SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 8
งานชิ้นที่ 10 เรื่อง ไตรสิกขา
ไตรสิกขา
ขบวนการการศึกษา 3 องค์ประกอบ เพื่อการบรรลุเป้าหมายของดุลยภาพของชีวิตประกอบด้วย
1. ศีล หรือขบวนการระเบียบปฏิบัติ(วินัย)เพื่อให้เกิดวาจาชอบ การกระทาชอบและการประกอบอาชีพชอบ เป็นแนวทางและกรอบที่กากับการ
กระทาหรือการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ นั่นเอง
2. สมาธิ หรือขบวนการฝึกอบรมจิตสานึกเพื่อให้เกิดความเพียรชอบ การระลึกชอบและมีจิตสานึกที่ชอบ เป็นขบวนการเพื่อให้จิตมีการพัฒนาความ
สานึกเพื่อความสมดุลทั้งจิตและกาย เป็นขบวนการเกื้อหนุนให้สิ่งที่รับเข้ามาในชีวิตดาเนินไปด้วยประสิทธิภาพสูงสุด
3. ปัญญา หรือขบวนการทางความรู้ เป็นวิธีการอบรมศึกษาเพื่อให้เกิดวิชาความรู้และปัญญา ซึ่งจะยังผลให้เกิดมีทัศนะ ความเชื่อ ค่านิยมที่ถูกต้อง
มีความดาริตริตรองที่ชอบ ปัญญาเป็นตัวควบคุมกาหนดการรับชนิดต่างๆเข้าสู่ชีวิต
ไตรสิกขา มีองค์ประกอบของมรรค 8 ประการ
ศีล
• สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ)
• สัมมาสังกัปปะ (ดาริชอบ)
สมาธิ
• สัมมาวาจา(วาจาชอบ)
• สัมมากัมมันตะ (กระทาชอบ)
• สัมมาอาชีวะ (อาชีพชอบ)
ปัญญา
• สัมมาวายามะ(พยายามชอบ)
• สัมมาสติ (ระลึกชอบ)
• สัมมาสมาธิ (จิตมั่นชอบ)
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
ศีลสิกขา
ในด้านของศีลสิกขาคือต้องศึกษาในเรื่องศีล อันได้แก่เจตนาที่จะงดเว้นไม่ละเมิดข้อห้ามด้านกาย ด้านวาจา ให้รักษาความเป็นปกติของ
ความเป็นมนุษย์ผู้ซึ่งมีใจสูง หรือ อาจกล่าวได้ว่าในด้านนี้เป็นการพัฒนาในเรื่องของพฤติกรรม โดยมีส่วนสาคัญที่ควรเน้น คือ
1. พฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพหรือโลกแห่งวัตถุ หรืออาจกล่าวว่าเป็นการรู้จักใช้อินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ในการ
รับรู้โดยไม่เกิดผลเสียหรือเกิดโทษ แต่ให้เกิดผลดี ส่งเสริมคุณภาพชีวิต และการฝึกอินทรีย์ให้มีประสิทธิภาพในการใช้งาน ให้ตาดูเป็น ให้หูฟัง
เป็น ฯ อยู่ในหลักของอินทรีย์สังวร นั่นเอง การเสพ การบริโภคปัจจัย๔ การใช้ประโยชน์จากวัตถุ จากอุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งเทคโนโลยีด้วย
ปัญญาที่รู้เข้าใจมุ่งคุณค่าที่แท้จริง ให้ได้คุณภาพชีวิต ไม่หลงไปกับคุณค่าเทียมตามค่านิยมที่ผิด ๆ อันเป็นค่านิยมที่ฟุ้งเฟ้อโก้เก๋ ที่ทาให้บริโภค
มาก แต่เสียคุณภาพชีวิต เรียกง่ายๆ ว่า กินเป็น บริโภคเป็น ใช้เป็น เริ่มด้วยการกินพอดี อันเป็นการปฏิบัติตามหลักของ โภชเนมัตตัญญุตา
2. พฤติกรรมที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคมและโลกแห่งชีวิต เช่น การอยู่ร่วมกันในทางสังคม โดยไม่เบียดเบียน ก่อความทุกข์ความเดือดร้อน
หรือก่อเวรภัย แต่รู้จักมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนมนุษย์อย่างช่วยเหลือเกื้อกูล ดารงตนอยู่ในกรอบของศีล ตาเนินชีวิตตามหลักของศีลให้ความ
ร่วมมือกับการรักษากติกาของสังคม กฎเกณฑ์หรือกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน หรือวินัยแม่บทของชุมชนหรือสังคมของตน และวัฒนธรรม
รวมทั้งสิ่งที่เรียกว่าจรรยาบรรณต่างๆ และรู้จักแบ่งปัน การเผื่อแผ่แบ่งปันช่วยเหลือ ตามหลักของการให้ทาน เพื่อช่วยเหลือปลดเปลื้องความทุกข์
ของเพื่อนมนุษย์ให้ความสุข และส่งเสริมการสร้างสรรค์ สิ่งที่ดีงาม ตลอดจนการประพฤติเกื้อกูลแก่ชีวิตอื่นๆ ทั้งสัตว์มนุษย์และพืชพันธุ์ เช่น
การร่วมสร้างเขตอภัยทาน นิวาปสถาน การปลูกสวนป่า สร้างแหล่งต้นน้า
3. พฤติกรรมที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ การเลี้ยงชีพอย่างมีศิลปวิทยาในวิชาชีพที่ฝึกไว้อย่างดี มีความชานาญที่จะปฏิบัติให้ได้ผลดีและเป็นสัมมา
อาชีพ ซึ่งเป็นลักษณะที่สาคัญ คือ ไม่เป็นไปเพื่อความเบียดเบียน ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น หรือก่อผลเสียหายแก่สังคม หากแต่เป็นเครื่อง
แก้ปัญหาของชีวิตและแก้ปัญหาของสังคม มีชีวิตที่เป็นไปเพื่อสร้างสรรค์ ทาให้เกิดประโยชน์เกื้อกูล ที่เอื้อต่อการพัฒนาชีวิตของตน ไม่ทาให้
ชีวิตตกต่า หรือทาลายคุณค่าของความเป็นมนุษย์หรือเสื่อมจากคุณความดีในภาวะแห่งตน
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
จิตสิกขา
ในด้านของจิตสิกขาคือศึกษาในเรื่องจิต เรียนรู้เรื่องจิต ให้เข้าใจธรรมชาติของจิต การทางานของจิต รู้วิธีการพัฒนาจิต เพื่อให้
สงบตั้งมั่น เป็นสมาธิพร้อมที่จะทากิจหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านการพัฒนาจิต หรือที่เรียกว่าสมาธิ แยกได้ดังนี้
1. ด้านคุณภาพจิต ได้แก่คุณธรรมความดีงามต่างๆเช่น เมตตา กรุณา กตัญญูกตเวที คารวะ หิริโอตตัปปะ ฯ ซึ่งหล่อเลี้ยงจิตใจให้เจริญงอกงาม
และเป็นพื้นฐานของพฤติกรรมที่ดีงาม
2. ด้านสมรรถภาพจิต ได้แก่ความสามารถของจิต ที่เข้มแข็งมั่นคงหรือความมีประสิทธิภาพของจิตเช่น มีฉันทะ ความใฝ่รู้ใฝ่ดีงามใฝ่กระทา
จิตมีความเพียร ความขยัน ความอดทน มีความระลึกได้รู้ตัวทั่วพร้อมเท่าทัน ตื่นตัวอยู่เสมอ สามารถควบคุมตัวเองได้มีความตั้งมั่นแน่วแน่ ใส
สงบ เป็นสมาธิ รวมไปถึงความไม่ประมาทที่จะทาให้ก้าวหน้ามั่นคงในพฤติกรรมที่ดีงาม หรือตั้งมั่นในความดีงามและพร้อมที่จะใช้ปัญญาใน
การใช้ชีวิตและประกอบกิจหน้าที่
3. ด้านสุขภาพจิต ได้แก่สภาพจิตที่ปราศจากความขุ่นมัวเศร้าหมอง เร่าร้อน หากแต่มีความสดชื่น เอิบอิ่ม ร่าเริง เบิกบาน ผ่อนคลาย ผ่องใส
เป็นสุข ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพกาย และทาให้พฤติกรรมที่ดีงามมีความมั่นคงสอดคล้องกลมกลืน หรืออยู่ในภาวะที่สมดุล
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
ปัญญาสิกขา
ในด้านปัญญาสิกขาคือศึกษาในเรื่องปัญญา พัฒนาด้านปัญญา ในการพัฒนาด้านปัญญานี้จะมีการพัฒนาอยู่หลายระดับ
เช่น
1. ความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่ได้ยินได้ฟังมา หรือที่เล่าเรียนมาและรับการถ่ายทอดศิลปะวิทยาการ ตลอดจนข้อมูลข่าวสารต่างๆ อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2. การรับรู้ประสบการณ์และเรียนรู้สิ่งต่างๆ อย่างถูกต้องตามเป็นจริง ไม่บิดเบือน หรืออคติด้วยความรัก ความชัง และเพราะความกลัว
3. การคิดพินิจพิจารณาวินิจฉัยอย่างมีวิจารณญาณ ด้วยการใช้ปัญญาที่บริสุทธิ์อิสระไม่ถูกกิเลส เช่น ความอยากได้ผลประโยชน์ และ
ความเกลียดชังเข้าครอบงา
4. การรู้จักมอง รู้จักคิด มีหลักการคิด มีวิธีคิดที่จะเข้าถึงความจริง และได้คุณประโยชน์ มีโยนิโสมนสิการ อย่างที่เรียกว่ามองเป็น คิดเป็น
เช่น รู้จักวิเคราะห์ แยกแยะ สืบสาวหาเหตุปัจจัยของสิ่งเกิดขึ้น ดารงตั้งอยู่และแปรเปลี่ยนสภาวะไป
5. การรู้จักจัดการ ดาเนินการ ทากิจให้สาเร็จ ฉลาดในวิธีการที่จะนาไปสู่จุดหมาย
6. มีความสามารถในการแสวงหา เลือกคัดจัดสรรประมวลความรู้ คิดได้ชัดเจน และสามารถนาความรู้ที่มีอยู่มาเชื่อมโยมสร้างเป็น
เครือข่ายความรู้และสร้างเป็นความรู้ความคิดใหม่เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและสร้างสรรค์
7. มีความรู้แจ้งเข้าถึงความจริงของโลกและชีวิต รู้เท่าทันกับธรรมดา หรือกับธรรมชาติทั้งหลาย ที่ทาให้วางใจถูกต้องต่อทุกสิ่งทุกอย่าง
สามารถแก้ปัญหาชีวิต ขจัดความทุกข์ในจิตใจของตนเองได้ หลุดพ้นจากความยึดติดในสิ่งทั้งหลาย จิตไม่ถูกบีบคั้นครอบงากระทบกระทั่ง
ด้วยความผันผวนปรวนแปรของสิ่งต่างๆ หลุดพ้นเป็นอิสระ อยู่เหนือกระแสโลกหากกล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญญา ๒ ด้านที่สาคัญ คือปัญญา
เข้าถึงความจริงแห่งธรรมดาของธรรมชาติและปัญญาที่สามารถใช้ความรู้นั้น จัดตั้งวางระบบแบบแผนของการดาเนินชีวิตได้ และสังคม
ของมนุษย์ได้ประโยชน์สูงสุดจากความจริงนั้น
งานชิ้นที่ 11 เรื่อง คำถำมทบทวนไตรสิกขา
คาถาม ไตรสิกขา
1. ขบวนการทางความรู้คืออะไร
ตอบ การอบรมศึกษาเพื่อให้เกิดวิชาความรู้และปัญญา
2. ศิลสิกขา คือ
ตอบ เจตนาที่จะงดเว้นไม่ละเมิดข้อห้ามด้านกาย ด้านวาจา
3. ปัญญาสิกขา หมายถึง
ตอบ การพัฒนาด้านปัญญา
4. Learning Canter คืออะไร
ตอบ การเรียนรู้เป็นศูนย์กลาง
5. กิจวัตรของพระสงฆ์ คืออะไร
ตอบ การแสดงธรรมในวันพระ ในเทศกาลวันสาคัญ
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
6. ไตรสิกขามีกี่องค์ประกอบ
ตอบ 3องค์ประกอบ
7. จากข้อ 6 เราสามารถจาแนกอะไรได้บ้าง
ตอบ 1.ศีล 2.สมาธิ 3.ปัญญา
8. การรับรู้ประสบการณ์และเรียนรู้สิ่งต่างๆอย่างถูกต้องตามความเป็นจริงจัดอยู่ในหมวดใด
ตอบ ปัญญาสิกขา
9. ด้านคุณภาพ ด้านสมรรถภาพจิต ด้านสุขภาพจิต จัดอยู่ในหมวดใด
ตอบ จิตสิกขา
10. หน้าที่หลักของพระสงฆ์คือ
ตอบ การเทศน์ และแสดงธรรม
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
คาถาม ไตรสิกขา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1rorsed
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์nok_bb
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจPoy Thammaugsorn
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 

Was ist angesagt? (13)

04chap2
04chap204chap2
04chap2
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์
 
Ied211
Ied211Ied211
Ied211
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
4
44
4
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
บรู
บรูบรู
บรู
 

Andere mochten auch

フォントプラスTIPS
フォントプラスTIPSフォントプラスTIPS
フォントプラスTIPSKazuki Yahiro
 
อนาธิปไตย
อนาธิปไตยอนาธิปไตย
อนาธิปไตยThongkum Virut
 
SNHarden_Peer Reviewed Publications_University of Bristol
SNHarden_Peer Reviewed Publications_University of BristolSNHarden_Peer Reviewed Publications_University of Bristol
SNHarden_Peer Reviewed Publications_University of BristolStephanie Harden
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
Introducao classe unir
Introducao classe unirIntroducao classe unir
Introducao classe unirSimone Athayde
 
2013 05 18 safe host conference guglielmi_ita
2013 05 18 safe host conference guglielmi_ita2013 05 18 safe host conference guglielmi_ita
2013 05 18 safe host conference guglielmi_itaGABRIELE GUGLIELMI
 
цікаво в загоні
цікаво в загоніцікаво в загоні
цікаво в загоніNataKvasha
 
A reforma católica e a contra reforma- parte 1
A reforma católica e a contra  reforma- parte 1A reforma católica e a contra  reforma- parte 1
A reforma católica e a contra reforma- parte 1Carla Teixeira
 
Gerenciamento de Projetos Web - Desafios
Gerenciamento de Projetos Web - DesafiosGerenciamento de Projetos Web - Desafios
Gerenciamento de Projetos Web - DesafiosClaudio Barbosa
 
Propostas iluministas, despotismo esclarecido e ação de Marquês de Pombal his...
Propostas iluministas, despotismo esclarecido e ação de Marquês de Pombal his...Propostas iluministas, despotismo esclarecido e ação de Marquês de Pombal his...
Propostas iluministas, despotismo esclarecido e ação de Marquês de Pombal his...200166754
 
eGender: Heike Wiesner
eGender: Heike WiesnereGender: Heike Wiesner
eGender: Heike Wiesnerjakob
 

Andere mochten auch (16)

PP Presentation Garden Clubs
PP Presentation Garden ClubsPP Presentation Garden Clubs
PP Presentation Garden Clubs
 
フォントプラスTIPS
フォントプラスTIPSフォントプラスTIPS
フォントプラスTIPS
 
Gildenblatt, Robbie 12-17-12
Gildenblatt, Robbie 12-17-12Gildenblatt, Robbie 12-17-12
Gildenblatt, Robbie 12-17-12
 
Reflection Worksheet
Reflection WorksheetReflection Worksheet
Reflection Worksheet
 
อนาธิปไตย
อนาธิปไตยอนาธิปไตย
อนาธิปไตย
 
SNHarden_Peer Reviewed Publications_University of Bristol
SNHarden_Peer Reviewed Publications_University of BristolSNHarden_Peer Reviewed Publications_University of Bristol
SNHarden_Peer Reviewed Publications_University of Bristol
 
CERTIFICATE-2
CERTIFICATE-2CERTIFICATE-2
CERTIFICATE-2
 
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามครูเสดคืออะไรจบลงอย่างไร
 
Introducao classe unir
Introducao classe unirIntroducao classe unir
Introducao classe unir
 
Pré História
Pré HistóriaPré História
Pré História
 
2013 05 18 safe host conference guglielmi_ita
2013 05 18 safe host conference guglielmi_ita2013 05 18 safe host conference guglielmi_ita
2013 05 18 safe host conference guglielmi_ita
 
цікаво в загоні
цікаво в загоніцікаво в загоні
цікаво в загоні
 
A reforma católica e a contra reforma- parte 1
A reforma católica e a contra  reforma- parte 1A reforma católica e a contra  reforma- parte 1
A reforma católica e a contra reforma- parte 1
 
Gerenciamento de Projetos Web - Desafios
Gerenciamento de Projetos Web - DesafiosGerenciamento de Projetos Web - Desafios
Gerenciamento de Projetos Web - Desafios
 
Propostas iluministas, despotismo esclarecido e ação de Marquês de Pombal his...
Propostas iluministas, despotismo esclarecido e ação de Marquês de Pombal his...Propostas iluministas, despotismo esclarecido e ação de Marquês de Pombal his...
Propostas iluministas, despotismo esclarecido e ação de Marquês de Pombal his...
 
eGender: Heike Wiesner
eGender: Heike WiesnereGender: Heike Wiesner
eGender: Heike Wiesner
 

Ähnlich wie งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา

Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนKasem S. Mcu
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา Min Kannita
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3ฟองเพียร ใจติ๊บ
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)monthsut
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยาnan1799
 
ข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาดข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาดkeanwoo
 

Ähnlich wie งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา (20)

Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
1 06-10
1 06-101 06-10
1 06-10
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียดสาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียด
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
 
ข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาดข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาด
 

Mehr von ธนาภรณ์ กองวาจา

หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพธนาภรณ์ กองวาจา
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2ธนาภรณ์ กองวาจา
 
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีธนาภรณ์ กองวาจา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนาธนาภรณ์ กองวาจา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์ธนาภรณ์ กองวาจา
 
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38 งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38 ธนาภรณ์ กองวาจา
 

Mehr von ธนาภรณ์ กองวาจา (16)

Is หรือ isis
Is หรือ isisIs หรือ isis
Is หรือ isis
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
 
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38 งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
 
สรุปคลิปกฎแห่งกรรม
สรุปคลิปกฎแห่งกรรมสรุปคลิปกฎแห่งกรรม
สรุปคลิปกฎแห่งกรรม
 
คลิปกฎแห่งกรรม
คลิปกฎแห่งกรรมคลิปกฎแห่งกรรม
คลิปกฎแห่งกรรม
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
ทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบงทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบง
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 

งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา

  • 2. ไตรสิกขา ขบวนการการศึกษา 3 องค์ประกอบ เพื่อการบรรลุเป้าหมายของดุลยภาพของชีวิตประกอบด้วย 1. ศีล หรือขบวนการระเบียบปฏิบัติ(วินัย)เพื่อให้เกิดวาจาชอบ การกระทาชอบและการประกอบอาชีพชอบ เป็นแนวทางและกรอบที่กากับการ กระทาหรือการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ นั่นเอง 2. สมาธิ หรือขบวนการฝึกอบรมจิตสานึกเพื่อให้เกิดความเพียรชอบ การระลึกชอบและมีจิตสานึกที่ชอบ เป็นขบวนการเพื่อให้จิตมีการพัฒนาความ สานึกเพื่อความสมดุลทั้งจิตและกาย เป็นขบวนการเกื้อหนุนให้สิ่งที่รับเข้ามาในชีวิตดาเนินไปด้วยประสิทธิภาพสูงสุด 3. ปัญญา หรือขบวนการทางความรู้ เป็นวิธีการอบรมศึกษาเพื่อให้เกิดวิชาความรู้และปัญญา ซึ่งจะยังผลให้เกิดมีทัศนะ ความเชื่อ ค่านิยมที่ถูกต้อง มีความดาริตริตรองที่ชอบ ปัญญาเป็นตัวควบคุมกาหนดการรับชนิดต่างๆเข้าสู่ชีวิต ไตรสิกขา มีองค์ประกอบของมรรค 8 ประการ ศีล • สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ) • สัมมาสังกัปปะ (ดาริชอบ) สมาธิ • สัมมาวาจา(วาจาชอบ) • สัมมากัมมันตะ (กระทาชอบ) • สัมมาอาชีวะ (อาชีพชอบ) ปัญญา • สัมมาวายามะ(พยายามชอบ) • สัมมาสติ (ระลึกชอบ) • สัมมาสมาธิ (จิตมั่นชอบ) น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304
  • 3. ศีลสิกขา ในด้านของศีลสิกขาคือต้องศึกษาในเรื่องศีล อันได้แก่เจตนาที่จะงดเว้นไม่ละเมิดข้อห้ามด้านกาย ด้านวาจา ให้รักษาความเป็นปกติของ ความเป็นมนุษย์ผู้ซึ่งมีใจสูง หรือ อาจกล่าวได้ว่าในด้านนี้เป็นการพัฒนาในเรื่องของพฤติกรรม โดยมีส่วนสาคัญที่ควรเน้น คือ 1. พฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพหรือโลกแห่งวัตถุ หรืออาจกล่าวว่าเป็นการรู้จักใช้อินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ในการ รับรู้โดยไม่เกิดผลเสียหรือเกิดโทษ แต่ให้เกิดผลดี ส่งเสริมคุณภาพชีวิต และการฝึกอินทรีย์ให้มีประสิทธิภาพในการใช้งาน ให้ตาดูเป็น ให้หูฟัง เป็น ฯ อยู่ในหลักของอินทรีย์สังวร นั่นเอง การเสพ การบริโภคปัจจัย๔ การใช้ประโยชน์จากวัตถุ จากอุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งเทคโนโลยีด้วย ปัญญาที่รู้เข้าใจมุ่งคุณค่าที่แท้จริง ให้ได้คุณภาพชีวิต ไม่หลงไปกับคุณค่าเทียมตามค่านิยมที่ผิด ๆ อันเป็นค่านิยมที่ฟุ้งเฟ้อโก้เก๋ ที่ทาให้บริโภค มาก แต่เสียคุณภาพชีวิต เรียกง่ายๆ ว่า กินเป็น บริโภคเป็น ใช้เป็น เริ่มด้วยการกินพอดี อันเป็นการปฏิบัติตามหลักของ โภชเนมัตตัญญุตา 2. พฤติกรรมที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคมและโลกแห่งชีวิต เช่น การอยู่ร่วมกันในทางสังคม โดยไม่เบียดเบียน ก่อความทุกข์ความเดือดร้อน หรือก่อเวรภัย แต่รู้จักมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนมนุษย์อย่างช่วยเหลือเกื้อกูล ดารงตนอยู่ในกรอบของศีล ตาเนินชีวิตตามหลักของศีลให้ความ ร่วมมือกับการรักษากติกาของสังคม กฎเกณฑ์หรือกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน หรือวินัยแม่บทของชุมชนหรือสังคมของตน และวัฒนธรรม รวมทั้งสิ่งที่เรียกว่าจรรยาบรรณต่างๆ และรู้จักแบ่งปัน การเผื่อแผ่แบ่งปันช่วยเหลือ ตามหลักของการให้ทาน เพื่อช่วยเหลือปลดเปลื้องความทุกข์ ของเพื่อนมนุษย์ให้ความสุข และส่งเสริมการสร้างสรรค์ สิ่งที่ดีงาม ตลอดจนการประพฤติเกื้อกูลแก่ชีวิตอื่นๆ ทั้งสัตว์มนุษย์และพืชพันธุ์ เช่น การร่วมสร้างเขตอภัยทาน นิวาปสถาน การปลูกสวนป่า สร้างแหล่งต้นน้า 3. พฤติกรรมที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ การเลี้ยงชีพอย่างมีศิลปวิทยาในวิชาชีพที่ฝึกไว้อย่างดี มีความชานาญที่จะปฏิบัติให้ได้ผลดีและเป็นสัมมา อาชีพ ซึ่งเป็นลักษณะที่สาคัญ คือ ไม่เป็นไปเพื่อความเบียดเบียน ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น หรือก่อผลเสียหายแก่สังคม หากแต่เป็นเครื่อง แก้ปัญหาของชีวิตและแก้ปัญหาของสังคม มีชีวิตที่เป็นไปเพื่อสร้างสรรค์ ทาให้เกิดประโยชน์เกื้อกูล ที่เอื้อต่อการพัฒนาชีวิตของตน ไม่ทาให้ ชีวิตตกต่า หรือทาลายคุณค่าของความเป็นมนุษย์หรือเสื่อมจากคุณความดีในภาวะแห่งตน น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304
  • 4. จิตสิกขา ในด้านของจิตสิกขาคือศึกษาในเรื่องจิต เรียนรู้เรื่องจิต ให้เข้าใจธรรมชาติของจิต การทางานของจิต รู้วิธีการพัฒนาจิต เพื่อให้ สงบตั้งมั่น เป็นสมาธิพร้อมที่จะทากิจหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านการพัฒนาจิต หรือที่เรียกว่าสมาธิ แยกได้ดังนี้ 1. ด้านคุณภาพจิต ได้แก่คุณธรรมความดีงามต่างๆเช่น เมตตา กรุณา กตัญญูกตเวที คารวะ หิริโอตตัปปะ ฯ ซึ่งหล่อเลี้ยงจิตใจให้เจริญงอกงาม และเป็นพื้นฐานของพฤติกรรมที่ดีงาม 2. ด้านสมรรถภาพจิต ได้แก่ความสามารถของจิต ที่เข้มแข็งมั่นคงหรือความมีประสิทธิภาพของจิตเช่น มีฉันทะ ความใฝ่รู้ใฝ่ดีงามใฝ่กระทา จิตมีความเพียร ความขยัน ความอดทน มีความระลึกได้รู้ตัวทั่วพร้อมเท่าทัน ตื่นตัวอยู่เสมอ สามารถควบคุมตัวเองได้มีความตั้งมั่นแน่วแน่ ใส สงบ เป็นสมาธิ รวมไปถึงความไม่ประมาทที่จะทาให้ก้าวหน้ามั่นคงในพฤติกรรมที่ดีงาม หรือตั้งมั่นในความดีงามและพร้อมที่จะใช้ปัญญาใน การใช้ชีวิตและประกอบกิจหน้าที่ 3. ด้านสุขภาพจิต ได้แก่สภาพจิตที่ปราศจากความขุ่นมัวเศร้าหมอง เร่าร้อน หากแต่มีความสดชื่น เอิบอิ่ม ร่าเริง เบิกบาน ผ่อนคลาย ผ่องใส เป็นสุข ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพกาย และทาให้พฤติกรรมที่ดีงามมีความมั่นคงสอดคล้องกลมกลืน หรืออยู่ในภาวะที่สมดุล น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304
  • 5. ปัญญาสิกขา ในด้านปัญญาสิกขาคือศึกษาในเรื่องปัญญา พัฒนาด้านปัญญา ในการพัฒนาด้านปัญญานี้จะมีการพัฒนาอยู่หลายระดับ เช่น 1. ความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่ได้ยินได้ฟังมา หรือที่เล่าเรียนมาและรับการถ่ายทอดศิลปะวิทยาการ ตลอดจนข้อมูลข่าวสารต่างๆ อย่างมี ประสิทธิภาพ 2. การรับรู้ประสบการณ์และเรียนรู้สิ่งต่างๆ อย่างถูกต้องตามเป็นจริง ไม่บิดเบือน หรืออคติด้วยความรัก ความชัง และเพราะความกลัว 3. การคิดพินิจพิจารณาวินิจฉัยอย่างมีวิจารณญาณ ด้วยการใช้ปัญญาที่บริสุทธิ์อิสระไม่ถูกกิเลส เช่น ความอยากได้ผลประโยชน์ และ ความเกลียดชังเข้าครอบงา 4. การรู้จักมอง รู้จักคิด มีหลักการคิด มีวิธีคิดที่จะเข้าถึงความจริง และได้คุณประโยชน์ มีโยนิโสมนสิการ อย่างที่เรียกว่ามองเป็น คิดเป็น เช่น รู้จักวิเคราะห์ แยกแยะ สืบสาวหาเหตุปัจจัยของสิ่งเกิดขึ้น ดารงตั้งอยู่และแปรเปลี่ยนสภาวะไป 5. การรู้จักจัดการ ดาเนินการ ทากิจให้สาเร็จ ฉลาดในวิธีการที่จะนาไปสู่จุดหมาย 6. มีความสามารถในการแสวงหา เลือกคัดจัดสรรประมวลความรู้ คิดได้ชัดเจน และสามารถนาความรู้ที่มีอยู่มาเชื่อมโยมสร้างเป็น เครือข่ายความรู้และสร้างเป็นความรู้ความคิดใหม่เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ 7. มีความรู้แจ้งเข้าถึงความจริงของโลกและชีวิต รู้เท่าทันกับธรรมดา หรือกับธรรมชาติทั้งหลาย ที่ทาให้วางใจถูกต้องต่อทุกสิ่งทุกอย่าง สามารถแก้ปัญหาชีวิต ขจัดความทุกข์ในจิตใจของตนเองได้ หลุดพ้นจากความยึดติดในสิ่งทั้งหลาย จิตไม่ถูกบีบคั้นครอบงากระทบกระทั่ง ด้วยความผันผวนปรวนแปรของสิ่งต่างๆ หลุดพ้นเป็นอิสระ อยู่เหนือกระแสโลกหากกล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญญา ๒ ด้านที่สาคัญ คือปัญญา เข้าถึงความจริงแห่งธรรมดาของธรรมชาติและปัญญาที่สามารถใช้ความรู้นั้น จัดตั้งวางระบบแบบแผนของการดาเนินชีวิตได้ และสังคม ของมนุษย์ได้ประโยชน์สูงสุดจากความจริงนั้น
  • 6. งานชิ้นที่ 11 เรื่อง คำถำมทบทวนไตรสิกขา
  • 7. คาถาม ไตรสิกขา 1. ขบวนการทางความรู้คืออะไร ตอบ การอบรมศึกษาเพื่อให้เกิดวิชาความรู้และปัญญา 2. ศิลสิกขา คือ ตอบ เจตนาที่จะงดเว้นไม่ละเมิดข้อห้ามด้านกาย ด้านวาจา 3. ปัญญาสิกขา หมายถึง ตอบ การพัฒนาด้านปัญญา 4. Learning Canter คืออะไร ตอบ การเรียนรู้เป็นศูนย์กลาง 5. กิจวัตรของพระสงฆ์ คืออะไร ตอบ การแสดงธรรมในวันพระ ในเทศกาลวันสาคัญ น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304
  • 8. 6. ไตรสิกขามีกี่องค์ประกอบ ตอบ 3องค์ประกอบ 7. จากข้อ 6 เราสามารถจาแนกอะไรได้บ้าง ตอบ 1.ศีล 2.สมาธิ 3.ปัญญา 8. การรับรู้ประสบการณ์และเรียนรู้สิ่งต่างๆอย่างถูกต้องตามความเป็นจริงจัดอยู่ในหมวดใด ตอบ ปัญญาสิกขา 9. ด้านคุณภาพ ด้านสมรรถภาพจิต ด้านสุขภาพจิต จัดอยู่ในหมวดใด ตอบ จิตสิกขา 10. หน้าที่หลักของพระสงฆ์คือ ตอบ การเทศน์ และแสดงธรรม น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304 คาถาม ไตรสิกขา