SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 54
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บุคลิกภาพ
จัดทําโดย
1.นาย อรรถพล เนาวลักษณ์ 5730125401018 การจัดการทั่วไป หมู่1 รุ่น35
2.นาย คธาวุธ สังข์สวัสดิ์ การจัดการทั่วไป 5730125401023 หมู่1 รุ่น35
3.นาย ธนกร เทพหัสดิน ณ อยุธยา การจัดการทั่วไป 5530125401023 หมู่1รุ่น
35 (เรียนร่วม)
4.น.ส. จุฑา ลาธง การจัดการทั่วไป 5430125401300 หมู่2 รุ่น28 (เรียนร่วม)
5.น.ส. วรัญญา ปู่ ตัน การจัดการทั่วไป 5530125401007 หมู่1รุ่น29(เรียนร่วม)
6.น.ส.ปิยภรณ์ สุนทรวงศ์ การจัดการทั่วไป 5930125439028 หมู่1 รุ่น41
(เรียนร่วม)
1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะต่างๆของแต่ละบุคคลที่รวมกันแล้ว ทําให้บุคคล
นั้นแตกแต่งจากบุคคลอื่น ลักษณะต่างๆเหล่านั้น ได้แก่ รูปร่างลักษณะ อุปนิสัยใจคอ
กิริยาท่าทาง ความสนใจ ทัศนคติตลอดจนพฤติกรรมต่างๆที่บุคคลนั้นแสดงออกมา
บุคลิกภาพของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆคือ
• 1. บุคลิกภาพภายนอก
• 2.บุคลิกภาพภายใน
ตารางลักษณะของบุคลิกภาพภายนอก
และบุคลิกภาพภายใน
บุคลิกภาพภายนอก บุคลิกภาพภายใน
1. รูปร่าง
2. การแต่งกาย
3. การปรากฏตัว
4. กิริยาท่าทาง
5. การสบสายตา
6.การใช้นํ้าเสียง
7.การใช้ถ้อยคําภาษา
1. ความเชื่อมั่นในตัวเอง
2. ความกระตือรือร้น
3. ความรอบรู้
4. ความคิดริเริ่ม
5. ความจริงใจ
6. ปฏิภาณไหวพริบ
8. ความจํา
9. อารมณ์ขัน
2.พัฒนาการของบุคลิกภาพ
ปัจจัยสําคัญการพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์มี3ประการด้วยกัน คือ
• 1.พันธุกรรม
• 2.สิ่งแวดล้อม
• 3.ช่วงเวลาในชีวิตของแต่ละบุคคล
• ประเภทของบุคลิกภาพตามลักษณะโครงสร้างของร่างกาย
3 ประการ คือ
• 1.ประเภทอ้วนฉุ
• 2.ประเภทสม
• 3.ประเภทผอม
3.ประเภทของบุคลิกภาพ
4.การพัฒนาบุคลิกภาพตนเองอย่างเป็น
ระบบ โดยเน้นการแก้ไขปรับปรุงตนเอง
•1.การวิเคราะห์ตนเอง
•2.การปรับปรุงตัวเอง
•3.การฝึกฝนตนเอง
•4.การประเมินตนเอง
5.การเสริมสร้างสุขภาพกายและสุขภาพใจ
•สุขภาพกายและใจย่อมมีผลต่อการดําเนินชีวิต ผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง
สมบูรณ์ไม่มีโรคภัยจะสามารถประคับประคองชีวิตให้มีความสุขได้
•1.จะมีสรีระที่สง่างาม
•2.ผู้ที่มีสุขภาพกายดีจะมีความทนทานในการทํากิจกรรมต่างๆ
•3.การที่มีจิตใจสบาย อารมณ์ดีเสมอ จะสามารถปรับตัวเข้ากับ
เหตุการณ์ต่างๆได้ง่าย
การเสริมสร้างสุขภาพกายและสุขภาพใจเพื่อบุคลิกที่ดี (ต่อ)
• มีหลักการสําคัญด้วยการใช้หลัก 6อ.
•1.อาหาร(5หมู่)
•2.ออกกําลังกาย
•3.อุตุ(การนอนหลับพักผ่อน)
•4.อากาศ(ออกซิเจนและโอโซน)
•5.อารมณ์
•6.อุจจาระ(การขับถ่าย)
6. มารยาททางสังคม
• 1.มารยาท ผู้มีมารยาทดี คือ ผู้ที่รู้จักละความเห็นแก่ตัวเพื่อทําให้ผู้อื่นพอใจ มารยาทไม่ได้ติดตัว
มาแต่กําเนิด แต่ได้มาจากสิ่งแวดล้อม
• 1.1 สุภาพ คือ ความสุภาพอ่อนน้อม ความอ่อนน้อมไม่ได้เกิดจากความเกรงกลัว
• 1.2 ความสํารวม คือ การมีสติ ไม่พูดไม่ทําอะไรเกินควร คิดแล้วจึงทํา
• 2.มารยาททางวาจา
• 2.1 วาจาไพเราะเป็นสมบัติสําคัญในการพูด
• 2.2 ผู้มีมารยาทจะต้องระมัดระวังในการพูด
• 3. มารยาทในที่ทํางาน
• 3.1 ควรแต่งกายให้สุภาพเหมาะสมกับสถานภาพในการทํางาน
• 3.2 ตรงต่อเวลา 3.3 ตื่นตัวในการทํางานอยู่เสมอ
• 3.4 ถ้ามีลูกค้าสอบถาม ควรให้ความสนใจและให้ความช่วยเหลือเต็มที่
4.มารยาทในการประชุม
•4.1 เข้าประชุมให้ทันเวลาทุกครั้ง
•4.2 การพูดแสดงความคิดเห็นต้องขอ
อนุญาตทุกครั้ง
•4.3 อย่าผูกขาดการพูดอยู่ฝ่ายเดียว
•4.4 ควรพูดให้ตรงประเด็น
•4.5 ควบคุมอารมณ์ในขณะอยู่ที่ประชุม
7.การดูแลรักษารูปลักษณ์
1.เส้นผมเสริมบุคลิกภาพ
การเลือกทรงผมให้เข้ากับใบหน้าสุภาพบุรุษ
การเลือกทรงผมให้เข้ากับใบหน้าสุภาพสตรี
2.ผิวพรรณดีมีผลต่อสุขภาพ
การที่มีผิวพรรณดี น่าสัมผัส และน่ามอง จะช่วยส่งบุคลิกภาพของแต่
ละบุคคล
8.การแต่งกาย
การแต่งกาย หมายรวมหมดตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า
ทุกอย่างที่สวมใส่ อยู่บนตัวคน ย่อมมีบทบาท
ร่วมกันในการแสดงออกของคน ความถูกต้องอยู่ที่
รู้จักเลือกเครื่องแต่งกายให้เหมาะสมแก่กาลเทศะ
และบุคคล คํานึงถึงโอกาสและกิจกรรมเป็ นเกณฑ์
ไม่ว่าจะเป็ นการแต่งกายเพื่อโอกาสใด พื้นฐาน
ร่วมกันย่อมมีอยู่ คือ ความเรียบร้อย ซี่งเป็ นวิธี
แต่งมากกว่าตัวเสื้อผ้า ความสุภาพในการแต่งกาย
หมายรวมหมดตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า ความสุภาพ
เรียบร้อย มักอยู่ด้วยกัน
1.การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาส
1.การแต่งกายไปติดต่อธุรกิจ
สุภาพบุรุษ สูทสากลเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป ควรให้
อยู่ในสภาพที่เรียบร้อยและ ประณีต
สุภาพสตรี เสื้อทํานองสูท สุภาพสตรีไม่เข้มงวด
เหมือนสุทของสุภาพบุรุษ ใช้ผ้าบางเบากว่าและหลากสี
สวยงาม ถ้ามิใช่เสื้อแบบสูทจะเป็ นเดรสหรือเบลาส์กับ
กระโปรงก็ได้
แบบสูทที่นิยมใช้กันใน
ปัจจุบัน
2.การแต่งกายไปงานเลี้ยงรับรอง งานเลี้ยง
รับรองของบริษัท งานแต่งงาน งานศพ
3.เครื่องประดับ
การใช้เครื่องประดับกับการแต่งกายนั้น ควรดูให้เกิดความเหมาะสมกลมกลืนกับ
เสื้อผ้าหรือช่วยให้เสื้อผ้าดูมีความโดดเด่นน่าสนใจมากขึ้น ควรใช้เครื่องประดับ
เท่าที่จําเป็นจริงๆ หากใช้มากเกินไปจะข่มเสื้อผ้าเสียหมด
4.รองเท้า ถุงเท้า และถุงน่อง
การรู้จักเลือกรองเท้า และ การดูแลรักษาที่ดี จะทําให้รองเท้าใช้งานได้นาน
ทนทาน และเสริมส่งบุคลิกภาพของเจ้าของได้อย่างดี
5.การแต่งหน้า
สุภาพสตรีแต่งตัวจะออกจากบ้านไปธุระหรืออกงานสังคมในโอกาสต่างๆ ควร
แต่งหน้าให้สดใสน่ามอง และควรจะแต่งหน้าให้กลมกลืนกับสีของเสื้อผ้าหรือชุด
ที่สวมใส่
9.การพูด
•ในการพัฒนาบุคลิกภาพเราจึงจําเป็นต้องพัฒนาการพูดของเรา
ไปพร้อมๆ กับการพัฒนารูปลักษณ์ การแต่งกาย และกิริยา
ท่าทาง ตามปกติจะสื่อความหมายต่อกันโดยใช้ภาษา เพื่อช่วย
ให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ ภาษาที่ใช้ในการ
สื่อความหมายอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
•1. วัจนภาษา
•1.1 ความชัดเจนของถ้อยคํา
•1.2 ความนุ่มนวลของถ้อยคํา
•1.3 ความมีชีวิตชีวา
•2. อวัจนภาษา
•2.1 นํ้าเสียง
•2.2 สายตา
•2.3 การแสดงสีหน้า
ลักษณะกิริยาอาการแบบใดจะช่วยสื่อความหมายในทางบวกให้การ
สัมฤทธิผลและผู้พูดเองก็มีบุคลิกภาพที่ดีในการพูดด้วย ภาษากายที่
เป็นพื้นฐานของบุคลิกภาพในการพูด ประกอบด้วย 5 เรื่องสําคัญ
ได้แก่
•1.การทรงตัวและการเคลื่อนไหว
•2.การใช้สายตา
•3.การแสดงออกทางสีหน้า
•4.การใช้นํ้าเสียง
•5.การใช้เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย
มารยาทและคุณธรรมในการพูด
•1.จงพูดในสิ่งที่เป็นความจริง มีสัตย์ มีธรรมเป็นประโยชน์
•2.อย่าพูดเรื่องที่เป็นเท็จหรือมุสา
•3.อย่าพุดเสียดสี ส่อเสียดกล่าวร้ายผู้อื่น
•4.การพูดในที่ชุมชน จงระมัดระวังความพลั้งเผลอไม่สุภาพของการ
ใช้วาจา
•5.จงคิดก่อนพูด อย่าพูดแล้วจึงคิด
•6.ควบคุมตนเองไม่ให้เกิดโทสจริต
•7.ใช้อารมณ์ขัน
•8.พูดเฉพาะสิ่งที่เป็นที่พึงใจแก่ผู้ฟัง
•9.ไม่พูดให้ร้ายใคร ไม้พูดด้วนความอิจฉาริษยา
•10.ใจกว้างรับฟังความคิดเห็นและคําวิจารณ์ของผู้อื่น
•11.อย่าพูดเรื่องส่วนตัว ถ้าไม่มีผู้ถามถึง
•12.รอให้คนอื่นพูดจบเสียก่อนแล้วจึงพูด
•13.หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส แต่งกายสุภาพเรียบร้อย ท่าทาง
เหมาะสม
ច ញ‌ � ��� �ញ ខ ្ ឈោ គ�� �ឆ� គ�� ឋ
•1.ฟังด้วยความตั้งใจและอดทน
•2.ฟังด้วยการใช้ความคิดและพยายามทําความ
เข้าใจในสิ่งที่ได้ฟังตลอดเวลา
•3.ฟังอย่างมีสมาธิ
•4.ฟังแบบเก็บสาระสําคัญ
•5.ฟังในลักษณะท่าทีที่ให้เกียรติแก่ผู้พูด
•6.ฟังอย่างสํารวมและมีมารยาทแห่งสมบัติผู้ดี
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
สําหรับหน้าตาอินเตอร์เฟสของโปรแกรมจะเป็นประมาณนี้
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
วิธีการเริ่มใช้งานก็ให้เพื่อนๆ เลือกรูปแบบที่ต้องการจะสร้างแผนผังโดยสามารถเลือกได้จาก
รูปแบบที่อยู่ตรงกลาง และ Templates ทางซ้ายมือได้เลย
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
ซึ่งทางด้านซ้ายมือจะมีการแบ่งประเภทของแผนผังเอาไว้ให้ผู้ใช้งานได้ลองเลือกใช้กันอย่างมากมาย
ยกตัวอย่างเช่น หากเลือก Templates Flowchart ผู้ใช้งานก็จะพบกับรูปแบบของ Flowchart ให้เลือกใช้
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
เมื่อเลือกรูปแบบแผนผังที่เราต้องการจะสร้าง หรือใช้ทํางานได้เรียบร้อยแล้วให้เราดับเบิ้ลคลิก
ที่ตัวรูปแบบที่เราต้องการได้เลย จะปรากฏหน้าต่างใหม่แบบนี้ ซึ่งเป็นหน้าต่างที่จะให้เราสร้าง
และออกแบบแผนผังของเราเพิ่มเติมนั่นเอง
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
แม่แบบแผนผังบางชนิดจะมีรูปแบบให้เราเลือกใช้งานได้อีก โดยหากใคร
ต้องการก็สามารถเลือกได้ทางซ้ายมือเลย
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
เมื่อเลือกแม่แบบและทําการสร้างแผนผังเสร็จเรียบร้อยแล้ว คราวนี้เราลองมาใส่ข้อความใน
แผนผังกันดูบ้าง โดยการใส่ข้อความนั้นให้เรากดคลิกเข้าไปที่บริเวณวงกลมส่วนต่างๆ ของ
แผนผังได้เลย จากนั้นแผนผังจะขึ้นให้เราสามารถพิมพ์ข้อความได้
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
สามารถเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร ขนาด สีสัน ฯลฯ ได้ตามใจชอบ
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
นอกจากนี้เรายังสามารถทําการปรับเปลี่ยนรูปแบบของแผนผังได้อย่างตามใจชอบอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็น
การเปลี่ยนสีสันของแผนผัง หรือกรอบความคิดแต่ละกรอบ หมุนรูปแบบของแผนผังตามที่กําหนด ทํา
สัญลักษณ์เชื่อมโยง ฯลฯ ก็สามารถทําได้อย่างง่ายดาย
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
หรือว่าจะทําการกําหนดค่าของแผนผังด้วยการเติมสีสันด้วยตนเองตั้งแต่เริ่ม
ทําเส้นขอบให้ลูกศรหรือแผนผังก็สามารถทําได้เช่นเดียวกัน
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
เสามารถเลือกคําสั่งการสร้างสัญลักษณ์ต่างๆ ทางด้านซ้ายมือซึ่งเป็นคําสั่งย่อย
ออกมาได้อีกด้วย
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
ทําการสร้างตาราง และออกแบบพรีเซ็นต์เทชั่นของเราด้วยตนเองแบบครบสูตร สร้างกราฟชนิดต่างๆ ใส่ข้อมูล
จาก Word หรือ Excel ทํา Pie Chart แทรกรูปภาพ ออกแบบตัวอักษร ฯลฯ ได้อีกมากมาย ซึ่งสามารถ
ทําได้ในหน้าเมนูหลัก Insert เลย
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
ในส่วนของหน้า Page Layout เรายังสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบของหน้า
พรีเซ็นต์งานได้ตามใจชอบเลย
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
คราวนี้มาดูกันที่หน้า View บ้าง จะเป็นหน้าที่ถูกออกแบบมาเพื่อเอาไว้สําหรับใช้งานในการตรวจสอบดู
ภาพรวมของหน้าพรีเซ็นต์เทชั่นของเรา ซึ่งผู้ใช้งานสามารถกดซูมดูรายละเอียดของหน้าแผนผังของเรา ตรวจดู
กระดาษความกว้างของหน้ากระดาษ ฯลฯ ได้
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
ต่อมาเราจะมาดูในส่วนของหน้า Symbols ซึ่งก็จะเป็นหน้าที่เอาไว้สําหรับรวบรวมเครื่องมือในการสร้างสัญลักษณ์เพิ่มเติม
ให้เรานั่นเอง โดยหากใครที่อยากสร้างลักษณ์อื่นๆ เพิ่มเติมนอกเหนือจากชาร์ตหรือแผนผังของคุณ ก็สามารถเข้ามาสร้างได้
ที่นี่เลย โดยส่วนใหญ่จะเน้นการสร้างสัญลักษณ์ในเรื่องของ เส้นเชื่อมโยง กล่องความคิด หรือลากเส้นโค้งอธิบายกราฟเป็น
ต้น
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
หน้า Help จะเป็นส่วนของหน้าที่มีไว้สําหรับ กดเข้าไปดู Dynamic Help, Tutorial, FAQ ฯลฯ รวมถึง
ใช้ติดต่อกับผู้พัฒนาโปรแกรมโดยตรง ซึ่งคําสั่งต่างๆ จะลิ้งไปที่หน้าเว็บไซต์หลักของโปรแกรม Edraw
Max Pro เลย
ขั้นตอนการทํา MIND MAP
มาถึงหน้าสุดท้ายกันบ้างซึ่งก็คือหน้า Mind Map นั่งเองโดยในหน้านี้จะเป็นหน้าที่มีไว้สําหรับใช้สร้างแผนผังความคิดย่อย
เพิ่มเติม เพื่อใช้เป็นแผนผังประกอบคําอธิบายแผนผังหลัก โดยผู้ใช้งานจะสามารถใส่รูปภาพ สร้างหัวข้อย่อย Subtopic ทํา
การลากเส้นเชื่อมโยงแผนผังความสัมพันธ์ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้ข้อมูลต่างๆ ที่ผู้ใช้นํามาสร้างเป็นแผนผังความคิดนั้น มีความ
ครบถ้วนสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
สรุปการ MIND MAP
สรุปการใช้งานโปรแกรม Edraw Max Pro
สรุปโดยรวมแล้วโปรแกรมนี้ ถือว่าเป็นโปรแกรมที่จะช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถสร้างแผนภาพ
แผนงาน หรือโครงสร้างต่างๆ ได้อย่างครอบคลุม มันเป็นโปรแกรมที่สามารถตอบโจทย์ได้เกือบ
ทุกการสร้างแผนผัง ซึ่งไม่ว่าจะเป็น ไดอะแกรม (Diagram) ผังงาน (Flowchart) ผังองค์กร
(Organization Chart) แผนผังเน็ตเวิร์ค (Network Diagram) แผนผังวงจรสําหรับวิศวกร ฯลฯ ต่าง
ถูกรวบรวมเอาไว้ที่โปรแกรมตัวนี้ทั้งหมดกว่า 200 รูปแบบ อีกทั้งยังเป็นโปรแกรมที่มาพร้อมกับ
รูปแบบสัญลักษณ์เชื่อมโยงต่างๆ อีกกว่า 6,000 รูปแบบ ซึ่งหากใครที่ต้องทํางานในด้านของการ
สร้างสรรค์แผนผัง หรือต้องทํางานที่เกี่ยวกับการสร้างแผนผังความคิดอยู่บ่อยๆ โปรแกรม Edraw
Max Pro ถือว่าตอบโจทย์มากเลยทีเดียว และที่สําคัญมันสามารถทํางานร่วมกับ
โปรแกรม Microsoft Office 2010 ได้ซึ่งนับว่าเป็นความสามารถเด่นอีกอย่างเลยทีเดียว ส่วนจุด
ด้อยของโปรแกรมตัวนี้ทางไทยแวร์คิดว่า ก็น่าจะมีเฉพาะในจุดที่รองรับการทํางานกับ Microsoft
Office 2010 ได้แค่เวอร์ชั่นเดียวเท่านั้น ซึ่งในส่วนนี้น่าจะมีเพิ่มเวอร์ชั่นอื่นๆ เพื่อเพิ่มทางเลือก
ให้กับผู้ใช้งานเข้าไปด้วย
ขั้นตอนการสร้าง BLOGGER
เรามาทําความรู้จักกับ Blogspot กันก่อนดีกว่า บล๊อกสปอตนั้นเป็นของ google ที่สามารถให้คนทั่วไป
ได้เข้าถึงการ เขียนบล๊อกต่างๆ หรือการเขียนเว็บแบบง่ายๆนั้นเอง การที่จะเข้าใช้งาน blogspot นั้น
จะต้องมี Gmail ซึ่งใช้ในการล๊อกอิน สามารถสมัครได้ง่ายๆ เราว่าดูวิธีทําบล๊อกสปอร์ตกันเลยดีกว่า
ขั้นตอนการสร้าง BLOGGER
1.ให้เราทําการพิมพ์ในช่อง URL ด้านบนว่า www.blogspot.com หรือการเข้าสู่เว็บ
blogspot นั้นเอง ตามภาพด้านบน
ขั้นตอนการสร้าง BLOGGER
2.ก็จะได้หน้าตาเป็นแบบนี้ให้เราทําการล๊อกอินเข้าไป โดยใช้ Gmail ของเรา
ขั้นตอนการสร้าง BLOGGER
3.พอทําการล๊อกอินเสร็จก็จะได้หน้าตาเป็นแบบนี้ให้ทําการคลิกที่ บล๊อกใหม่
ขั้นตอนการสร้าง BLOGGER
4.พอมาถึงหน้านี้
– ในช่องหัวข้อ ให้เราทําการตั้งชื่อหัวข้อของบล๊อกของเรา(เรื่องที่เราจะเขียนบล๊อก หรือ Title)
– ในช่องที่อยู่ ให้เราทําการตั้งชื่อ URL ของเรา อาทิเช่น gunoob.blogspot.com , cnx-it.blogspot.com เป็นต้น
(.blogspot.com จะมาการเติมให้โดยอัตโนมัติ ให้พิมพ์แค่ gunoob หรือ cnx-it)
– ในช่องแม่แบบ ให้เราทําการเลือก รูปแบบของบล๊อกหรือ Theme นั้นเอง (แนะนําให้ใช้แบบง่าย ธีมสามารถเปลี่ยนภายหลัง
ได้)
ขั้นตอนการสร้าง BLOGGER
5.จะได้อกมาเป็นแบบนี้ให้ทําการคลิกเข้าไปเลย (ของผมได้ทําการสร้างใว้ก่อน
แล้ว)
ขั้นตอนการสร้าง BLOGGER
6.จะได้หน้าต่างเป็นแบบนี้ให้ทําการคลิกที่ บทความใหม่ เพื่อทําการเขียนบทความ
หรือ blog
ขั้นตอนการสร้าง BLOGGER
7.พอได้หน้าตาแบบนี้ให้เราทําการเขียนบล๊อก หรือบทความที่เราต้องการได้เลย
– ในช่องโพสต์ด้านบนตัวหนังสือสีส้ม ให้เราทําการเขียนหัวข้อหรือหัวเรื่อง บทความที่
เราต้องการเขียน
– การเขียนบทความ ข้อมูล หรือบล๊อกนั้นสามารถทําการเขียนได้ใช้ กระดาษ ตรงกลาง
หน้า
– ด้านขวามือจะมีป้ ายกํากับ ให้เราทําการคลิกเพื่อพิมพ์ คํา ที่ผู้อื่นสามารถค้นบทความ
ของเราเจอได้
– การใส่ลิ้งให้ทําการคลิกที่ ลิ้ง ในแทบเครื่องมือ เพื่อทําการใส่ URL ที่เราต้องการลิ้ง
– การใส่รูปภาพ สามารถทําได้โดยการคลิกที่ แทกรูปภาพ ด้านขวา ลิ้ง ในแทบเครื่องมือ
แล้วทําการเลือกไฟล์เพื่ออัพโหลดรูปภาพแล้ว คลิกรูปภาพที่ต้องการเลือก แล้วกดเพิ่ม
รายการที่เลือก
– ถ้าทําการเขียนบทความเสร็จ ให้ทําการคลิกที่ เผยแพร่ เพื่อทําการเผยแพร่บทความที่
สามารถให้ผู้อื่นได้อ่าน หรือเข้าชมได้
ขั้นตอนการสร้าง BLOGGER
8.การเปลี่ยนธีม ตามที่เราต้องการ ให้ทําการคลิกที่ แม่แบบ จะมีให้เราเลือกธีมตามที่
เราต้องการ ถ้าจะเอาอันไหนให้ทําการคลิก แล้วกด ใช้กับบล๊อก(ปุ่ มสีส้ม)เท่านี้ก็เป็นอัน
เสร็จ (ธีมเราสามารถออกแบบเองและทําเองตามที่เราต้องการได้)
แหล่งอ้างอิง
• ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิมลพรรณ เชื่อบางแก้ว. (2552). การพัฒนา
บุคลิกภาพ. ปทุมธานี : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
• HTTP://WWW.PANNASUGAR.COM
• HTTP://WWW.BLOGGANG.COM/DATA/S/SOMPANSHOP/PICTURE/PROFILE.J
PG
• HTTP://WWW.PRAEW.COM/60074/FASHION/MAURNING/
• HTTP://WWW.NUCHGIFTLAND.COM/CATEGORY
• HTTP://WWW.PLAZACOOL.COM/MAIN/T-44-87-ITEM1952351.HTML
• HTTP://TREND-FASHION.LNWSHOP.COM/PRODUCT/1184/PRE-ORDER-B5
• HTTPS://WWW.WIDEMAGAZINE.COM/7737
แหล่งอ้างอิง• HTTP://WWW.BLOGGANG.COM/VIEWBLOG.PHP?ID=THESIGNATURECLINIC&DATE
=20-01-2010&GROUP=2&GBLOG=7
• HTTPS://HIGOOD.WORDPRESS.COM/
• HTTP://WWW.UNLOCKMEN.COM/RIGHT-HAIR-STYLE-FOR-YOUR/
• HTTP://HAPPYSKIN.VN/9-BI-QUYET-LAM-DEP-HAN-QUOC-BAN-CHUA-TUNG-BIET
• HTTPS://MAHOSOT.COM/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%
B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%
E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A2-PANTIP.HTML
• HTTPS://WWW.WONGNAI.COM/ARTICLES/MATCH-HAIR-STYLE-WITH-FACE-SHAPE
• HTTP://WWW.TALAD2YOU.COM/AUTOMOBILE/VIEWITEM.PHP?ID=371686
• HTTP://WWW.UNLOCKMEN.COM/4-SUIT-MEN-SHOULD-HAVE/
• HTTP://DRESSITUP.BIZ/EVENINGDRESSES/EVENING_SUIT_DRESS_CODE.HTML

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพMediaDonuts
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 

Was ist angesagt? (20)

หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพ
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 

Andere mochten auch

บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์nuysittiwong
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]
การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]
การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]Panupong Poolgam
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)Taraya Srivilas
 
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพMringMring She Zaa
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอการใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอSuthini
 
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...Yeah Pitloke
 
บุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTaบุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTahrd2doae
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยวMint NutniCha
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทยMint NutniCha
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพEkachai Seeyangnok
 
1.3.13 Цинк-ламельное покрытие металлических лотков и аксессуаров
1.3.13 Цинк-ламельное покрытие металлических лотков и аксессуаров 1.3.13 Цинк-ламельное покрытие металлических лотков и аксессуаров
1.3.13 Цинк-ламельное покрытие металлических лотков и аксессуаров Igor Golovin
 
Traditional Herbal Drugs in Cancer: A Classification and Scientific Evaluation
Traditional Herbal Drugs in Cancer: A Classification and Scientific EvaluationTraditional Herbal Drugs in Cancer: A Classification and Scientific Evaluation
Traditional Herbal Drugs in Cancer: A Classification and Scientific EvaluationABDUL LATIF
 

Andere mochten auch (20)

บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]
การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]
การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)
 
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
 
บุคลิกภาพของผู้นำเสนอ
บุคลิกภาพของผู้นำเสนอบุคลิกภาพของผู้นำเสนอ
บุคลิกภาพของผู้นำเสนอ
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอการใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
 
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...
 
Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
TA
TATA
TA
 
บุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTaบุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTa
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
Mildmap
MildmapMildmap
Mildmap
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพ
 
AuraTalk issue 5
AuraTalk issue 5AuraTalk issue 5
AuraTalk issue 5
 
1.3.13 Цинк-ламельное покрытие металлических лотков и аксессуаров
1.3.13 Цинк-ламельное покрытие металлических лотков и аксессуаров 1.3.13 Цинк-ламельное покрытие металлических лотков и аксессуаров
1.3.13 Цинк-ламельное покрытие металлических лотков и аксессуаров
 
Traditional Herbal Drugs in Cancer: A Classification and Scientific Evaluation
Traditional Herbal Drugs in Cancer: A Classification and Scientific EvaluationTraditional Herbal Drugs in Cancer: A Classification and Scientific Evaluation
Traditional Herbal Drugs in Cancer: A Classification and Scientific Evaluation
 

Ähnlich wie บุคลิกภาพ

N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5Moo Ect
 
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2Prapaporn Boonplord
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)Boukee Singlee
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟThida Noodaeng
 
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54KASETSART UNIVERSITY
 
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_03. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0Kaka619
 
ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง UsaTaraya Srivilas
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )Pornthip Tanamai
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขPornthip Tanamai
 
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptxตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptxAeKraikunasai1
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูsuwantan
 

Ähnlich wie บุคลิกภาพ (20)

N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
Consult
ConsultConsult
Consult
 
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54
 
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_03. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0
3. ข อสอบ o net - ส-งคมศ_กษา (ม_ธยมปลาย)_0
 
ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usa
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptxตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
ตั้งแกนใหม่ ให้ใจนิ่ง ก่อการครู.pptx
 
Thinkoutside630526
Thinkoutside630526Thinkoutside630526
Thinkoutside630526
 
Administration4 M
Administration4 MAdministration4 M
Administration4 M
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
 

บุคลิกภาพ