3Dfirefox-a%26hs%3D4Om%26rls%3Dorg.mozilla:en-
US:official%26channel%3Dnp)
• อดีตนายกหญิงคนแรก (3 สมัย) Dr. Gro Brundtland, MD., MPH ของ
ประเทศนอร์เว และอดีตเลขาธิการ WHO ประกาศตนว่าแพ้คลื่น (EHS)
• ประกาศที่ 0014/2012 ของสภายุโรปว่าด้วยการแพ้สารเคมีและคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า ให้ทาบัญชีจานวนผู้แพ้สารเคมี (MCS) และผู้แพ้คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า (EHS) เพิ่มลงในสถิติจาแนกระหว่างประเทศของโรคและ
ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (ICD)
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 19
Gro Brundtland, M.D., MPH อดีตนายกหญิง 3 สมัย ประเทศนอร์เว และ
อดีตเลขาธิการ WHO
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 20
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 21
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 22
เส้นสีดา (บน) แสดงความเข้ม E วัดที่ระดับสูงจาก
พื้น 15 เมตรตามแนว main beam และเส้นสี
แดง (ล่าง) วัดที่ระดับสูงจากพื้น 1.50 เมตร
ที่มา : Electrosmog in the environment. Swiss Agency
for the Environment, Forest and Landscape SAEFL
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 23
Biological (Non-thermal) Effects Studies :
The BioInitiative Report (2007) (2012) (Updated in 2014) :
http://www.bioinitiative.org/
• ทบทวนหลักฐานผลการวิจัยเพิ่มเติมจากปี 2007 ถึง 2012 พบความสัมพันธ์
เพิ่มมากขึ้นระหว่างการสัมผัสรังสีคลื่นโทรศัพท์กับความผิดปกติต่างๆใน
ร่างกายที่เกิดจากคลื่นในระดับความแรงน้อยกว่ามาตรฐานตามที่กาหนด
นับพันจนถึงหมื่นเท่า หรือมากกว่าถึงล้านเท่าขึ้นไป
• จากราว 1,800 รายงาน ได้พบ biological & health effects เช่น
gene transcription; stress proteins; genotoxicity and single-and
double-strand DNA damage; neurotoxicity; carcinogenicity;
melatonin reduction; effects on offspring behavior; human semen..
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 24
• Genotoxicity จากรังสีคลื่นวิทยุ: จาก 86 รายงาน (ปี 2007-2012)
63% ที่พบผลกระทบ เทียบกับ 37% ที่ไม่พบผลกระทบ
• Neurotoxicity 155 รายงาน 63% ที่พบ เทียบกับ 37% ที่ไม่พบ
• Biological effects จาก เสาโทรศัพท์ฯ >5 รายงาน พบจากคลื่นในระดับ 0.03 -
0.5 mW/m2 (มาตรฐาน: 4,500 และ5,000 mW/m2 )
หมายเหตุ BioInitiative Report เขียนโดยนักวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์จานวน 29 ท่าน
: ประกอบด้วย 20 PhD , 1 DrSc, 9 MD, 1 DVM, and 4 MSc, MA, MPH, or MSPAS จาก
10 ประเทศ
USA 10 India 2 Sweden 6 Italy 2 Austria 2 Denmark 1
Canada 2 Russia 1 Greece 2 Slovak Republic 1
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 25
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 26
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 27
ที่มา: Dariusz LeszczynskiDSc. PhD. Key-note presentation at the Jubiläums-Generalversammlungof
the Swiss association Gigaherz, on March 7, 2015.
https://betweenrockandhardplace.wordpress.com/2015/03/07/science-and-conflict-of-interest-in-bioelectromagnetics/
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 28
Germany’s Alex Lerchl Does a U-Turn (March 13, 2015)
• Tumor-promoting effects of RF-EMF exposed mice have been reported in2010.
• We have replicated the study with higher numbers of mice per group.
• We could fully confirm the previous results, thus the effects are reproducible.
• We hypothesize that metabolic changes are responsible for the effects observed.
<http://www.microwavenews.com/news-center/rf-animal-cancer-promotion>
US Air Force RF review in 1988
acknowledges non-thermal biological effects:
Abstract The study of human exposure to RF/microwave
radiation has been the subject of widespread investigationand
analysis. It is known that electromagneticradiation has a
biological effect on human tissue
Soviet Union & Eastern European Standards
In the Soviet Union, permissible exposure levels for whole-body
irradiation may not exceed 0.01 mW/cm2. Czechoslovakia has
recommended a maximum exposure level of 0.025 mW/cm2
Conclusion Research conductedover the past 30 years
has provideda basis for understandingthe effect of
irradiationof biological materials. Experimental
evidence has shown that exposureto low intensity
radiation can have a profound effect on biological
processes. The non-thermal effects of RF/MW
radiationexposure are becoming important measures
of biological interactionwith EM fields.
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 29
แหล่งที่มา : http://bit.ly/1uGwflC
ความเห็นสมัยใหม่ทาง ฟิสิกส์ชีวภาพ
• หลักฐานการศึกษาวิจัยได้ชี้ชัดเจนว่า รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่ก่อให้เกิด
ไอออน ในระดับความแรงต่ากว่า มาตรฐานความปลอดภัย เป็นอย่างมาก (เช่น
มาตรฐาน ICNIRP, FCC, IEEE,CENELEC) ก็สามารถเกิดผลกระทบต่อชีวภาพ
ซึ่งอาจนาไปสู่การเจ็บป่วย (Health effects) ต่อไปได้
• เช่น สายของดีเอ็นเอ (DNA) เกิดแตกขาดแบบสายเดี่ยวและสายคู่ ซึ่งถ้าร่างกาย
ซ่อมแซมไม่ทัน หรือซ่อมผิดไปจากที่ควรจะเป็น จะนาไปสู่ปัญหาสุขภาพใน
ระยะยาวอย่างเช่น โรคมะเร็ง และโรคที่เกิดจากประสาทเป็นพิษ ฯลฯ
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 30
The Comet assay
for detectingDNA damage
• หมายถึง เสาโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ เสาสถานีวิทยุและโทรทัศน์
• เครื่องโทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์ไร้สาย (ในบ้าน/สานักงาน)
• อุปกรณ์ไร้สายต่างๆ เช่นไวไฟเร้าเตอร์ (ไวแมกส์) และอื่นๆ
31ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 32
Group 1 Carcinogenic to humans 108 agents
Group 2A Probably carcinogenic to humans 64
Group 2B Possibly carcinogenic to humans 271
Group 3 Not classifiable as to its carcinogenicity 508
Group 4 Probably not carcinogenic to humans 1
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 33
คลื่นโทรศัพท์อาจส่งผลต่อการพัฒนาของ สมองทารกในครรภ์ และอาจเสี่ยงต่อการเกิด
โรคสมาธิสั้นได้ (ศจ. ดร. Hugh Taylor ผู้อานวยการฝ่ายสูติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเยล)
http://www.thaihealth.or.th/Content/953-
%22%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%96%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%A0%E0%B8%B1
%E0%B8%A2%22%20%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%
89%E0%B8%82%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0
%B8%A0%E0%B9%8C.html
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 34
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 35
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 36
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 37
Dariusz
Leszczynski
DSc. PhD
เหตุใดจึงใช้เวลานานมากก่อนมีข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์?
(อ่านรายละเอียดใน “วาระสาคัญในการปฏิรูปประเทศ-คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใน
สิ่งแวดล้อม (2014)”)
• ข้อจากัดทางทรัพยากรการวิจัย (ระบาดวิทยา+ห้องทดลอง)
• ความซับซ้อนการวิจัยในเรื่องนี้ (dosimetry ตลอดจน Latency)
• เหตุผลทางการเมือง-รัฐ ซึ่งมักมีส่วนได้ส่วนเสียกับอุตสาหกรรม
• การแทรกแซงองค์กรในและระหว่างประเทศ
• แทรกแซง หรือปกปิดผลการวิจัย หรือการทาลายนักวิจัยอิสระ เช่น กรณี
หนังสือ “ผลกระทบฯ” สบท., หรือข่าวเชิงสืบสวน และ หนังสือ :
คลิป“ภัยพิบัดการเจ็บตาย” : โทรศัพท์มือถือและสมองของเด็ก (‘Casualty catastrophe’:
Cell phones and child brains <http://www.youtube.com/watch?v=y18EfVTDxuw > คา
แปลบันทึกเสียงที่ http://www.scribd.com/svongpanitlerd ) และ หนังสือ “Disconnect”
โดย DEVRA DAVIS, PhD. M.P.H.
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 38
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 39
Green Street Radio, WBAI-FM (New York City), 8 PM, Mar 10, 2015
http://www.greenstreetradio.com/wireless-radiation-what-scientists-know-and-you-dont-with-dr-joel-
moskowitz/
สัมภาษณ์ทางวิทยุ : ภาพรวมในอันตรายของรังสีคลื่นวิทยุ (RF) รวมถึงการขัดขวางโดย
ภาคอุตสาหกรรมต่อการแสวงความจริง
•คลื่นวิทยุเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งคล้ายกับ DDT จึงทาหนังสือลว. 16/3/2012 ร้องเรียนต่อ
สภาแห่งชาติให้ลดค่าเกณฑ์ปลอดภัยลงอีกให้ไม่เกิน 0.6 V/m (1 mW/m2)
http://mieuxprevenir.blogspot.com/2012/03/switzerland-waves-from-wireless.html
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 4014/05/58
สมาคมแพทย์แห่งประเทศออสเตรีย เรียกร้องปรับมาตรฐานใหม่ ให้เกณฑ์มี
ค่าจากัดปกติที่ระดับ ≤0.001 mW/m2
http://www.aerztekammer.at/documents/10618/976981/EMF-Guideline.pdf
สหภาพครูแห่ง Los Angeles (สมาชิก 40,000)
มีมติไม่ให้ใช้เทคโนโลยีไร้สายในโรงเรียน
• Los Angeles Teacher's Union Passes Resolution to Ensure Safety from
Hazardous Electromagnetic Fields in Schools
• ให้ใช้ระบบสายแทนการใช้ไวไฟไร้สายในห้องเรียน
14/05/58 41ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
สถาบันแพทย์ศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมแห่งสหรัฐ (AAEM) ได้ศึกษาผลกระทบ
จากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพมนุษย์เป็นเวลากว่า 50 ปีพบความสัมพันธ์ระหว่างการ
สัมผัสคลื่น RF กับโรคต่างๆ เช่น มะเร็ง โรคทางระบบประสาท การสืบพันธุ์
ภูมิคุ้มกัน จนถึง การแพ้คลื่น (EHS) http://aaemonline.org/emf_rf_position.html
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 42
ศาลอุทธรณ์ตูนิเซียพบว่าเสาฯมีอันตรายต่อชุมชน
สั่งรื้อถอนเสาโทรศัพท์มือถือที่ตั้งบนหลังคาบ้าน
: January 25, 2012
THEY have long feared that a mobile phone mast has been causing
cancer in their village.
ประชากรจาก 400 คนในหมู่บ้าน Benajarafe ในสเปนมีผู้ป่วยเป็นมะเร็งสูงถึง
50 ราย โดยได้เสียชีวิตไปแล้ว 30 คนในไม่กี่ปีที่ผ่านมา
http://www.theolivepress.es/spain-news/2012/01/25/cancer-mast-finally-comes-down-in-spai
ออสซีสงสัยคนเนื้องอกในสมองจากเสามือถือบนอาคาร
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ 12 พฤษภาคม 2549 14:37 น.
สานักงาน 2 ชั้นบนสุดของอาคารแห่งหนึ่งในนครเมลเบิร์นของออสเตรเลียปิดทาการชั่วคราว หลังจาก
เจ้าหน้าที่ 7 คนที่ทางานในนั้นตรวจพบเนื้องอกสมองก่อให้เกิดความวิตกว่าอาจมีสาเหตุมาจากเสาส่ง
สัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่บนหลังคาอาคาร
VICTORY: Councillor Concepcion Labao
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 43
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 44
ศาลสูงสุดของมลรัฐราชสถานในอินเดีย สั่งถอดถอนเสาในมลรัฐ
ที่ตั้งใกล้โรงเรียน สถาบันการศึกษา โรงพยาบาล สนามเด็กเล่น
ทั้งหมดออกไปภายใน 2 เดือน
Supreme Court of India Orders Cell Towers Removed From
Schools, Colleges, Hospitals in Rajasthan
On November 27, 2012 the High Court of the state of Rajasthan, ordered
the removal of all cell towers from the vicinity of schools, colleges, hospitals
and playgrounds because of radiation “hazardous to life.” The court’s
amazing 200+ page decision thoroughly reviews the worldwide evidence
that cell towers are harming human beings and wildlife.
On July 5, 2013 the Supreme Court of India upheld this decision.
City of Mumbai Prohibits Cell Towers near Schools,
Colleges, Orphanages
• Cell towers are being dismantled by the thousands in various parts of India.
• In August 2013 the city of Mumbai, the most populous city in India,
prohibited cell towers within100 meters of schools, colleges, orphanages,
child rehabilitation centers, and old age homes. It ordered that existing
antennas on schools, colleges and hospitals be removed. It also prohibited
the installation of antennason residential rooftops without the consent of
every person on the top floor, as well as the consent of70% of the people in
the rest of the building. And it began the process of dismantling 3,200 illegal
rooftop towers. The policy, first developed in January2013, is here:
http://www.mcgm.gov.in/irj/go/km/docs/documents/MCGM%20Department%20List/Public%20Relation%20Officer/Press
%20Release/Public%20Notice%20for%20Chief%20Engineer%20Development%20Plan%20Department%20eng.pdf
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 45
Year 2005
Description
The brochure describes the main sources
of electrosmog, assesses the associated
risks, identifies existing gaps in research
and suggests ways in which we can reduce
our own level of exposure.
Pages 56
Number DIV-5801-E
Publisher Federal Office for the Environment FOEN
Series Non-specialist publications
Documents Electrosmog in the environment.
2005 | 5121 kB | PDF
Electrosmog in the environment (หมอกคลื่นไฟฟ้ าในสิ่งแวดล้อม)
ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 46
เอกสารเผยแพร่
โดยรัฐบาลสวิสเซอร์แลนด์
http://www.bafu.admin.ch/publikationen/publikation/00686/index.html?lang=en
- Major WI-FI PROHIBITED IN DAYCARE CENTERS.
Le Monde, 29/1/ 2015
France used a precautionary approach and adopted a novel law
regulating public exposure to radiofrequency radiation,
provisions include a ban on all wireless devices in “spaces
dedicated to the care, resting and activities of children under
3 years,” primarily nurseries and daycare centers. Use of wi-fi
will still be allowed in primary schools, but only when no
alternative is available and it must be disabled when not in use.
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 47
New Russian Recommendations Against Cell Phone Use By Children
Russian National Committee on Non-Ionizing Radiation Protection
(RNCNIRP) has issued a resolution, April 2011, addressing the urgent
problem of cell phone use by children. The document cites studies
showing that since 2000 the rate of nervous system disorders among 15
to 17 year olds has increased by 85%, epilepsy has increased by 36%,
mental retardation has increased by 11%, and blood and immune
disorders have increased by 82%. In children less than 14 years old
nervous system disorders have increased by 58%, and blood and
immune disorders have increased by 64%.
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 48
ประมาณการต้นทุนโรคมะเร็งเนื่องจากเสาในวันข้างหน้า
• เนื่องจาก Latency ของมะเร็งที่ยาวนาน ถ้าหากเป็นเช่นนี้ต่อไปเรื่อยๆ....
ในอีก 5 ปี..10 ปี...ชาติ สังคม จนถึง ครอบครัว อาจเผชิญภัยใหญ่หลวง
จากผู้ป่วยเป็นมะเร็งรายใหม่ที่เพิ่มจากอัตราปกติในกลุ่มผู้อาศัย ใกล้กับ
เสาโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระยะ 400 เมตรปีละถึงประมาณ 40.000 คน
สมมติฐาน : ประชากรเฉลี่ย 1/3 อยู่ใกล้เสา มีอัตราเสี่ยงเพิ่ม 3 – 4 เท่า
สถิติผู้เสียชีวิตจากมะเร็ง 1 : 1,000 คน ต้นทุนต่อคนต่อปี 200,000 บาท
ผู้เป็นมะเร็งรายใหม่ 40,000 คนทุกปี
ต้นทุนทั้งระบบโดยรวมเพิ่มขึ้นปีละ 80,000 ล้านบาทในทุกปี
... ยังไม่รวมในความสูญเสียจากโรคและประเด็นอื่นๆที่ประมาณการแทบจะไม่ได้
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 50
ทางออก: มาตรการการป้องกันไว้ก่อน
คลื่นวิทยุ จัดเป็นสารอาจทาให้เป็นมะเร็งในมนุษย์ = เหตุผลอันเพียงพอ
ในทางสาธารณสุขที่จาเป็นต้องใช้ “หลักการป้ องกันไว้ก่อน”
Precautionary Principle: เป็นหลักการสหประชาชาติเพื่อการพิทักษ์
สิ่งแวดล้อมโลก ตามแถลงการณ์ Rio Declaration on Environment and
Development ณ ประเทศบราซิล ระหว่าง 3 -14 มิถุนายน 2535 มีนิยาม
โดยย่อ ใจความว่า :
“การกระทาใดอันเชื่อได้ว่าอาจจะนาไปสู่ภัยสาธารณะและสิ่งแวดล้อมที่
ร้ายแรงได้ แม้ว่ายังขาดการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจนไม่สามารถใช้
เป็นเหตุผลในการชะลอการใช้มาตรการต่าง ๆ เพื่อการป้ องกันหรือลดภัย
อันตรายที่อาจมีขึ้นได้”
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 51
คลื่นความแรงระดับอะไร จึงจะปลอดภัย ?
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 52
14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 53
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 58
คณะกรรมการร่วมจากหลายกระทรวงเสนอต่อรัฐบาลอินเดีย :
นามาตรการตามหลักการป้ องกันไว้ก่อน มาปฏิบัติ ดังนี้
- ปรับขีดจากัดการแผ่คลื่นจากเสาให้มีค่าลดต่าลง
- ยับยั้งการ ตั้ง เสาใกล้ชุมชนหนาแน่น โรงเรียน สนามเด็ก
เล่น และโรงพยาบาล
- การขยายโครงข่ายโทรศัพท์ภายในหัวเมือง เขตเทศบาลให้
ใช้เครื่องส่งกาลังต่า (Micro cells) ติดตั้งตามเสาแนวถนน
ผนังนอกอาคาร แทนเครื่องส่งกาลังสูง (Macro cells) ที่ใช้
เสาขนาดใหญ่ที่ตั้งบนพื้นดิน หรือ บนดาดฟ้าอาคาร ดังที่
ใช้ในปัจจุบัน ฯลฯ
สรุป : ปัจจุบันการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างคลื่นวิทยุในระดับต่า
กว่าขีดจากัด กับ ผลกระทบต่อสุขภาพ (Health impacts) เหล่านี้
• อาการต่างๆในกลุ่ม EHS (NSHS)
• Cancers and tumors
• Autism & ADHD
• Arhythmia
• Alzheimer’s & Parkinson diseases
• Behavioral problems
• Cardiovascular
• Cognitive functions
• Epilepsy
• Homonal disruptions
• Sterility
• Thyroid dysfunction
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 59
REFERENCE on Cellphone Tower = Mast = Antenna = Transmitter = Base-station (BS) :
+ Santini R et al. (2002). [Investigation on the health of people living near mobile telephone relay
stations: I/Incidence according to distance and sex] Pathol Biol (Paris) 50(6):369-373
+ Wolf R, Wolf D. (2004). Increased incidence of cancer near a cellphone transmitter station.Int J
Cancer Prev.1:123-128
+ Navarro EA et al. (2003) The microwave syndrome: a preliminary study in Spain, Electromag.
Biol.Med. 22: 161–169
+ Eger H et al (2004) The Influence of Being Physically Near to a Cell Phone Transmission Mast on
the Incidence of Cancer, Umwelt Medizin Gesellschaft
+ Abdel-Rassoul G et al (2007) Neurobehavioral effects among inhabitants around mobile phone
base stations. Neurotoxicology, Mar; 28(2):434-40
+ Oberfeld G, and Konig C. (2000) The Salzburg Model : A Precautionary Strategyfor Siting of
Base Stations. Proceedings: International Conference of Cell Tower Siting, Salzburg, June 7-8:
177-182. www.salzburg.gv.at/celltower_e
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 60
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 61
BOOKS :
- Dr. Robert O. Becker, M.D. Cross Currents : THE PERILSOF ELECTROPOLLUTION– THE PROMISE
OF ELECTROMEDICINE.2004. Jeremy P. Tarcher / Penguin. NY
- Devra Davis,PH.D.,M.P.H.Disconnect : The Truth About Cell Phone Radiation,What the Industry Is Doing
to Hide It, and How to Protect Your Family.2011. A PLUMEBOOK.NY
- MARTINBLANK,PhD. OVERPOWERED:What Science TellsUs about the Dangers of CellPhones and
Other WiFi-AgeDevices. 2014. Seven Stories Press . NY
MAJOR STUDIES :
- ECOLOGreport (2000). Mobile Telecommunicationsand Health.
- REFLEXFinal Report, May 2004
http://www.verumfoundation.de/www2004/html/pdf/euprojekte01/REFLEX_Final%20Report_Part%201.pdf
- The Bioinitiativereport : A Rationale for a Biological-basedPublic Exposure Standard for
ElectromagneticFields(ELFand RF). http://www.bioinitiative.org
- The INTERPHONEStudy. http://interphone.iarc.fr/
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 62
RESOURCES :
- TIMEMagazine Movie on the epidemic of EHS - Search For a Golden Cage. May 8, 2014 http://time.com/golden-cage/
- Refugees from Radiowaves- BBCWorld News (2009) https://www.youtube.com/watch?v=0c5irlrTopA
- AilingUS people find refuge from radio waves.
http://www.aljazeera.com/video/americas/2012/02/20122189014951813.html
- IARCVirtual Press Conference on Claasificationor RF as carcinogen.
http://terrance.who.int/mediacentre/audio/press_briefings/VPC_31MAY2011_IARCmonograph.mp3
- Electrosmog– Health and Environment (in 5 clips) :
https://www.youtube.com/watch?v=Lm72wQf1NaM&index=1&list=PLEAowARbUhT2kYSYdbIgqYQ4XhMtKNVve
https://www.youtube.com/watch?v=pHLLFvQHKEU&index=2&list=PLEAowARbUhT2kYSYdbIgqYQ4XhMtKNVve
https://www.youtube.com/watch?v=cX6-X7mkbps&index=3&list=PLEAowARbUhT2kYSYdbIgqYQ4XhMtKNVve
https://www.youtube.com/watch?v=tUNwEqSO8Xk&index=4&list=PLEAowARbUhT2kYSYdbIgqYQ4XhMtKNVve
https://www.youtube.com/watch?v=9XIyQl5Cfeo&index=5&list=PLEAowARbUhT2kYSYdbIgqYQ4XhMtKNVve
- Cancer risks @ http://www.nacst.org/cancer.html
- Neurological damage @ http://www.nacst.org/the-brain.html
- Reproductive system (fertility)damage @ http://www.nacst.org/sperm-and-the-ovaries.html
14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 63

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie เวทีสานเสวนา จัดโดยสภาอาจารย์ มอ. หาดใหญ่

หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
sivapong klongpanich
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
Met Namchu
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
taem
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
Nithimar Or
 

Ähnlich wie เวทีสานเสวนา จัดโดยสภาอาจารย์ มอ. หาดใหญ่ (20)

Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
 
Jitmm 2008 Summary Report
Jitmm 2008 Summary ReportJitmm 2008 Summary Report
Jitmm 2008 Summary Report
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1
 
50
5050
50
 
50
5050
50
 
Social Media Proposal
Social Media ProposalSocial Media Proposal
Social Media Proposal
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
Anhperf6
Anhperf6Anhperf6
Anhperf6
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
 
Guideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors preventionGuideline for medical errors prevention
Guideline for medical errors prevention
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
 
Telemed Lecture PSU Feb 20, 2023
Telemed Lecture PSU Feb 20, 2023Telemed Lecture PSU Feb 20, 2023
Telemed Lecture PSU Feb 20, 2023
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 

เวทีสานเสวนา จัดโดยสภาอาจารย์ มอ. หาดใหญ่

  • 1. ผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์จากการส่งคลื่น สัญญาณโทรศัพท์ ณ ห้องประชุม 210 สนง.อธิการบดี ม.อ. หาดใหญ่ 24 มีนาคม 2558 โดย ดร.สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ นักวิชาการอิสระ 14/05/58 1ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
  • 2. • ภูมิหลังและข้อมูลทั่วไป • หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ (Epidemiology & Laboratory Studies) • ตัวอย่างความเคลื่อนไหวของสมาคมทางการแพทย์สมาคม วิชาชีพ ภาครัฐ และภาคเอกชน • การต่อสู้ในศาลที่ฟังความได้ว่าคลื่นจากระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นอันตรายต่อมนุษย์ • มาตรการป้องกันไว้ก่อน : ทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดในขณะนี้ (มาตรการระวังภัย ไม่เหมือนกับ มาตรการต้องห้าม) • References and Resources 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 2
  • 3. กสทช.-ผู้ประกอบการ : มักอ้างอะไรกรณีติดตั้งเสาฯ • คลื่นโทรศัพท์ฯเป็นรังสีชนิดไม่ทาให้เกิดการแตกตัวของไออ้อน (Non-ionizing radiation) ไม่สามารถทาอันตรายต่อมนุษย์ได้ นอกจากทาให้เกิดความร้อน (Thermal effects) เหมือนเตาไมโครเวฟ • มาตรฐานปลอดภัยสากล (ICNIRP) ป้องกันผลกระทบทางความร้อนดังกล่าว • ผลวิจัยในโลก “ไม่พบ” หรือ “ยังไม่ชัดเจน” ในเรื่องนี้ โดยอ้างเอกสารจาก ICNIRP และ F/S ของ The International EMF Project, WHO เป็นหลัก แต่...ไม่เคยอ้างอิงถึง ผลการศึกษาวิจัยแม้แต่ชิ้นเดียวที่สรุปชัดเจนว่า คลื่นโทรศัพท์“ปลอดภัย”ต่อมนุษย์ (“ไม่พบ” แปลว่า ยังไม่รู้ กล่าวคือ อาจมี หรือ ไม่มี ก็ได้ !) • อ้างถึงงานวิจัยของ สจล. (กสทช. จ้างภายในวงเงิน 15 ล้านบาท) ทาการสุ่มวัดระดับ คลื่นรอบสถานีฐาน(เสา) ใน 5 ภูมิภาครวม 40 แห่ง พบว่าต่ากว่าขีดจากัดตามมาตรฐาน แล้วสรุปว่า “คลื่นสัญญาณที่แผ่จากสถานีฐานทั่วประเทศ จึงไม่เป็นอันตราย” ! 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 3
  • 5. กสทช.-ผู้ประกอบการ : มักอ้างอะไรกรณีติดตั้งเสาฯ (2) • ระดับคลื่นที่แผ่จากสถานีฐานยังน้อยกว่าจากเครื่องโทรศัพท์(มือถือ) • ปัญหาสุขภาพน่าจะเกิดจากเครื่อง (รับ) วิทยุ หรือ เครื่อง (รับ) โทรทัศน์ หรือ เตาไมโครเวฟ มากกว่า • หากไม่ให้ติดตั้งเสาที่นี่ นอกจากขาดรายได้ค่าเช่าแล้ว ท่านยังจะได้รับ รังสีคลื่นเช่นกัน เพราะเราจะหาที่ติดตั้งใหม่ในบริเวณใกล้เคียงอยู่ดี (กรณีการไม่ต่อสัญญาเช่าให้แก่ผู้ประกอบการ 2 รายที่ตั้งเสาบนดาดฟ้า อาคาร 2 หลังของ คณะวิจิตรศิลป์ ม.ช.) 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 5
  • 6. • ผมเป็นใคร ? - B.EE. M.EE. PhD. (EE) ประเทศ Australia - Director, Multidisciplinary Laboratory, คณะวิทยาศาสตร์ มหิดล - Deputy Head (Communications) Singapore Polytecnic SINGAPORE - หนังสือ ผลกระทบต่อสุขภาพจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (2008) สบท. กทช. - งานวิจัย การศึกษาทบทวนนโยบายและมาตรการการป้องกันผลกระทบหรือ ความเสี่ยงต่อสุขภาพจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (2010) นสธ., มช., สสส. - แปลรายงานการวิจัย REPORT OF THE INTER-MINISTERIAL COMMITTEE ON EMF RADIATION (2010) รัฐบาลอินเดีย - บทความ วาระสาคัญในการปฎิรูปประเทศ-คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสิ่งแวดล้อม (2014) ฯลฯ (อ่านทั้งหมดได้ที่ https://www.scribd.com/svongpanitlerd) 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 6
  • 7. • ผมเป็นใคร (2) ? - การไต่สวนของอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ในความ เดือดร้อนของชุมชน อ.สทิงพระ จ. สงขลา เมื่อ 2 กรกฎาคม 2556 - พยานผู้เชี่ยวชาญฝ่ายโจทก์คดีศาลแพ่ง (แผนกสิ่งแวดล้อม) หมายเลขดาที่ สว.(พ) ๓ /๒๕๕๔ และ สว.(พ) ๑/๒๕๕๖ ระหว่างโจทก์ นายสุพล สุขศรี มั่งมี กับพวกและจาเลย บจม. เอไอเอส กับพวกรวม 7 คน - พยานฝ่ายผู้ฟ้อง คดีหมายเลขดา ส.๑/๒๕๕๗ ศาลปกครองเชียงใหม่ (แผนกสิ่งแวดล้อม) ระหว่างชุมชน ต.น้าแวน พะเยา และผู้ถูกฟ้อง กสทช. กับพวกรวม ๓ คน - วิทยากร NBTC Public Forum ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ เมื่อ 29/4/2556 ที่ กสทช. และ ๔/๒๕๕๗ เมื่อ 19/9/2557 ที่โรงแรมมิราเคิล แกรนด์กรุงเทพฯ 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 7
  • 8. การศึกษาทบทวนนโยบายและมาตรการ การป้ องกันผลกระทบหรือความเสี่ยงต่อสุขภาพ จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (EMR exposure) โดย ดร.สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ เอกสารวิชาการภายใต้แผนงานสร้างเสริมการเรียนรู้กับสถาบันอุดมศึกษาไทย เพื่อการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ. หรือ TUHPP) สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สนับสนุนโดย สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กุมภาพันธ์ 2553 [1] [2] ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 8 www.tci.or.th/uploads/printfile/1269246 044.pdf http://www.tuhpp.net/?p=2511
  • 9. [3] Government of India, Ministry of Communications& InformationTechnology, Department of Telecommunications รัฐบาลประเทศอินเดีย กระทรวงสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ กรมสื่อสารโทรคมนาคม รายงานคณะกรรมการร่วมจากหลายกระทรวง เรื่องการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า REPORT OF THE INTER-MINISTERIAL COMMITTEE ON EMF RADIATION ผู้แปล: สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ ดร. นักวิชาการอิสระ ต้นฉบับ : www.dot.gov.in/sites/default/files/1.IMC%20Report_0.pdf คณะกรรมการ ๑) ที่ปรึกษา (เทคโนโลยี) ประธานกรรมการ ๒) รองอธิบดีอาวุโส (BW) กรมสื่อสาร โทรคมนาคม กรรมการและเลขานุการ ๓) นักวิทยาศาสตร์ สภาวิจัยแพทยศาสตร์แห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข ๔) ที่ปรึกษา สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ๕) นักวิทยาศาสตร์ กระทรวงสิ่งแวดล้อมและป่าไม้ ๖) รองอธิบดี (R) TEC กรมสื่อสารโทรคมนาคม ๗) ที่ปรึกษา ด้านสื่อสารไร้สาย กรมสื่อสาร โทรคมนาคม ๘) รองอธิบดี (CS) กรมสื่อสารโทรคมนาคม ฉบับแปลเป็นไทย : http://www.scribd.com/svongpanitlerd 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 9
  • 10. คดีความศาลแพ่ง (แผนกคดีสิ่งแวดล้อม) รายแรกในไทย • หมายเลขดาที่ สว.(พ) 3/2554 และ (พ) 1/2556 : ศาลได้ตัดสินว่า “คลื่นที่แผ่จากเสาฯจัดเป็นมลพิษตาม กฎหมายสิ่งแวดล้อมชนิดหนึ่ง เจ้าของต้องรับผิดชอบหาก เกิดความเสียหาย แม้นได้ปฏิบัติตามมาตรฐานของ กสทช. ก็ตาม” • คดีกาลังเข้าสู่การพิจารณาโดยศาลฎีกา หลังจากที่ศาล อุทธรณ์ได้สั่งกลับคาพิพากษาของศาลต้น 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 10
  • 11. ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ) ผู้เรียกต้นทาง ผู้รับปลายทาง ชุมสาย เสาหรือสถานีฐาน 2เสาหรือสถานีฐาน 1 ฤ เสารับ-ส่งสัญญาณ หรือสถานีฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 1114/05/58
  • 12. เสาโทรศัพท์หรือสถานีฐาน การส่งคลื่นระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผู้ใช้รับคลื่นจากเครื่องเฉพาะ ในช่วงที่ใช้หรือเปิดเครื่องไว้ จึงจะเลือกใช้มากหรือน้อยก็ได้ ผู้อยู่ใกล้เสาฯไม่อาจมีทางเลือก คลื่นแผ่จากเสาฯจะถูกดูดกลืนสู่ ร่างกายในทุกๆส่วนและอย่าง ตลอดเวลา ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 12 โทรศัพท์มือถือ 14/05/58 ผู้สูบมือ 2 ผู้สูบบุหรี่
  • 13. ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ ผลกระทบต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค กรณีคลื่นโทรศัพท์และ เสาส่งสัญญาณ 13ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ Source: Dr John Walker of Sutton Coldfield, using data collected from ill-health clusters around masts 13
  • 14. ผังความถี่สนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic spectrum) 14/05/58 14ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ รังสีชนิดไม่ก่อไอออน รังสีชนิดก่อเกิดไอออน (non-ionizing radiation) (ionizing radiation) ที่มา: Swiss Agency for the Environment, Forests and Landscape- Electrosmog in the environment, June 2005
  • 15. ความเห็นตามแนวคิด ฟิสิกส์ (Physics) ดั้งเดิม Ionizing Radiation (ก่อให้แตกตัวเป็นไอออน) รังสี เอ็กส์ แกมมาอัลฟา ฯลฯ ผลกระทบต่อชีวภาพ (Biological, long- term effects) • ทาให้พันธะเคมีของโมเลกุลเนื้อเยื่อ / เซลล์แตก ตัวเป็นไอออน (Free radicals หรือ อนุมูลอิสระ) • ทาลาย หรือทาให้เซลล์ของสิ่งมีชีวิตชารุด อาทิ หน่วยพันธุกรรมเป็นพิษ (genotoxicity) แตกขาด ของสายเดี่ยวและสายคู่ของดีเอ็นเอ (single-and double-strandDNA breaks) เป็นต้น Non-ionizing Radiation (ไม่ก่อให้แตกตัว) คลื่นความถี่วิทยุ/ไมโครเวฟ (โทรศัพท์เคลื่อนที่, Wi-Fi) ฯลฯ ผลกระทบเชิงความร้อน (Thermal, acute short-term effects) • ทาให้เนื้อเยื่อสิ่งมีชีวิตอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น เช่น เตาไมโครเวฟ (dielectric heating) 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 15 มะเร็ง (carcinogenicity) และโรคอื่นๆ ICNIRP(1998); กทช.(2550) : ขีดจากัดความเข้ม E (V/m)
  • 16. Thermal, Non-thermal (biological) , and Health Effects - มาตรฐานความปลอดภัย: ป้องกันเฉพาะผลกระทบเชิงความร้อน - ต่อมาแพทย์พบคนไข้ป่วยเนื่องจากใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือ อาศัยอยู่ใกล้กับเสา(สถานีฐาน) เพิ่มขึ้นทุกวัน ทั้งๆที่คลื่นที่แผ่ล้วน ต่ากว่าขีดจากัดตามมาตรฐานความปลอดภัยมาก - แพทย์และนักวิทยาศาสตร์บางกลุ่มจึงเชื่อว่า มาตรฐานดังกล่าว อาจยังไม่ปลอดภัยพอทางสาธารณสุข - จึงเริ่มศึกษาวิจัยอย่างกว้างขวางทางระบาดวิทยา (Epidemiology) และ การทดลองในห้องปฏิบัติการ (in vivo and in vitro) 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 16
  • 17. http://www.iemfa.org/index.php/the-alliance/appealing-medical-groups แถลงการณ์ อุทธรณ์ และคาเตือนของแพทย์และ นักวิทยาศาสตร์ให้ป้ องกันภัยเสี่ยงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 1714/05/58
  • 18. ผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Effects) ของผู้อาศัยใกล้ สถานีฐาน(เสา) ภายใน 400 ม. จากการวิจัยทางระบาดวิทยา • ปัญหาทาง สุขภาวะ เช่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ วิงเวียน นอนไม่หลับ ความจาเสื่อม ขาดสมาธิ สั่นกระตุก ซึมเศร้า ฉุนเฉียว สายตาพร่ามัว ฯลฯ (บัญญัติศัพท์ใหม่ขึ้นคือ อาการแพ้ หรือไวต่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, EHS) - EHS (Electromagnetic hypersensitivity Syndrome) หรือ NSHS • โรคมะเร็งส่วนต่างๆของร่างกาย (ผู้อาศัยรอบเสาภายใน 350-400 ม.) - Eger H et al. (2004) พบอัตราความเสี่ยงเพิ่ม 3 กว่าเท่า - Wolf and Wolf (2004) พบอัตราเสี่ยงเพิ่ม 4.15 เท่า (หมายเหตุ: กรณีที่ควรศึกษาอย่างยิ่ง ซึ่งเกิดขึ้นที่คณะวิจิตรศิลป์ มช.) 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 18
  • 19. อาการแพ้คลื่น (EHS) ไม่ใช่เรื่อง “คิดไปเอง” • สวีเดน เป็นประเทศแรกในโลกที่จัดให้ EHS เป็น disability ประเภทหนึ่ง (The Swedish Association for the Electrohypersensitive, aka FEB http://translate.google.ca/translate?hl=en&sl=sv&u=http://eloverkanslig.org/&prev=/search%3Fq%3 Deloverkanslig.org%26client%3Dfirefox-a%26hs%3D4Om%26rls%3Dorg.mozilla:en- US:official%26channel%3Dnp) • อดีตนายกหญิงคนแรก (3 สมัย) Dr. Gro Brundtland, MD., MPH ของ ประเทศนอร์เว และอดีตเลขาธิการ WHO ประกาศตนว่าแพ้คลื่น (EHS) • ประกาศที่ 0014/2012 ของสภายุโรปว่าด้วยการแพ้สารเคมีและคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า ให้ทาบัญชีจานวนผู้แพ้สารเคมี (MCS) และผู้แพ้คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า (EHS) เพิ่มลงในสถิติจาแนกระหว่างประเทศของโรคและ ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (ICD) 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 19
  • 20. Gro Brundtland, M.D., MPH อดีตนายกหญิง 3 สมัย ประเทศนอร์เว และ อดีตเลขาธิการ WHO 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 20
  • 22. 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 22 เส้นสีดา (บน) แสดงความเข้ม E วัดที่ระดับสูงจาก พื้น 15 เมตรตามแนว main beam และเส้นสี แดง (ล่าง) วัดที่ระดับสูงจากพื้น 1.50 เมตร ที่มา : Electrosmog in the environment. Swiss Agency for the Environment, Forest and Landscape SAEFL
  • 24. Biological (Non-thermal) Effects Studies : The BioInitiative Report (2007) (2012) (Updated in 2014) : http://www.bioinitiative.org/ • ทบทวนหลักฐานผลการวิจัยเพิ่มเติมจากปี 2007 ถึง 2012 พบความสัมพันธ์ เพิ่มมากขึ้นระหว่างการสัมผัสรังสีคลื่นโทรศัพท์กับความผิดปกติต่างๆใน ร่างกายที่เกิดจากคลื่นในระดับความแรงน้อยกว่ามาตรฐานตามที่กาหนด นับพันจนถึงหมื่นเท่า หรือมากกว่าถึงล้านเท่าขึ้นไป • จากราว 1,800 รายงาน ได้พบ biological & health effects เช่น gene transcription; stress proteins; genotoxicity and single-and double-strand DNA damage; neurotoxicity; carcinogenicity; melatonin reduction; effects on offspring behavior; human semen.. 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 24
  • 25. • Genotoxicity จากรังสีคลื่นวิทยุ: จาก 86 รายงาน (ปี 2007-2012) 63% ที่พบผลกระทบ เทียบกับ 37% ที่ไม่พบผลกระทบ • Neurotoxicity 155 รายงาน 63% ที่พบ เทียบกับ 37% ที่ไม่พบ • Biological effects จาก เสาโทรศัพท์ฯ >5 รายงาน พบจากคลื่นในระดับ 0.03 - 0.5 mW/m2 (มาตรฐาน: 4,500 และ5,000 mW/m2 ) หมายเหตุ BioInitiative Report เขียนโดยนักวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์จานวน 29 ท่าน : ประกอบด้วย 20 PhD , 1 DrSc, 9 MD, 1 DVM, and 4 MSc, MA, MPH, or MSPAS จาก 10 ประเทศ USA 10 India 2 Sweden 6 Italy 2 Austria 2 Denmark 1 Canada 2 Russia 1 Greece 2 Slovak Republic 1 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 25
  • 27. 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 27 ที่มา: Dariusz LeszczynskiDSc. PhD. Key-note presentation at the Jubiläums-Generalversammlungof the Swiss association Gigaherz, on March 7, 2015. https://betweenrockandhardplace.wordpress.com/2015/03/07/science-and-conflict-of-interest-in-bioelectromagnetics/
  • 28. 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 28 Germany’s Alex Lerchl Does a U-Turn (March 13, 2015) • Tumor-promoting effects of RF-EMF exposed mice have been reported in2010. • We have replicated the study with higher numbers of mice per group. • We could fully confirm the previous results, thus the effects are reproducible. • We hypothesize that metabolic changes are responsible for the effects observed. <http://www.microwavenews.com/news-center/rf-animal-cancer-promotion>
  • 29. US Air Force RF review in 1988 acknowledges non-thermal biological effects: Abstract The study of human exposure to RF/microwave radiation has been the subject of widespread investigationand analysis. It is known that electromagneticradiation has a biological effect on human tissue Soviet Union & Eastern European Standards In the Soviet Union, permissible exposure levels for whole-body irradiation may not exceed 0.01 mW/cm2. Czechoslovakia has recommended a maximum exposure level of 0.025 mW/cm2 Conclusion Research conductedover the past 30 years has provideda basis for understandingthe effect of irradiationof biological materials. Experimental evidence has shown that exposureto low intensity radiation can have a profound effect on biological processes. The non-thermal effects of RF/MW radiationexposure are becoming important measures of biological interactionwith EM fields. 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 29 แหล่งที่มา : http://bit.ly/1uGwflC
  • 30. ความเห็นสมัยใหม่ทาง ฟิสิกส์ชีวภาพ • หลักฐานการศึกษาวิจัยได้ชี้ชัดเจนว่า รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่ก่อให้เกิด ไอออน ในระดับความแรงต่ากว่า มาตรฐานความปลอดภัย เป็นอย่างมาก (เช่น มาตรฐาน ICNIRP, FCC, IEEE,CENELEC) ก็สามารถเกิดผลกระทบต่อชีวภาพ ซึ่งอาจนาไปสู่การเจ็บป่วย (Health effects) ต่อไปได้ • เช่น สายของดีเอ็นเอ (DNA) เกิดแตกขาดแบบสายเดี่ยวและสายคู่ ซึ่งถ้าร่างกาย ซ่อมแซมไม่ทัน หรือซ่อมผิดไปจากที่ควรจะเป็น จะนาไปสู่ปัญหาสุขภาพใน ระยะยาวอย่างเช่น โรคมะเร็ง และโรคที่เกิดจากประสาทเป็นพิษ ฯลฯ 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 30 The Comet assay for detectingDNA damage
  • 31. • หมายถึง เสาโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ เสาสถานีวิทยุและโทรทัศน์ • เครื่องโทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์ไร้สาย (ในบ้าน/สานักงาน) • อุปกรณ์ไร้สายต่างๆ เช่นไวไฟเร้าเตอร์ (ไวแมกส์) และอื่นๆ 31ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ
  • 32. 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 32 Group 1 Carcinogenic to humans 108 agents Group 2A Probably carcinogenic to humans 64 Group 2B Possibly carcinogenic to humans 271 Group 3 Not classifiable as to its carcinogenicity 508 Group 4 Probably not carcinogenic to humans 1
  • 33. 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 33 คลื่นโทรศัพท์อาจส่งผลต่อการพัฒนาของ สมองทารกในครรภ์ และอาจเสี่ยงต่อการเกิด โรคสมาธิสั้นได้ (ศจ. ดร. Hugh Taylor ผู้อานวยการฝ่ายสูติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเยล) http://www.thaihealth.or.th/Content/953- %22%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%96%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%A0%E0%B8%B1 %E0%B8%A2%22%20%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9% 89%E0%B8%82%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0 %B8%A0%E0%B9%8C.html
  • 36. 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 36
  • 37. 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 37 Dariusz Leszczynski DSc. PhD
  • 38. เหตุใดจึงใช้เวลานานมากก่อนมีข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์? (อ่านรายละเอียดใน “วาระสาคัญในการปฏิรูปประเทศ-คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใน สิ่งแวดล้อม (2014)”) • ข้อจากัดทางทรัพยากรการวิจัย (ระบาดวิทยา+ห้องทดลอง) • ความซับซ้อนการวิจัยในเรื่องนี้ (dosimetry ตลอดจน Latency) • เหตุผลทางการเมือง-รัฐ ซึ่งมักมีส่วนได้ส่วนเสียกับอุตสาหกรรม • การแทรกแซงองค์กรในและระหว่างประเทศ • แทรกแซง หรือปกปิดผลการวิจัย หรือการทาลายนักวิจัยอิสระ เช่น กรณี หนังสือ “ผลกระทบฯ” สบท., หรือข่าวเชิงสืบสวน และ หนังสือ : คลิป“ภัยพิบัดการเจ็บตาย” : โทรศัพท์มือถือและสมองของเด็ก (‘Casualty catastrophe’: Cell phones and child brains <http://www.youtube.com/watch?v=y18EfVTDxuw > คา แปลบันทึกเสียงที่ http://www.scribd.com/svongpanitlerd ) และ หนังสือ “Disconnect” โดย DEVRA DAVIS, PhD. M.P.H. 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 38
  • 39. 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 39 Green Street Radio, WBAI-FM (New York City), 8 PM, Mar 10, 2015 http://www.greenstreetradio.com/wireless-radiation-what-scientists-know-and-you-dont-with-dr-joel- moskowitz/ สัมภาษณ์ทางวิทยุ : ภาพรวมในอันตรายของรังสีคลื่นวิทยุ (RF) รวมถึงการขัดขวางโดย ภาคอุตสาหกรรมต่อการแสวงความจริง
  • 40. •คลื่นวิทยุเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งคล้ายกับ DDT จึงทาหนังสือลว. 16/3/2012 ร้องเรียนต่อ สภาแห่งชาติให้ลดค่าเกณฑ์ปลอดภัยลงอีกให้ไม่เกิน 0.6 V/m (1 mW/m2) http://mieuxprevenir.blogspot.com/2012/03/switzerland-waves-from-wireless.html ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 4014/05/58 สมาคมแพทย์แห่งประเทศออสเตรีย เรียกร้องปรับมาตรฐานใหม่ ให้เกณฑ์มี ค่าจากัดปกติที่ระดับ ≤0.001 mW/m2 http://www.aerztekammer.at/documents/10618/976981/EMF-Guideline.pdf
  • 41. สหภาพครูแห่ง Los Angeles (สมาชิก 40,000) มีมติไม่ให้ใช้เทคโนโลยีไร้สายในโรงเรียน • Los Angeles Teacher's Union Passes Resolution to Ensure Safety from Hazardous Electromagnetic Fields in Schools • ให้ใช้ระบบสายแทนการใช้ไวไฟไร้สายในห้องเรียน 14/05/58 41ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ สถาบันแพทย์ศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมแห่งสหรัฐ (AAEM) ได้ศึกษาผลกระทบ จากสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพมนุษย์เป็นเวลากว่า 50 ปีพบความสัมพันธ์ระหว่างการ สัมผัสคลื่น RF กับโรคต่างๆ เช่น มะเร็ง โรคทางระบบประสาท การสืบพันธุ์ ภูมิคุ้มกัน จนถึง การแพ้คลื่น (EHS) http://aaemonline.org/emf_rf_position.html
  • 42. ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 42 ศาลอุทธรณ์ตูนิเซียพบว่าเสาฯมีอันตรายต่อชุมชน สั่งรื้อถอนเสาโทรศัพท์มือถือที่ตั้งบนหลังคาบ้าน
  • 43. : January 25, 2012 THEY have long feared that a mobile phone mast has been causing cancer in their village. ประชากรจาก 400 คนในหมู่บ้าน Benajarafe ในสเปนมีผู้ป่วยเป็นมะเร็งสูงถึง 50 ราย โดยได้เสียชีวิตไปแล้ว 30 คนในไม่กี่ปีที่ผ่านมา http://www.theolivepress.es/spain-news/2012/01/25/cancer-mast-finally-comes-down-in-spai ออสซีสงสัยคนเนื้องอกในสมองจากเสามือถือบนอาคาร กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ 12 พฤษภาคม 2549 14:37 น. สานักงาน 2 ชั้นบนสุดของอาคารแห่งหนึ่งในนครเมลเบิร์นของออสเตรเลียปิดทาการชั่วคราว หลังจาก เจ้าหน้าที่ 7 คนที่ทางานในนั้นตรวจพบเนื้องอกสมองก่อให้เกิดความวิตกว่าอาจมีสาเหตุมาจากเสาส่ง สัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่บนหลังคาอาคาร VICTORY: Councillor Concepcion Labao ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 43
  • 44. 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 44 ศาลสูงสุดของมลรัฐราชสถานในอินเดีย สั่งถอดถอนเสาในมลรัฐ ที่ตั้งใกล้โรงเรียน สถาบันการศึกษา โรงพยาบาล สนามเด็กเล่น ทั้งหมดออกไปภายใน 2 เดือน Supreme Court of India Orders Cell Towers Removed From Schools, Colleges, Hospitals in Rajasthan On November 27, 2012 the High Court of the state of Rajasthan, ordered the removal of all cell towers from the vicinity of schools, colleges, hospitals and playgrounds because of radiation “hazardous to life.” The court’s amazing 200+ page decision thoroughly reviews the worldwide evidence that cell towers are harming human beings and wildlife. On July 5, 2013 the Supreme Court of India upheld this decision.
  • 45. City of Mumbai Prohibits Cell Towers near Schools, Colleges, Orphanages • Cell towers are being dismantled by the thousands in various parts of India. • In August 2013 the city of Mumbai, the most populous city in India, prohibited cell towers within100 meters of schools, colleges, orphanages, child rehabilitation centers, and old age homes. It ordered that existing antennas on schools, colleges and hospitals be removed. It also prohibited the installation of antennason residential rooftops without the consent of every person on the top floor, as well as the consent of70% of the people in the rest of the building. And it began the process of dismantling 3,200 illegal rooftop towers. The policy, first developed in January2013, is here: http://www.mcgm.gov.in/irj/go/km/docs/documents/MCGM%20Department%20List/Public%20Relation%20Officer/Press %20Release/Public%20Notice%20for%20Chief%20Engineer%20Development%20Plan%20Department%20eng.pdf 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 45
  • 46. Year 2005 Description The brochure describes the main sources of electrosmog, assesses the associated risks, identifies existing gaps in research and suggests ways in which we can reduce our own level of exposure. Pages 56 Number DIV-5801-E Publisher Federal Office for the Environment FOEN Series Non-specialist publications Documents Electrosmog in the environment. 2005 | 5121 kB | PDF Electrosmog in the environment (หมอกคลื่นไฟฟ้ าในสิ่งแวดล้อม) ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 46 เอกสารเผยแพร่ โดยรัฐบาลสวิสเซอร์แลนด์ http://www.bafu.admin.ch/publikationen/publikation/00686/index.html?lang=en
  • 47. - Major WI-FI PROHIBITED IN DAYCARE CENTERS. Le Monde, 29/1/ 2015 France used a precautionary approach and adopted a novel law regulating public exposure to radiofrequency radiation, provisions include a ban on all wireless devices in “spaces dedicated to the care, resting and activities of children under 3 years,” primarily nurseries and daycare centers. Use of wi-fi will still be allowed in primary schools, but only when no alternative is available and it must be disabled when not in use. 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 47
  • 48. New Russian Recommendations Against Cell Phone Use By Children Russian National Committee on Non-Ionizing Radiation Protection (RNCNIRP) has issued a resolution, April 2011, addressing the urgent problem of cell phone use by children. The document cites studies showing that since 2000 the rate of nervous system disorders among 15 to 17 year olds has increased by 85%, epilepsy has increased by 36%, mental retardation has increased by 11%, and blood and immune disorders have increased by 82%. In children less than 14 years old nervous system disorders have increased by 58%, and blood and immune disorders have increased by 64%. 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 48
  • 49.
  • 50. ประมาณการต้นทุนโรคมะเร็งเนื่องจากเสาในวันข้างหน้า • เนื่องจาก Latency ของมะเร็งที่ยาวนาน ถ้าหากเป็นเช่นนี้ต่อไปเรื่อยๆ.... ในอีก 5 ปี..10 ปี...ชาติ สังคม จนถึง ครอบครัว อาจเผชิญภัยใหญ่หลวง จากผู้ป่วยเป็นมะเร็งรายใหม่ที่เพิ่มจากอัตราปกติในกลุ่มผู้อาศัย ใกล้กับ เสาโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระยะ 400 เมตรปีละถึงประมาณ 40.000 คน สมมติฐาน : ประชากรเฉลี่ย 1/3 อยู่ใกล้เสา มีอัตราเสี่ยงเพิ่ม 3 – 4 เท่า สถิติผู้เสียชีวิตจากมะเร็ง 1 : 1,000 คน ต้นทุนต่อคนต่อปี 200,000 บาท ผู้เป็นมะเร็งรายใหม่ 40,000 คนทุกปี ต้นทุนทั้งระบบโดยรวมเพิ่มขึ้นปีละ 80,000 ล้านบาทในทุกปี ... ยังไม่รวมในความสูญเสียจากโรคและประเด็นอื่นๆที่ประมาณการแทบจะไม่ได้ 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 50
  • 51. ทางออก: มาตรการการป้องกันไว้ก่อน คลื่นวิทยุ จัดเป็นสารอาจทาให้เป็นมะเร็งในมนุษย์ = เหตุผลอันเพียงพอ ในทางสาธารณสุขที่จาเป็นต้องใช้ “หลักการป้ องกันไว้ก่อน” Precautionary Principle: เป็นหลักการสหประชาชาติเพื่อการพิทักษ์ สิ่งแวดล้อมโลก ตามแถลงการณ์ Rio Declaration on Environment and Development ณ ประเทศบราซิล ระหว่าง 3 -14 มิถุนายน 2535 มีนิยาม โดยย่อ ใจความว่า : “การกระทาใดอันเชื่อได้ว่าอาจจะนาไปสู่ภัยสาธารณะและสิ่งแวดล้อมที่ ร้ายแรงได้ แม้ว่ายังขาดการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจนไม่สามารถใช้ เป็นเหตุผลในการชะลอการใช้มาตรการต่าง ๆ เพื่อการป้ องกันหรือลดภัย อันตรายที่อาจมีขึ้นได้” 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 51
  • 53. 14/05/58 ดร. สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 53
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 57.
  • 58. 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 58 คณะกรรมการร่วมจากหลายกระทรวงเสนอต่อรัฐบาลอินเดีย : นามาตรการตามหลักการป้ องกันไว้ก่อน มาปฏิบัติ ดังนี้ - ปรับขีดจากัดการแผ่คลื่นจากเสาให้มีค่าลดต่าลง - ยับยั้งการ ตั้ง เสาใกล้ชุมชนหนาแน่น โรงเรียน สนามเด็ก เล่น และโรงพยาบาล - การขยายโครงข่ายโทรศัพท์ภายในหัวเมือง เขตเทศบาลให้ ใช้เครื่องส่งกาลังต่า (Micro cells) ติดตั้งตามเสาแนวถนน ผนังนอกอาคาร แทนเครื่องส่งกาลังสูง (Macro cells) ที่ใช้ เสาขนาดใหญ่ที่ตั้งบนพื้นดิน หรือ บนดาดฟ้าอาคาร ดังที่ ใช้ในปัจจุบัน ฯลฯ
  • 59. สรุป : ปัจจุบันการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างคลื่นวิทยุในระดับต่า กว่าขีดจากัด กับ ผลกระทบต่อสุขภาพ (Health impacts) เหล่านี้ • อาการต่างๆในกลุ่ม EHS (NSHS) • Cancers and tumors • Autism & ADHD • Arhythmia • Alzheimer’s & Parkinson diseases • Behavioral problems • Cardiovascular • Cognitive functions • Epilepsy • Homonal disruptions • Sterility • Thyroid dysfunction 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 59
  • 60. REFERENCE on Cellphone Tower = Mast = Antenna = Transmitter = Base-station (BS) : + Santini R et al. (2002). [Investigation on the health of people living near mobile telephone relay stations: I/Incidence according to distance and sex] Pathol Biol (Paris) 50(6):369-373 + Wolf R, Wolf D. (2004). Increased incidence of cancer near a cellphone transmitter station.Int J Cancer Prev.1:123-128 + Navarro EA et al. (2003) The microwave syndrome: a preliminary study in Spain, Electromag. Biol.Med. 22: 161–169 + Eger H et al (2004) The Influence of Being Physically Near to a Cell Phone Transmission Mast on the Incidence of Cancer, Umwelt Medizin Gesellschaft + Abdel-Rassoul G et al (2007) Neurobehavioral effects among inhabitants around mobile phone base stations. Neurotoxicology, Mar; 28(2):434-40 + Oberfeld G, and Konig C. (2000) The Salzburg Model : A Precautionary Strategyfor Siting of Base Stations. Proceedings: International Conference of Cell Tower Siting, Salzburg, June 7-8: 177-182. www.salzburg.gv.at/celltower_e 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 60
  • 62. BOOKS : - Dr. Robert O. Becker, M.D. Cross Currents : THE PERILSOF ELECTROPOLLUTION– THE PROMISE OF ELECTROMEDICINE.2004. Jeremy P. Tarcher / Penguin. NY - Devra Davis,PH.D.,M.P.H.Disconnect : The Truth About Cell Phone Radiation,What the Industry Is Doing to Hide It, and How to Protect Your Family.2011. A PLUMEBOOK.NY - MARTINBLANK,PhD. OVERPOWERED:What Science TellsUs about the Dangers of CellPhones and Other WiFi-AgeDevices. 2014. Seven Stories Press . NY MAJOR STUDIES : - ECOLOGreport (2000). Mobile Telecommunicationsand Health. - REFLEXFinal Report, May 2004 http://www.verumfoundation.de/www2004/html/pdf/euprojekte01/REFLEX_Final%20Report_Part%201.pdf - The Bioinitiativereport : A Rationale for a Biological-basedPublic Exposure Standard for ElectromagneticFields(ELFand RF). http://www.bioinitiative.org - The INTERPHONEStudy. http://interphone.iarc.fr/ 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 62
  • 63. RESOURCES : - TIMEMagazine Movie on the epidemic of EHS - Search For a Golden Cage. May 8, 2014 http://time.com/golden-cage/ - Refugees from Radiowaves- BBCWorld News (2009) https://www.youtube.com/watch?v=0c5irlrTopA - AilingUS people find refuge from radio waves. http://www.aljazeera.com/video/americas/2012/02/20122189014951813.html - IARCVirtual Press Conference on Claasificationor RF as carcinogen. http://terrance.who.int/mediacentre/audio/press_briefings/VPC_31MAY2011_IARCmonograph.mp3 - Electrosmog– Health and Environment (in 5 clips) : https://www.youtube.com/watch?v=Lm72wQf1NaM&index=1&list=PLEAowARbUhT2kYSYdbIgqYQ4XhMtKNVve https://www.youtube.com/watch?v=pHLLFvQHKEU&index=2&list=PLEAowARbUhT2kYSYdbIgqYQ4XhMtKNVve https://www.youtube.com/watch?v=cX6-X7mkbps&index=3&list=PLEAowARbUhT2kYSYdbIgqYQ4XhMtKNVve https://www.youtube.com/watch?v=tUNwEqSO8Xk&index=4&list=PLEAowARbUhT2kYSYdbIgqYQ4XhMtKNVve https://www.youtube.com/watch?v=9XIyQl5Cfeo&index=5&list=PLEAowARbUhT2kYSYdbIgqYQ4XhMtKNVve - Cancer risks @ http://www.nacst.org/cancer.html - Neurological damage @ http://www.nacst.org/the-brain.html - Reproductive system (fertility)damage @ http://www.nacst.org/sperm-and-the-ovaries.html 14/05/58 สุเมธ วงศ์พานิชเลิศ 63