SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 57
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                   1


                      รายงานโครงการนวัต กรรมบริก ารปุ๋ย


ความสำา คัญ
ตามปกติพืชมีความต้องการธาตุอาหารสำาหรับการเจริญเติบโตอยู่ทั้งหมด 17 ชนิด โดย
คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน พืชได้จากนำ้าและอากาศ ที่เหลือนั้นแบ่งเป็นธาตุ
อาหารหลัก 6 ชนิด ที่เราคุ้นเคย คือ ไนโตรเจน(N) ฟอสฟอรัส(P) และโพแทสเซี่ยม(K)
ซึ่งเป็นธาตุอาหารที่พืชมีความต้องการมาก และนวัตกรรมบริการปุ๋ยจะเน้นการบริการ
ปุ๋ยหลัก 3 ชนิดนี้ กลุ่มที่สองคือธาตุอาหารรอง อีก 3 ชนิด คือ แคลเซี่ยม แมกนีเซียม
และกำามะถัน ซึ่งดินในประเทศไทยมักจะไม่ขาดธาตุเหล่านี้ และกลุ่มสุดท้ายคือธาตุ
อาหารเสริม ได้แก่ เหล็ก นิเกิล แมงกานีส สังกะสี ทองแดง โบรอน โมลิดินัม และคลอรีน
ธาตุอาหารเหล่านี้ถูกปลดปล่อยมาให้พืชได้ใช้ประโยชน์ขึ้นอยู่กับสมบัติของดินตามชุด
ดิน ซึ่งประเทศไทยมีชุดดินมากกว่า 200 ชุดดิน ทำาให้ศักยภาพการตอบสนองต่อความ
ต้องการของพืชแตกต่างกัน นอกจากนั้นธาตุอาหารในดินยังถูกชะล้างไปด้วยสาเหตุอีก
หลายประการ เช่น ไปกับผลผลิตพืช ชะล้างไปโดยนำ้า สลายไปเป็นก๊าซ ถูกตรึงโดยดิน
ทำาให้พืชใช้ประโยชน์ไม่ได้ หรือถูชะล้างไปกับการพังทลายของดิน ทั้งหมดนี้เป็น
สาเหตุที่เกษตรกรจำาเป็นต้องเข้าในดินและความสำาคัญในการจัดการธาตุอาหารดิน
เพื่อให้ได้ผลผลิตพืชที่ดีที่สุด และเป็นไปอย่างยั้งยืน ความพยายามที่จะเผยแพร่การ
จัดการธาตุอาหารพืชในโครงการปุ๋ยสั่งตัดจึงเป็นแนวคิดที่ดีในการเข้าใจธรรมชาติ
และมีการจัดการที่ยั่งยืน


นอกจากนี้ในปี 2550 ประเทศไทยนำาเข้าปุ๋ยเคมี ประมาณ 4.3 ล้านตัน คิดเป็นเงิน
มากกว่า 4 หมื่นล้านบาท ประมาณร้อยละ 50 ของปุ๋ยที่นำาเข้านั้นใช้กับข้าว เกษตรกร
ในพื้นที่ชลประทานใช้ปุ๋ยเคมีเกินความต้องการกว่า 50% หากมีนวัตกรรมบริการปุ๋ยให้
เกษตรกรเข้าใจและใส่ปุ๋ยตามความต้องการของดินและพืชแล้ว จะสามารถลดการใช้
ปุ๋ยสูตร และเพิ่มการใช้ปุ๋ยผสม ซึ่งจะลดการนำาเข้าปีละไม่ตำ่ากว่า หมื่นล้านบาท


ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ โดยคณะทำางานนวัตกรรม
บริการด้านการเกษตร (SIG เกษตร) ได้รับการแนะนำาจาก ศจ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                        2


เรื่องแนวคิดและปฏิบัติเกี่ยวกับปุ๋ยสั่งตัด หรือการใส่ปุ๋ยผสมตามค่าการวิเคราะห์ดิน ซึ่ง
เห็นว่าองค์ความรู้เรื่อง Services Science น่าจะเป็นพื้นฐานที่สำาคัญที่ทำาให้เกิดการ
พัฒนาต่อยอดเรื่องปุ๋ยสั่งตัดไปสู่นวัตกรรมใหม่ด้านการบริการได้ จึงเป็นที่มาของของ
โครงการนำาร่อง นวัตกรรมบริการปุ๋ย ซึ่งได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณดำาเนินการ
ในการศึกษาข้อมูลภาคสนามและการจัดทำา Services Offering ระยะแรกจาก
Services Research Innovation(SRI) Platform ของสำานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)


ในขณะที่ทำาการศึกษาเรียนรู้ในโครงการนำาร่องนี้ ได้มีการเตรียมการขยายผลไปสู่
Policy Level โดยความร่วมมือกับ Co-Creation partners ในการสร้างแนวยุทธศาสตร์
นวัตกรรมบริการการเกษตร แผน 5 ปี ขึ้นระหว่าง เนคเทค กับ สำานักงานพัฒนาการ
วิจัยการเกษตร องค์กรมหาชน(สวก.) ในหัวข้อ การพัฒนาระบบการให้บริการความรู้สู่
การปฏิบัติ ซึ่งจะอาศัยผลการเรียนรู้ในเรื่องนวัตกรรมบริการปุ๋ย เป็นพื้นฐานไปสู่ไม้ผล
เศรษฐกิจ 5 ชนิด คือ มะม่วง ลำาไย ทุเรียน มังคุด และส้มโอ ดังนั้นทั้งการศึกษานำาร่อง
การทำา policy guideline ด้านนวัตกรรมบริการนี้นำาไปสู่การสร้างฐานการทำางานด้าน
นวัตกรรมบริการการเกษตรของประเทศ เป็นผลงานของกลุ่มความร่วมมือทางการ
เกษตร [Special Interested Group(SIG) Agriculture] ที่จะนำาไปขยายผลสู่เวที SRII
Asia และ SRII Global ต่อไป


ความเป็น มา


นวัตกรรมบริการการเกษตร นับเป็นอีกศาสตร์หนึ่งที่ทำาให้เป้าหมายของการพัฒนา
คุณภาพชีวตที่ดีขึ้นของเกษตรกรเป็นจริง ในปัจจุบันมีรูแบบการบริการในภาคเกษตร
         ิ
มากมายแต่ยังเป็นการบริการที่ขาดพื้นฐานของ Services Science ที่จะทำาให้การ
บริการนั้นๆมีผลในการเปลี่ยนแปลงแนวคิดและผลผลิตของผู้รับบริการ ศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(เนคเทค)จึงได้เข้าร่วมกับ Services Research
Innovation Institute(SRII) ซึ่งเป็นกลุ่มความร่วมมือระหว่างประเทศ(International
Consortium) ที่ตั้งขึ้นมาโดยผู้ประกอบการทางธุรกิจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IBM,
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                       3


HP, Microsoft, SAP, Oracle, Wipro, Infosis...) เพื่อผลักดันให้เกิดความตระหนัก
ของความสำาคัญของนวัตกรรมบริการในสาขาวิชาต่างๆที่จำาเป็นต้องใช้ ICDT เป็น
เครื่องมือ เช่น การศึกษา การแพทย์ การสื่อสาร การบริการภาครัฐ เป็นต้น เนคเทคได้
เข้าร่วมกิจกรรมกับ SRII ตังแต่ปี 2009 เพื่อเรียนรู้มากขึ้นเกี่ยวกับศาสตร์ด้านดังกล่าว
                          ้
และนำามาใช้เป็นเครื่องมือในการปรับเปลี่ยนงานวิจัยไปสู่การบริการอย่างเป็นระบบผ่าน
ทาง NECTEC Flagships การเข้าร่วมกิจกรรมกับ SRII มีลำาดับดังนี้


   • ปี 2009 ผู้บริหารเนคเทคเข้าร่วมประชุมกับ SRII ที่ San Jose, California และ
      เป็นที่มาของการจัดตั้ง Thailand Chapter หรือ SRI Thailand ประเทศไทยขึ้น
      โดยภายใต้โครงสร้าง SRI Thailand นี้ประกอบด้วย กลุ่มความร่วมมือเฉพาะ
      ด้าน (Special Interested Group-SIG) ประกอบด้วย ด้านการเกษตร การแพทย์
      และสาธารณสุข การท่องเที่ยว และการศึกษา โดยเบื้องต้นมีเนคเทคเป็นหน่วย
      งานพี่เลี้ยงในการดำาเนินการผลักดันให้เกิดการเข้าใจในความสำาคัญของ
      นวัตกรรมบริการในสาขาต่างๆและการสร้างต้นแบบการเรียนรู้ ตลอดจนการผลัก
      ดันให้เกิดการขยายผลการวิจัยและใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมบริการอย่างเป็น
      รูปธรรม


   • ปี 2009 เนคเทคได้จัดการประชุม SRII Thailand Chapter ขึ้นระหว่างวันที่ 14-
      15 ธันวาคม 2009 เพื่อเป็นเวทีชี้แจงทำาความเข้าใจในเรื่องนวัตกรรมบริการให้
      กับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน โดยแบ่งกลุ่มสัมมนาออกเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย
      การแพทย์และสาธารณสุข การเกษตร การท่องเที่ยว และการศึกษาโดยในเบื้อง
      ต้นเนคเทคได้กำาหนดหัวข้อของนวัตกรรมบริการการเกษตรภายใต้ SIG เกษตร
      ไว้ประกอบด้วย
         • ด้านการผลิต
         • ด้านคุณภาพและมาตรฐานการผลิตและสินค้า
         • ด้านการจัดการความเสี่ยงทางการเกษตร
         • ด้านการจัดการและส่งผ่านความรู้
         • ด้านมาตรฐานข้อมูล
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                               4


         • กลุ่มความร่วมมือ หรือ SIG ทางด้านการขนส่งและการค้าสินค้าเกษตร


   •   ปี 2010 เนคเทคได้กำาหนดให้ Smart Services เป็นหนึ่งใน Flagship ของเนค
       เทคเช่นเดียวกับ Smart Farm, Smart Health, Smart Tourism และ Smart
       Education โดยจัดให้มีการประชุมระดมสมอง เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2010 ใน
       เวทีนี้เป็นการพยายามหาโจทย์นำาร่องในการเรียนรู้เรื่องนวัตกรรมบริการของ
       SIG ต่างๆ


   • ปี 2011 ทีมงานเนคเทคได้เข้าร่วมประชุม SRII Global Conference ครั้งที่ 1
       และได้มีการหาแนวทางในการจัดตั้งกลุ่มความร่วมมือด้านการเกษตร ภายใต้
       SRII โดยมอบให้ประเทศไทยเป็นผู้จัดตั้ง




                    ภาพที่ การประชุม SRII Global Conference


   • ปี 2012 ทีมงานเนคเทคได้นำาเสนอกรอบแนวคิดในการตั้ง SIG Agriculture
       Global ในที่ประชุม SRII Global Conference 2012


   •   กันยายน 2012 ได้รวมนำาเสนอแนวคิดนวัตกรรมบริการปุ๋ย ในการประชุม
                        ่
       วิชาการประจำาปีของเนคเทค หรือ NECTEC ACE 2012 โดยอดีต
       รมว.กระทรวงวิทยาศาสตร์ (นายปลอดประสพ สุรัสสวดี) ได้ให้ความสนใจใน
       การนำาไปขยายผล
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                5




                           ภาพที่ NECTEC ACE 2555


   •   ปี 2012 เนคเทคได้รับเชิญให้รวมจัดเวทีเสวนาเรื่องนวัตกรรมบริการการเกษตร
                                   ่
       ในการประชุม SRI India ที่เมือง Mysore ประเทศอินเดีย ระหว่างวันที่ 12-15
       ธันวาคม 2012 ซึ่งทำาให้ภาพของนวัตกรรมบริการการเกษตรมีความชัดเจนขึ้น
       โดยมีผู้ร่วมเสวนาจาก ประเทศญี่ปุ่น อินเดีย สหรัฐอเมริกา และไทย ผลจากการ
       ประชุมดังกล่าวนี้ ทำาให้ประเทศไทยได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพการจัดประชุม SRI
       Asia Summit 2013 ขึ้น ในเดือนกันยายน 2013 ณ กรุงเทพฯ ซึ่งเป้าประสงค์
       ต้องการแนวทางปฏิบัติและทิศทางการวิจัยและสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรมบริการ
       ด้านการเกษตรในระดับภูมิภาค ซึ่งจะนำาไปเสนอต่อการประชุม SRII Global
       Conference 2014 เพื่อประกาศเป็นกรอบยุทธศาสตร์ของ SIG Agriculture ต่อ
       ไป




                       ภาพที่ การประชุม SRII India, 2012
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                     6


จากมติการประชุมของ SIG เกษตร เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2555 Smart Farm
Flagship ได้เลือกโครงการศึกษานำาร่องนวัตกรรมบริการเพื่อจะทำาความเข้าใจถึงขั้น
ตอน กระบวนการ ที่นำาไปสู่การกิดนวัตกรรมบริการโดยเฉพาะสาขาการเกษตร โดยที่
ประชุมได้เลือกการต่อยอดงานปุ๋ยสั่งตัดของ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และคณะ ซึ่งได้รับ
ทุนวิจัยจาก สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) ใน “โครงการวิจัยการจัดการ
ธาตุอาหารพืชเฉพาะพื้นที่(ปุ๋ยสั่งตัด) เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว ข้าวโพด และอ้อยอย่าง
ยั่งยืน” ระหว่างปี 2540-2551 และร่วมทีมประดิษฐิ์ชุดตรวจสอบ เอ็น-พี-เค ในดินแบบ
รวดเร็ว เป็นโครงการที่สร้างประโยชน์ให้กับเกษตรกรอย่างต่อเนื่องด้านการใช้ปุ๋ยที่ถูก
ต้องและการลดต้นทุนการผลิต คณะทำางานให้ชื่อโครงการศึกษานำาร่องนี้ว่า “โครงการ
นวัตกรรมบริการปุ๋ย” เป็นส่วนหนึ่งของการสนับสนุนการทำางานของ SRI Thailand




               ภาพที่ การประชุม SRI workshop, มีนาคม 2555, สวทช.


โดยการทำางานโครงการนำาร่องนวัตกรรมบริการปุ๋ยสังตัดข้าวนี้ เป็นโครงการที่ได้รับ
การสนับสนุนงบประมาณดำาเนินการจาก SRI Platform เพื่อศึกษาแนวทางการนำา
นวัตกรรมบริการมาปรับใช้และ ให้สามารถขยายผลได้รวดเร็วด้วย business model
ใหม่ที่ทำาให้เกิด value proposition ของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ
และมี Services Offering ใหม่ที่ทำาให้สามารถขยายผลการบริการได้รวดเร็วมี
ประสิทธิภาพ พื้นที่ศึกษาของโครงการคือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวบ้าน
ห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวนิคมพัฒนา
อ.บางระกำา จ.พิษณุโลก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตข้าว GAP บ้านลองตอง อ.สองพี่น้อง
จ.สุพรรณบุรี
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                          7




             ภาพที่ กลุ่มเรียนรู้นำาร่อง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านห้วยขมิ้น




การปรับ ใช้ห ลัก Service Science กับ การบริก ารปุ๋ย ข้า ว ให้เ กิด Services
Innovation
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                8


                       ภาพที่ Holistic Services Offering Model


เนื่องจากผลผลิตประชาชาติ (GDP) ของประเทศทางด้านการบริการ เติบโตถึง 42% (ปี
2012) แสดงให้เห็นความสำาคัญของภาคการบริการในการพัฒนาประเทศ ในประเทศที่
พัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา หรือ ญี่ปุ่น ตัวเลขภาคการบริการ สูงถึง % ตามลำาดับ
ในตัวเลขภาคบริการของประเทศนี้ เป็นการบริการภาคเกษตร ประมาณ 9% จะเห็นได้
ว่าโอกาสการพัฒนาภาคการบริการให้เติบโต ยังมีอีกมาก ดังนั้นการเข้าใจพื้นฐานด้าน
Service Science จึงมีความสำาคัญ ซึ่งจะนำามาใช้ในการออกแบบนวัตกรรมบริการ
ใหม่ๆให้ภาคธุรกิจไทย สำาหรับภาคเกษตรนั้นตัวเลขการบริการที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ยัง
เป็นการบริการในรูปแบบเดิม ยังไมมีการใช้นวัตกรรมบริการเข้าไปช่วยในการพัฒนา
มากนัก จึงเป็นความจำาเป็นที่ต้องเร่งพัฒนาความตระหนัก ความเข้าใจ และความเข้าถึง
การพัฒนานวัตกรรมบริการสาขานี้อย่างเร่งด่วน เพื่อให้ประเทศยังคงความสามารถใน
การผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรต่อไปได้ด้วยรูปแบบธุรกิจที่เกิด Value Creation
ใหม่ๆกับลูกค้า ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาด และผลกระทบจากสภาพแวดล้อมและ
สภาพอากาศที่ผันแปรไป


เนื่องจากนวัตกรรมบริการเป็น Intellectual ที่เป็นเอกลักษณ์ มีความสัมพันธุ์กับ
contexts ทีหลากหลาย ทั้งที่เป็นเทคโนโลยี และไม่เป็นเทคโนโลยี ทั้งที่จับต้องได้
           ่
(tangible) และจับต้องไม่ได้ (intangible) ดังนั้นการออกแบบนวัตกรรมบริการ
(Services Innovation) จึงต้องคำานึงถึงองค์ประกอบของหลักคิด (Services Concept
หรือ Guiding Principle) ที่ ประกอบด้วย attributes 6 ตัวด้วยกัน attributes 3 ตัวแรก
เป็นการออกแบบการบริการ (Service Package หรือ Offering Package) ประกอบ
ด้วย
   • Core Services หรือ Core Offering คือบริหารหลักที่ต้องการพัฒนา
   • Enabling Services คือการบริการที่เพิ่มเติมเข้าไปในบริบทที่ทำาให้ผู้ใช้
       บริการเห็นความจำาเป็นและคุณค่า เป็นการเสริมการบริการหลักโดยตรง
   • Enhancing Services เป็นการบริการที่อาจมีคุณค่า หรือไม่เกิดคุณค่า ต่อ
       ผู้รับบริการ ขึ้นกับบริบทในพื้นที่
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                         9




ในการพัฒนานวัตกรรมบริการที่ดีนั้นต้องให้ผู้ใช้บริการมีส่วนร่วม หรือมีความรับผิด
ชอบในการออกแบบการบริการ ที่เรียกว่า Co-Create เช่น ในกรณีของนวัตกรรม
บริการปุ๋ย เกษตรกรเป็นผู้ใช้บริการโดยตรง ที่ผ่านมาเกษตรกรไม่มีทางเลือกอื่น
นอกจากเลือกซื้อปุ๋ยสูตรที่หลากหลายทั้งสูตรปุ๋ย(มีปุ๋ยสูตรที่ขอขึ้นทะเบียนไว้ไม่ตำ่ากว่า
200 สูตร) และเครื่องหมายการค้า ดังนั้น Core Services ในที่นี้คือการบริการปุ๋ยที่ตรง
ตามความต้องการของพืชและพื้นที่ เกษตรกรจึงต้องมีส่วนร่วมในการออกแบบบริการมี่
เหมาะสม และทำาให้เกิด Enabling offering อะไร ที่เกิดคุณค่าจากการใช้บริการนั้น
มากที่สุด เพราะทุก Core services นั้นล้วนแต่มี constraints หรือ varieties ของตัว
เอง Enabling services ในที่นี้อาจเป็น การรวมการวิเคราะห์ดิน การคำานวนธาตุอาหาร
การผสมแม่ปุ๋ย และการใส่ปุ๋ย ไว้ด้วย นอกจากนี้ในการออกแบบยังต้องพิจารณาถึง
ปัจจัยอีก 3 อย่าง คือ
   • การระบุ Services Concept ที่ชัดเจน
   • Identify Core services เพื่อดูว่ามีอุปสรรค (constraints/varieties) อะไรบ้าง ปัจจัย
       ไหนที่ สามารถลดได้ (reduce) หรือ ปัจจัยไหนที่ต้องหาวิธีอื่นมาแก้ (absorb) ซึ่ง
       ในการศึกษานี้การ absorb อาจเป็น ICDT ที่เป็นเครื่องมือ
   • จำาเป็นต้องศึกษา enabling services และ enhancing services ไปควบคู่กัน เพื่อให้
       เกิด Service value สูงสุด
ความสัมพันธุ์ของ 3 attributes ทำาให้เกิด
   •   Core Services กับ Enhancing Services ทำาให้เกิด Add Value หรือการเพิ่ม
       คุณค่าให้กับการบริการหลัก ทำาให้ผู้ใช้บริการเกิดความพึงพอใจต่อการบริการ
       มากขึ้น
   • Core Services กับ Enabling Services ทำาให้เกิด Realize Value หรือความ
       ตระหนักของผู้ใช้บริการต่อประโยชน์และคุณค่าที่ได้รับจากการบริการเสริมจาก
       บริการหลัก
   • Enhancing Services กับ Enabling Services ทำาให้เกิด Interchange หรือการ
       แลกเปลี่ยนคุณค่าที่ได้รับจากการบริการ
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                     10


Augmented Services Offering เป็น function ที่ทำาให้เข้าถึง Services
Offering ซึ่งแนวคิดเรื่องการบริการถูกขยายผลให้เป็นกลุ่มบริการและข้อเสนอในรูป
แบบของกิจกรรม ประกอบด้วย attributes 3 ตัว ได้แก่
   • Accessibility of Services หรือการเข้าถึงข้อเสนอหรือบริการ เช่น สถานที่
       ให้บริการ, Web site, Brochure, ประกาศ หรือวิธีใดที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
   •   Interaction with the business or services provider หรือปฏิสัม
       พันธุ์ระหว่างธุรกิจกับผู้ใช้บริการ เป็นอีกส่วนหนึ่งที่สำาคัญและต้องอาศัย Co-
       creation ที่ดี เป็นเรื่องของการจัดการ human network และ Social network
   • Participation หรือ Customer participation คือ การให้ผู้ใช้บริการมี
       ส่วนร่วมในการออกแบบ และการวิเคราะห์การบริการ


ความสัมพันธุ์ของ attribute แต่ละคู่นั้น ทำาให้เกิดคุณค่าการบริการที่แตกต่างกัน
ประกอบด้วย
   • Participation กับ Interaction ทำาให้เกิด Value Network คือ เครือข่ายของการ
       มีส่วนร่วมสร้างคุณค่าให้กับการบริการ
   • Participation กับ Accessibility of Services ทำาให้เกิด Value Creation คือ
       การได้รับคุณค่าของการบริการโดยผู้ใช้บริการ ผ่านช่องทางการให้บริการที่
       เหมาะสมและเกิด services experiences ทีดี
   • Interaction กับ Accessibility of Services ทำาให้เกิด Value Density คือ การ
       ทำาให้เกิดการขยายผลของการบริการที่มีคุณค่าจากการใช้ ICDT เป็นเครื่องมือ


การทำางานศึกษาในโครงการนำาร่องนี้ก็เพื่อที่จะเข้าใจความหมาย ขั้นตอน และองค์
ประกอบของนวัตกรรมบริการ โดยเฉพาะการนำาไปปรับใช้ทางด้านการเกษตร ในอันที่
จะช่วยทำาให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้ใหม่ๆในการให้และการรับและนำาไปสู่คุณภาพ
ชีวิตของเกษตรกรไทยดีขึ้น ทั้งนี้ได้ตั้งเป้าหมายการทำางานไว้เพื่อออกแบบการบริการ
ตามประเด็นต่อไปนี้
   • ICDT Enabling Services รูปแบบต้องเน้นการนำา ICDT มาเป็นเครื่องมือ
       ประกอบการพัฒนานวัตกรรมบริการ
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                    11


   • Scalable ทำาให้สามารถขยายผลการเข้าถึง (Accessibility) การใช้บริการอย่าง
      ทั่วถึง รวดเร็ว
   • Out reach เกิดการพัฒนานวัตกรรมบริการแบบใหม่ที่เน้นการเข้าถึงและใช้
      ประโยชน์และลูกค้า เฉพาะกลุ่ม เฉพาะพื้นที่
   • Economy of scale มีความคุ้มค่าต่อการลงทุน เกิดธุรกิจบริการที่ลูกค้ามีส่วน
      ร่วมในการออกแบบที่เหมาะสมต่อพื้นที่ และประโยชน์ใช้งาน เกิด value
      network ที่ขยายตัวเป็น Value constellation ต่อไป
นอกจากนี้ Co-creation of value ยังต้อง propose value ให้มีการใช้ทรัพยากรร่วม
กัน เพื่อสร้าง value แบบต่างให้ผู้ใช้บริการ ดังนี้
   • “value in use” หรือ คุณค่าที่เกิดจากการที่ผู้ใช้บริการมีความรู้สึกประทับใจต่อ
      บรรยากาศหรือการบริการ (services experiences) เป็นการที่ผู้ให้บริการเป็น
      คนกำาหนด เช่น ผู้ประกอบการจัดหาแม่ปุ๋ย และรับผสมปุ๋ยให้ตามที่ต้องการ
      เป็นต้น
   • “value in exchange” หรือ คุณค่าของการบริการอยู่ที่การแลกเปลี่ยน เป็นสิ่งที่ผู้
      ให้บริการเป็นคนกำาหนดเช่นกัน เช่น การซื้อปุ๋ย จะได้ปุ๋ยคุณภาพแบบไหน ขึน
                                                                            ้
      อยู่ที่งบประมาณที่มี เป็นต้น
   • “value in context” หรือคุณค่าที่เกิดขึ้นกับบริบทของผู้บริโภค(เป็นการร่วมกัน
      กำาหนดคุณค่าการบริการระหว่างกัน) มักจะมีข้อจำากัด หรือ variety สูง เป็นการ
      ทำาให้เกิดเครือข่าย value constellation ที่ร่วมกันสร้างการบริการที่ทุกฝ่ายจะ
      ได้รับประโยชน์ร่วมกัน ในกลุ่มนี้จะนำาไปสู่การออกแบบการบริการที่เรียกว่า
      Services System Design หรือ Services Delivery Principle มี 7 contexts
      ด้วยกัน คือ
   • context 1 : person-to-person
   • context-2: technology enhanced person-to-person services
   • context 3: self services
   • context 4: multi-channel services
   • context 5: services of multiple devices or platforms
   • context 6: computer-to-computer
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                      12


   • context 7: location based or context awareness services หรือการ
       ออกแบบการบริการที่เพิ่มคุณค่าให้ผู้รับบริการตามเงื่อนเวลาและสถานที่


ซึ่งการออกแบบนวัตกรรมบริการการเกษตรโดยเฉพาะในการศึกษานำาร่องนี้ อาจจต้อง
เป็นการผสมผสานของ context หลายแบบ ขึ้นกับบริบทของพื้นที่ กลุ่มผู้รับบริการ
ปัจจัยที่เป็น variety อื่นๆ


วัต ถุป ระสงค์โ ครงการ




                              ภาพที่ วัตถุประสงค์ของโครงการ


   1. เพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว โดยเฉพาะต้นทุนปุ๋ยข้าว เป็นที่ทราบกันดีว่าปุ๋ย
       เป็นต้นทุนประมาณ % ของการผลิตข้าว ปกติเกษตรกรต้องใส่ปุ๋ย 2 รอบคือ
       ประมาณ 15 วันหลังปลูก และ 45 วัน สูตรปุ๋ยที่ให้จะคล้ายกันทั่วประเทศ() การ
       ปฏิบัติที่ต่อเนื่องกันมาเป็นเวลานานนี้ทำาให้เกิดต้นทุนที่เกินความจำาเป็น การเสื่อม
       สภาพของดิน และความไม่แน่นอนของผลผลิต การเปลี่ยนแนวคิดมาใช้ปุ๋ยสั่งตัด
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                     13


      ของเกษตรกรบ้านห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี ทำาให้สามารถลดต้นทุนการใช้
      ปุ๋ยลงได้ถึง 40% และได้ผลผลิตที่ดีขึ้น เนื่องจากการใช้ปุ๋นผสมที่ตรงตามความ
      ต้องการของพืช
   2. เกษตรกรได้ใช้ปุ๋ยผสมตามความต้องการของดินในพื้นที่ ส่วนใหญ่เกษตรกรไทย
      จะไม่ให้ความสำาคัญของการเก็บตัวอย่างดินในแปลงปลูกเพื่อมาวิเคราะห์ธาตุ
      อาหารหลัก (N, P, K) เนื่องจากขาดความเข้าใจถึงความสำาคัญและความจำาเป็น
      การหาซื้อชุดตรวจสอบและนำ้ายา ความยุ่งยากของขั้นตอนการสุ่มเก็บตัวอย่างดิน
      และการวิเคราะห์ และการหาข้อมูลความรู้เรื่องดินและปุ๋ย กระบวนการของปุ๋ยสั่ง
      ตัดคือการเปลี่ยนแนวคิดให้เกษตรกรทำาการวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารหลักในดิน
      เพื่อเติมเฉพาะสิ่งที่ขาดและจำาเป็นในช่วงเวลาที่พอเหมาะ ทำาให้สามารถลด
      ต้นทุนการซื้อปุ๋ยสูตร
   3. ได้ผลผลิตข้าวต่อพื้นที่ดีขึ้น ได้ผลผลิตดีขึ้นเนื่องจากข้าวได้รับธาตุอาหารตรง
      ตามต้องการในช่วงเวลาที่ถูกต้อง
   4. เกิดธุรกิจบริการปุ๋ยในรูปแบบใหม่ ผู้ประกอบการค้าปุ๋ยให้ความสนใจในการปิด
      ธุรกิจปุ๋ยในรูปแบบของการให้บริการตรง หากรู้ความต้องการของกลุ่มเกษตรกร
      (demand) ว่าต้องใช้ N, P และ K ในปริมาณเท่าใด สามารถจัดส่งแม่ปุ๋ยหรือปุ๋ย
      สูตรใกล้เคียงได้โดยตรง และในอนาคตอาจเพื่อการบริการวิเคราะห์ดิน ผสมแม่
      ปุ๋ย และการใส่ปุ๋ย เข้าไว้ในการบริการที่ครบวงจรได้
   5. ลดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในระยะยาว หากมองในด้านของการเสื่อมสภาพ
      ของดิน การใช้ปุ๋ยสูตรในปริมาณเกินกำาหนด เป็นเวลานานมักส่งผลให้ดินเกิด
      การแข็งตัว ขาดสมดุลทางกายภาพและเคมีดิน ทำาให้การเพาะปลูกไม่ได้ผลผลิต
      ที่ดี การจัดการดินและปุ๋ยจึงเป็นเรื่องสำาคัญในการทำาการเกษตรอย่างยั่งยืน ดัง
      นั้นการใช้ปุ๋ยสั่งตัดจึงเป็นการเติมในสิ่งที่ขาด และในปริมาณที่จำาเป็น เป็นการ
      ช่วยรักษาสภาพสมดุลของดิน และหากมีการใช้ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์จะทำาให้
      คุณสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้นในระยะยาว
   6. เกิดนวัตกรรมบริการการเกษตรใหม่ที่นำา ICDT(Information, Communication,
      Dissemination Technologies) การพิจารณาการใส่เทคโนโลยีเข้าไปในขั้น
      ตอนการผลิต มุ่งทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิดและการปฏิบัติ ทีขยายผลการ
                                                                   ่
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                           14


      ยอมรับอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว (Services Density) และทำาให้เกิด Service
      Experiences ใหม่ๆ ที่ช่วยให้คุณภาพชีวิตของเกษตรกรไทยดีขึ้น




ขั้น ตอนการปฏิบ ต ิง าน
                ั




                          ภาพที่ ขันตอนการปฏิบัติงาน
                                   ้
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                  15


กลุ่ม ความร่ว มมือ (Co-creation)




                        ภาพที่ Co-creation ในชุมชนนำาร่อง


เนื่องจาก Co-creation เป็นกลุ่มความร่วมมือของของผู้ที่เกี่ยวข้องและมีผลประโยชน์
ในเรื่องนั้น Co-creation เป็นพื้นฐานที่สำาคัญและจำาเป็นอย่างยิ่งในการทำาให้เกิด
นวัตกรรมริการ เป็นตัวแปรที่ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ในทางสร้างสรรค์
ระหว่างกัน โครงการนำาร่องนี้ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มความร่วมมือ (Co-
creation)ประกอบด้วย
   • ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดย ศจ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์
      ที่ปรึกษาคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในฐานะที่ปรึกษาโครงการ
      ดร.รุ่งโรจน์ ด่านพิทักษ์ธรรม อาจารย์ประจำาภาควิชาปฐพีวิทยา วิทยากรเรื่องปุ๋ย
      สั่งตัดของมูลนิธิพระดาบส ให้แนวคิดพื้นฐานเรื่องปุ๋ยสั่งตัด และการแนะนำาพื้นที่
      ดำาเนินการ
   • ดร.ศศิพร อุษณวศิน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่ปรึกษาด้านการทำา Services
      Blueprint
   • Dr. Masahiko Nagai, Associate Director, Geoinformatics Center, School
      of Engineering and Technology, Asian Institute of Technology และ
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                     16


      นส.กุลปราโมทย์ ประทุมชัย ผู้ช่วยและนักศึกษาปริญญาเอกที่ใช้พื้นที่นำาร่องใน
      การศึกษาโครงการพิเศษ เรื่อง Geo-informatics Usage for Disaster
      Recovery Service in Thailand สนับสนุนการเก็บข้อมูลพิกัดของแปลงนา การ
      พัฒนาโปรแกรมวิเคราะห์พื้นที่ ด้วยการใช้ Light UAV ในการถ่ายภาพบริเวณ
      พื้นที่ศึกษาเพื่อนำามาทำาแผนที่การจัดการนา ของพื้นที่นำาร่องกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
      ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวบ้านห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี (ประมาณ 3 พันไร่)
   • กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวบ้านห้วยขมิ้น (ผู้ใหญ่ร่ม วรรณประเสริฐ
      และทีมงาน) เป็นพื้นที่ศึกษาเชิงลึก และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
      บ้านนิคมพัฒนา อ.บางระกำา จ.พิษณุโลก เพื่อใช้ศึกษาข้อมูลประกอบในชุมชนที่
      อยู่ต่างพื้นที่กัน
   • กรมการข้าว โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของโครงการหมู่บ้านลดต้นทุน พื้นที่บ้านห้วย
      ขมิ้น จ.สระบุรี
   • บริษัทสินธุสุวรรณ จำากัด ผู้นำาเข้าแม่ปุ๋ยจากต่างประเทศ สนับสนุนข้อมูลเรื่อง
      ธุรกิจปุ๋ยสูตรและแม่ปุ๋ย สนับสนุนแนวคิดให้เกิดนวัตกรรมบริการปุ๋ย เพื่อให้เกิด
      ธุรกิจการขายปุ๋ยแบบใหม่ที่เป็น direct services สู่เกษตรกร และทำาให้ต้นทุน
      การผลิตลดลง
   • สำานักงานการพัฒนาการเกษตร เป็นองค์กรที่ทำาหน้าที่ในการให้ทุนอุดหนุนการ
      วิจัยทางการเกษตร และการพัฒนาบุคลากรทางการเกษตร เข้ามาร่วมเพื่อเรียนรู้
      เรื่องนวัตกรรมบริการการเกษตร และการนำาไปขยายผลในเชิงการสนับสนุนการ
      วิจัย และการสร้างบุคลากรด้านนวัตกรรมบริการในวงการเกษตรของประเทศ




การเก็บ Physical Evidences หรือข้อเท็จจริงภาคสนาม ในการศึกษานี้คือเรื่อง
การใช้ปุ๋ยของเกษตรกรในพื้นที่นำาร่อง ในการศึกษานี้ประกอบด้วย
         • กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์บ้านห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี
             สมาชิกกลุ่ม 86 คน พื้นที่ทำานารวมประมาณ 1 พันไร่
         • กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์บ้านนิคมพัฒนา อ.บางระกำา
             จ.พิษณุโลก สมาชิกกลุ่ม 8 คน พื้นที่ทำานารวมประมาณ 500 ไร่
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                           17


         • หมู่บ้านลดต้นทุนบ้านลองตอง อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี สมาชิกกลุ่ม คน
            พื้นที่ทำานารวม ประมาณ 2 พันไร่
         • กลุ่มผู้ผลิตยางพาราบ้านสระโคกพัฒนา อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี สมาชิกกลุ่ม
            คน พื้นที่ปลูกยางพารา รวมประมาณ 1 พันไร่
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋   18
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋   19
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋   20
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋   21
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                              22




              ภาพที่ การประชุมร่วมกับชุมชนในการทำาโครงการนำาร่อง


ข้อมูลที่เก็บจากภาคสนาม และได้นำาลงใน business canvas เพื่อใช้ในการวิเคราะห์
Services Delivery Principle ประกอบด้วย
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                 23




                              ภาพที่ Services Canvas


   • Key partners หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับปุ๋ยในพื้นที่ ประกอบด้วย
         • เกษตรกร ในฐานะผู้ใช้หรือผู้รับบริการที่ได้รับผลกระทบโดยตรง
         • บริษัทและร้านค้าปุ๋ยในท้องถิ่น ในฐานะผู้ให้บริการที่อาจได้รับผลกระทบ
            เชิงธุรกิจ ในที่นี้ได้แก่ บริษัทสินธุสุวรรณ จำากัด
         • หน่วยราชการในภูมิภาคและส่วนกลาง ที่เป็นผู้ให้บริการความรู้และข้อมูล
            เกี่ยวกับ ดินและปุ๋ยสำาหรับข้าว ในที่นี้ประกอบด้วย กรมการข้าวใน
            โครงการหมู่บ้านลดต้นทุน และความรู้เรื่องปุ๋ยข้าวตามค่าวิเคราะห์ดินจาก
            มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แผนที่ดินและข้อมูลชุดดิน จากกรมพัฒนาที่ดิน
         • เนคเทค ผู้พัฒนาอุปกรณ์และ application ที่จะช่วยทำาให้รูปแบบของการ
            บริการให้สามารถขยายผลเกิด density ครอบคลุมการใช้งานได้ อย่าง
            รวดเร็วมีประสิทธิภาพ
         • มหาวิทยาลัย/สถานศึกษา ในที่นี้ได้แก่ ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทาลัย
            เกษตรศาสตร์ ที่มาของปุ๋ยสั่งตัดการดำาเนินการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยสั่งตัดและ
            การอบรมเกษตรกรในการขยายขอบเขตการใช้ปุ๋ยสั่งตัด มหาวิทยาลัย
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                    24


               ศรีปทุม การทำา business canvas และ services blueprint สถาบัน
               เทคโนโลยีแห่งเอเซีย (Asian Institute of Technology) ใช้ความรู้ด้าน
               remote sensing ในการทำาแผนที่นา และแผนที่ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
               ในพื้นที่ศึกษา




               ภาพที่ การปฏิบัติงานในพื้นที่กับกลุ่มเกษตรกรที่ใช้ปุ๋ยสั่งตัด




   • Key activities หมายถึงกิจกรรมหลักที่ผู้เกี่ยวข้องใน Key partners ต้อง
      ปฏิบติ
          ั
         • เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกร มีหน้าที่ในการ
                  •   ตรวจสอบดิน เพื่อหาค่าองค์ประกอบของไนโตรเจน(N),
                      ฟอสฟอรัส(P) และ โปแทสเซี่ยม(K) โดยใช้ชุดตรวจสอบดิน (Soil
                      Test Kit) ที่พัฒนาโดย ศจ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และคณะ หาซื้อ
                      ได้ที่ ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรอ บริษัท อี
                      โค อะโกร จำากัด หรือทางอินเทอรณเน็ตที่
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                        25


                    http://soiltestkit.blogspot.com
               •    คำานวนหาสูตรปุ๋ย โดยใช้สูตรคำานวนหาสูตรปุ๋ยข้าวของ
                    ศจ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และคณะ ที่เรียกว่าโปรแกรม SimRice
                    (Site-specific Nutrient Recommendation for Rice) ซึ่งอยู่บน
                    http://www.ssnm.info/
               • หาแม่ปุ๋ย มาผสมเพื่อให้ได้ปริมาณธาตุอาหารที่ต้องการ จากร้านค้า
                    ปุ๋ยในท้องถิ่น หรือผู้ประกอบการ
               • ใส่ปุ๋ย อาจเป็นการใส่เองหรือจ้างใส่ปุ๋ย
         • บริษัทหรือร้านค้าปุ๋ย หรือ สหกรณ์เพื่อการผลิตและการตลาด(สกต.)
            มีหน้าที่ในการหาแม่ปุ๋ยมาจำาหน่าย จัดส่งปุ๋ย เพื่อให้เกษตรกรหรือกลุ่ม
            เกษตรกร สามารถมีแม่ปุ๋ยมาผสมปุ๋ยผสมตามที่ต้องการได้
         • หน่วยราชการทั้งส่วนกลางและภูมิภาค ได้แก่
               • กรมการข้าว โครงการหมู่บ้านลดต้นทุน เนื่องจากปุ๋ยเป็นหนึ่งใน
                    ต้นทุนหลักของการผลิตข้าว หรือประมาณ เปอร์เซนต์ของต้นทุน
                    ทั้งหมด หากมีนวัตกรรมบริการปุ๋ยเกิดขึ้นและสามารถขยายผล
                    แนวคิดเรื่องปุ๋ยสั่งตัดได้ ก็จะสามารถช่วยให้โครงการหมู่บ้านลด
                    ต้นทุนนี้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรมเช่นกัน ดังนั้นกรมการข้าวจึง
                    สนับสนุนการทำางานของโครงการดังกล่าว โดยมีพื้นที่ทำางานร่วมกัน
                    ใน 2 พื้นที่ ได้แก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์บ้านห้วยขมิ้น
                    จ.สระบุรี และโครงการหมู่บ้านลดต้นทุนบ้านลองตอง อ.สองพี่น้อง
                    จ.สุพรรณบุรี ทั้งสองชุมชนนี้มีเจ้าหน้าที่ภาคสนามของกรมการข้าว
                    คอยให้คำาปรึกษา
               • ข้อมูลชุดดิน และข้อมูลทางกายภาพดิน ของกรมพัฒนาที่ดิน หา
                    ข้อมูลจากหมอดิน หรือ Website ของกรมพัฒนาที่ดิน
                    http://www.ldd.go.th/menu_download/download-1.htm
               • เนคเทค โดย SIG เกษตร เป็นผู้ศึกษา Physical evident ทำา
                    Guiding principle และ Services Offering ในระยะแรก เพื่อเป็น
                    ข้อมูลฐานในการเลือก services offering ที่จะใช้ ICDT เข้ามาเป็น
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                        26


                    เครื่องมือที่ทำาให้เกิดการขยายผลการใช้งาน หรือ density ในระยะ
                    ต่อไป
               • มหาวิทยาลัย/สถานศึกษา ประกอบด้วย
                      • ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ให้คำาปรึกษา
                            เรื่องหลักการของปุ๋ยสั่งตัด ในฐานนะที่ ศจ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะ
                            นันทน์ และคณะ ได้รับทุนวิจัยจาก สกว. และเป็นจุดกำาเนิด
                            ของโครงการปุ๋ยสั่งตัด การคำานวนสูตรปุ๋ยสำาหรับข้าวและ
                            ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การพัฒนาชุดตรวจสอบดิน นอกจากนี้
                            ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และ ดร.รุ่งโรจน์ ด่านพิทักษ์ธรรม ยัง
                            เป็นวิทยากรหลักในการให้ความรู้เรื่องปุ๋ยสั่งตัดแก่เกษตรกร
                            ทั่วประเทศ ด้วยการสนับสนุนจากมูลนิธิพระดาบส
                      • สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย โดย Geoinformatics Center,
                            School of Engineering and Technology, Asian Institute
                            of Technology ได้ส่งนักศึกษาปริญญาเอก มาร่วมเก็บข้อมูล
                            เชิงพื้นที่ของพื้นที่นำาร่องบ้านห้วยขมิ้น พร้อมพิกัด ภาพถ่าย
                            และเทคนิด remote sensing จากภาพถ่ายมุมสูงจาก UAV
                            เพื่อทำาแผนที่นา และแผนที่ความอุดมสมบูรณ์ของดินในการ
                            ทำางานระยะสองที่จะทำาให้เกิด density ในการขยายผล และ
                      • มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดย ดร.ศศิพร อุษณวศิน ในฐานะเป็น
                            วิทยากรหลักในโครงการอบรมเรื่อง Services Innovation
                            ของ NSTDA Academy ได้ช่วยเป็นที่ปรึกษาเรื่องการทำา
                            business canvas และ services blueprint โดยหาก
                            โครงการศึกษา services offering ในระยะแรกสำาเร็จก็
                            สามารถใช้ข้อมูลเป็นกรณีศึกษาประกอบการสอนได้


   • Key Resources หมายถึงองค์ความรู้ หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับกรณีศึกษา
      ที่มีผลทำาให้เกิดนวัตกรรมการเรียนรู้ไปสู่นวัตกรรมบริการในที่สุด ในการศึกษานี้
      ประกอบด้วย key resources ได้แก่
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                   27


         • ความรู้เรื่องปุ๋ยสั่งตัด เป็นองค์ความรู้ที่เกิดจากการศึกษาของ ศจ.ดร.ทัศนีย์
            อัตตะนันทน์ และคณะ และมีการขยายผลต่อเนื่อง ที่เป็นรูปธรรมในปัจจุบัน
            คือโครงการนำาร่องจากการสนับสนุนของมูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน(การ
            จัดพิมพ์หนังสือ “ธรรมชาติของดินและปุ๋ย”) และมูลนิธิพระดาบส ในด้าน
            การจัดอบรมเกษตรกร องค์ความรู้นี้ประกอบด้วย ความรู้ในการสุ่มเก็บ
            ตัวอย่างดิน การเตรียมตัวอย่างดินเพื่อมาวิเคราะห์ การวิเคราะห์ตัวอย่าง
            ดินด้วยชุดตรวจสอบ N-P-K ดินอย่างรวดเร็ว และการคำานวนหาสูตรแม่ปุ๋ย
            ผสมที่เหมาะสมสำาหรับดินนั้นๆ
         • ความรู้เรื่องดินและปุ๋ยทั่วไป จัดทำาโดยกรมพัฒนาที่ดิน เผยแพร่ผ่าน
            เอกสารและบน website
            http://www.ldd.go.th/menu_download/download-1.htm
         • ความรู้เรื่อง ชุดดิน ลักษณะทางการภาพของดินแต่ละชุด และความเป็นก
            รดเป็นด่างของดิน ความรู้ในกลุ่มนี้มีกรมพัฒนาที่ดินเป็นผู้ให้บริการความรู้
            ผ่านทาง หมอดิน website และเอกสารเผยแพร่
            http://www.ldd.go.th/menu_download/download-1.htm
         • ความรู้เรื่อง พ.ร.บ ปุ๋ย ในรูปแบบเอกสารเผยแพร่ และ website
            http://webhost.cpd.go.th/roiet/download/%E0%B8%9E
            %E0%B8%A3%E0%B8%9A.%E0%B8%9B
            %E0%B8%B8%E0%B9%8B%E0%B8%A2_2550_
            %E0%B8%892.pdf
         • องค์ความรู้เรื่องการใส่ปุ๋ย ช่วงเวลาในการใส่ปุ๋ยในนาข้าวที่ส่งผ่านกันมา
            ในหมู่เกษตรกร
         • ความรู้เรื่องต้นทุนการผลิตและการลดต้นทุน จากเจ้าหน้าที่ภาคสนาม กรม
            การข้าว ในโครงการหมู่บ้านลดต้นทุน
         • การใช้เทคโนโลยีเพื่อเข้าถึงแหล่งความรู้


   • Value Proposition หมายถึงการแบ่งปันผลประโยชน์หรือคุณค่าจากการมา
      ร่วมมือกัน (Co-creation) ทำาให้เกิดนวัตกรรมบริการใหม่ ด้วยเป้าหมายของ
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                      28


      โครงการนำาร่องนวัตกรรมบริการปุ๋ยนี้ ต้องการให้
         • เกษตรกร ซึ่งเป็นผู้รับบริการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จากการมีส่วนในการ
            ออกแบบบริการที่ดี ดังนั้น ในการศึกษาจึงมุ่งเป้าไปที่เกษตรกรเป็นหลัก
            (prime mover) หากมีนวัตกรรมบริการปุ๋ยพร้อมเครื่องมือสนับสนุนด้าน
            ICDT จะทำาให้เกษตรกรสามารถปฏิบัติงานบนข้อมูล ความถูกต้องแม่นยำา
            รวดเร็ว และเปลี่ยนจากจาก passive farmers ที่เป็นผู้คอยรับความช่วย
            เหลือ กลายเป็น active farmers คือเป็นผู้กำาหนดความต้องการบนข้อมูล มี
            ส่วนร่วมในการออกแบบบริการ และปรับปรุงการบริการที่มีอยู่ให้ตรงกับ
            ความต้องการบนหลักการของการแลกเปลี่ยนคุณค่าและประโยชน์ซึ่งกัน
            และกัน (Value in context)
         • ในส่วนของผู้ให้บริการซึ่งในที่นี้คือ บริษัทหรือผู้ประกอบการร้านค้าปุ๋ย
            ท้องถิ่นนั้น เมื่อมีการปรับตัวและเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการใช้นวัตกรรม
            บริการแล้ว จะเกิดแนวธุรกิจใหม่ที่อาจแตกแขนางไปจากเดิม เช่น การ
            บริการแบบ direct services ที่เป็นบริการเฉพาะกลุ่ม และพื้นที่
            (localized/personalized) หากสามารถออกแบบธุรกิจร่วมกับกลุ่มผู้ใช้
            หรือผู้รับบริการได้ ความสมดุลของ demand-supply ตัวใหม่จะเกิดขึ้น
            ตามหลักเศรษฐศาสตร์ตามมา
         • กลุ่มที่ได้ประโยชน์อีกกลุ่มหนึ่งคือผู้ให้บริการองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับดิน
            ปุ๋ยและข้าว ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมพัฒนาที่ดิน กรมการ
            ข้าว และหน่วยงานภาครัฐ ทีจะเกิดการพัฒนา Information/knowledge
                                     ่
            as a Services ตามมา และเป็นรูปแบบ on-demand ที่ส่งเฉพาะข้อมูล
            ความต้องการที่เป็น localized/personalized จริงๆ
         • กลุ่มที่พัฒนาเทคโนโลยี ICDT จะสามารถปรับเทคโนโลยีให้เหมาะกับ
            โจทย์ในพื้นที่ ทางด้าน Platform as a services และ Knowledge as a
            services ไม่หลงประเด็น และนำาไปสู่การพัฒนานวัตกรรมใหม่ร่วมกับ
            ชุมชน และภาคเอกชน


   • Customers Relationship หรือ Interaction คือ ความสัมพันธุ์ระหว่างผู้ให้
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                  29


      บริการกับผู้รับบริการ ในการศึกษานี้ประกอบด้วย
         • ในกรณีกลุ่มเกษตรกร เป็นผู้ให้บริการ จะเกิดความสัมพันธุ์เชิงกลุ่มระหว่าง
            กลุ่มเกษตรกรคือคณะกรรมการบริหารกลุ่ม กับสมาชิกในกลุ่ม เป็นความ
            สัมพันธุ์เชิงสังคมนำาหน้าธุรกิจ
         • ในกรณีภาคเอกชน ได้แก่ร้านค้าปุ๋ยหรือบริษัทปุ๋ยเป็นผู้ให้บริการ จะเกิด
            ความสัมพันธุ์เชิงธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการกบกลุ่มเกษตรกร หรือ
            เกษตรกรรายย่อย
         • ความสัมพันธุ์ด้านการเป็นพี่เลี้ยง จะเกิดระหว่างหน่วยงานภาครัฐที่เป็น
            ผู้นำาความรู้ด้านการจัดการดินและปุ๋ย หรือความรู้ประกอบด้านเทคโนโลยี
            การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน ในลักษณะ active และ passive


   • Customers Segment หรือ กลุ่มของผู้รับบริการ ในการศึกษานี้เน้นที่กลุ่ม
      เกษตรกรและสมาชิกกลุ่มเป็นหลัก
   • Channels หรือ Accessibility of Services คือ วิธีการให้บริการ ในการศึกษานี้
      จะประกอบด้วย tangible และ intangible ในกรณี tangible ได้แก่ วิธีการขนส่ง
      (logistics) ปุ๋ยจากร้านค้าไปสู่กลุ่มเกษตรกร หรือสมาชิกกลุ่ม ถ้ามีรูปแบบของ
      Services Offering ที่ชัดเจน ส่วน intangible นั้น ได้แก่กรณีของ Knowledge
      as a Services ของการส่งข้อมูลสู่ผู้รับบริการในรูปแบบ
      localized/personalized ผ่านทางเครื่อมือ ICDT
   • Cost Structures หรือ โครงสร้างต้นทุนดำาเนินการของเกษตรกร ในกรณีศึกษนี้
      ปุ๋ยเป็นต้นทุนประมาณ 40% ของต้นทุนทั้งหมด ดังนั้น ถ้าสามารถพัฒนา
      Services Offering ที่นำาไปใช้ได้จริงจะสามารถลดต้นทุนส่วนนี้ลงได้ประมาณ
      50% (ผลจากการศึกษาในงานปุ๋ยสั่งตัด) ส่วนต้นทุนที่เหลือนั้นจะมีการศึกษาใน
      รายละเอียดในโครงการหม่บ้านลดต้นทุน ที่จะนำาเสนอในส่วนอื่นต่อไป
   • Revenue Stream หรือแหล่งที่มาของเงินทุน ในการศึกษานี้ จะมีแหล่งเงินทุน
      ประกอบด้วย
         • การระดมทุนของกลุ่มเกษตรกร ในกรณีของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ด
            พันธุ์ข้าวบ้านห้วยขมิ้น จ.สระบุรี มีการกู้ยืม ธกส.จำานวน 3 ล้านบาท เป็นก
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                30


            องทุนตั้งต้น และมีการเรียกเก็บเงินค่าสมาชิกกลุ่มเป็นเงินทุนหมุนเวียนใน
            การดำาเนินธุรกิจขายเมล็ดพันธุ์ข้าว
         • เกษตรกรรายย่อย ส่วนใหญ่ยังเป็นลูกหนี้ ธกส. ในการกู้เงินลงทุนและซื้อ
            ปัจจัยการผลิต
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋   31
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                         32




                            ภาพที่ การปฏิบัติงานภาคสนาม




Guiding Principles
เป็นรายละเอียดของการปฏิบัติงานในปัจจุบันของเกษตรกรเกี่ยวกับการปลูกข้าวทั้ง
ระบบ เพื่อให้เห็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องในกระบวนการปลูกข้าวของเกษตรกร ข้อมูลส่วนนี้
จะนำาไปสร้าง Blueprint เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ในขั้นตอนต่อไป


ขั้นตอนการปลูกข้าวของศูนย์วิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์บ้านห้วยขมิ้น (ผู้ใหญ่ร่ม
วรรณประเสริฐ) ข้อมูลทั่วไป ต.ห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี ประกอบด้วย
   • 14 หมู่บ้าน จำานวนเกษตรกร 131 ครัวเรือน ประกอบอาชีพทำานา 111 ครัวเรือน
   •   มีพื้นที่ ทั้งหมด 9453 ไร่ เป็นพื้นที่ทำาการเกษตร 3452 ไร่ ในจำานวนนี้ใช้ทำานา
       ปี 3400 ไร่ นาปรัง 2734 ไร่ (พื้นที่ที่มีนำ้าชลประทาน) ในพื้นที่บ้านห้วยขมิ้นนี้
       ปกติจะทำานาปีละ 2 ครั้ง โดยมีการพักนาประมาณ 1 เดือน และจะปลูกพืชบำารุง
       ดิน เช่น ปอเทือง หรือปลูกผัก (บวบ ถั่วฝักยาว แตงกวา) ตามคันนา
   • พื้นที่ศึกษาอยู่ที่ หมู่ 2 บ้านห้วยทองหลาง ประกอบด้วยประชากร 64 ครัวเรือน
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                           33


       จำานวน 357 คน มีผู้ใหญ่ร่ม วรรณประเสริฐ เป็นประธานกลุ่ม


ในปี 2551 เริ่มจัดตั้งกลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว และพัฒนาเป็นศูนย์วิสาหกิจชุมชนผลิต
เมล็ดพันธุ์ข้าวห้วยขมิ้น ในปี 2552 ในปีเดียวกันนี้เองที่เริ่มเรียนรู้เรื่องปุ๋ยสั่งตัดจาก
อ.ทัศนีย์ และคณะ โดยสามารถลดค่าปุ๋ยในปีแรกลงได้ 500 บาทต่อไร่ ทำาให้เกิดแรง
จูงใจในการศึกษาการใช้ปุ๋ยสั่งตัดอย่างจริงจังในเวลาต่อมา จนกลายเป็นกลุ่มต้นแบบ
ของการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวและการใช้ปุ๋ยสั่งตัด ในปี 2555




                 ภาพที่ Guiding Principle จาก Physical Evidences


ขั้น ตอนการเตรีย มการ
การจัด หาเมล็ด พัน ธุ์
เมล็ดพันธุ์เป็นปัจจัยการผลิตตั้งต้นที่สำาคัญยิ่ง และเป็นหนึ่งใน variety/constraint ของ
การผลิต เนื่องจากการขาดเมล็ดพันธุ์ดีและคุณภาพดี และเกษตรกรมักพบพันธุ์
ปลอมปนเมื่อซื่อเมล็ดพันธุ์จากร้านค้าที่ไม่ได้ผ่านการรับรองจากกรมการข้าว กลุ่มจึงได้
จัดตั้งศูนย์วิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวบ้านห้วยขมิ้นขึ้นตั้งแต่ ปี 2552 เพื่อผลิต
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                              34


เมล็ดพันธุ์ข้าวขึ้นใช้เองจากการสนับสนุนของกรมส่งเสริมการเกษตรและการตรวจ
รับรองจากกรมการข้าว ปัจจุบันมีสมาชิกกลุ่ม จำานวน 17 คน มีผู้ใหญ่ร่ม วรรณ
ประเสริฐ เป็นประธาน พื้นที่ผลิตเมล็ดพันธุ์รวม 314 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 200 ตัน
ต่อปี แปลงที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ต้องปฏิบัติตามขั้นตอนของกลุ่ม ดังนี้
   • ต้องเป็นแปลงนาดำา เท่านั้น (เพื่อความสะดวกในการเข้าถอนข้าวปน)
   • ใช้เมล็ดพันธุ์ขยายของกรมการข้าว และเปลี่ยนพันธุ์ทุกฤดูปลูก
   • คณะกรรมการกลุ่ม (4 คน) ต้องออกตรวจตัดพันธุ์ปน 3-5 ครั้งต่อฤดูปลูก
   • มีการสุ่มตรวจข้าวก่อนรับซื้อ โดยใน 500 กก.ข้าวเปลือก จะมีเมล็ดข้าวแดงปน
      ได่ไม่เกิน 10 เมล็ด
   • ความชื้นต้องไม่เกิน 14%
   • คัดทำาความสะอาดด้วยเครื่องคัดแยกเมล็ดของกลุ่ม
   • มีระบบตรวจสอบย้อนกลับ
ในฤดูปลูก นาปี 2555/56 มีการผลิตเมล็ดพันธุ์ ดังนี้
   • สุพรรณบุรี 1 จำานวน 25 ตัน
   • กข. 31 จำานวน 30 ตัน
   • กข. 41 จำานวน 50 ตัน
   • กข. 47 จำานวน 80 ตัน
   • 41 พวง จำานวน 20 ตัน
แผนสำาหรับนาปรัง ปี 2555/56
   • สุพรรณบุรี 1 จำานวน 25 ไร่
   • กข. 41 จำานวน 50 ไร่
   • กข. 31 จำานวน 32 ไร่
   • กข. 47 จำานวน 140 ไร่
   • กข. 49 จำานวน 30 ไร่
กลุ่มขายเมล็ดพันธุ์ในราคา กก.ละ 23 บาท ลูกค้าของกลุ่ม ประกอบด้วย
   • สกต.สระบุรี จำานวนสั่งซื้อ 70 ตัน
   • กลุ่มเกษตรกร จำานวนสั่งซื้อ 25 ตัน
   • สมาชิกกลุ่ม/เกษตรกรทั้วไป จำานวนประมาณการ 70/40 ตัน
นวัตกรรมบริการปุย
                ๋                                                                        35




การเตรีย มดิน การป้องกันกำาจัดข้าววัชพืช โดยการใช้เครื่องโรตารีตีนา ปล่อยให้
แห้งเพื่อให้วัชพืชงอกและไถกลบ ปล่อยให้ข้าววัชพืชงอกอีกครั้งจึงตีดิน


การปลูก ปัจจุบันเนื่องจากการขาดแรงงานภาคเกษตร และเกษตรกรมีอายุมากขึ้น
การปลูกข้าวในภาคกลางภาคเหนือตอนล่างในเขตชลประทานได้เปลี่ยนจาก การดำานา
หรือการหว่าน มาใช้วิธีโยนกล้า หรือ ใช้เครื่องดำานา มีเกษตรกรบางรายที่รับจ้างโยนก
ล้า โดยรับจ้างหาเมล็ดพันธุ์ เพาะใส่ถาดพลาสติก 15 วัน และโยนกล้าในราคา 180
บาทต่อไร่ หากหาเมล็ดพันธุ์มาเองก็คิดค่าโยน 150 บาทต่อไร่ ส่วนในกรณีใช้รถดำานา
นั้น ค่าจ้างในการใช้เครื่องปักดำา ประมาณ 1300 บาทต่อไร่ แต่จะได้ระยะปลูกที่
สมำ่าเสมอสะดวกในการดูแล


ขั้น ตอนการดูแ ลรัก ษา
   1. การป้องกันศัตรูพืชด้วยสารเคมีเกษตร ด้านการกำาจัดศัตรูพืช ใช้วิธีผสมผสาน
      โดยมีการตรวจนับแมลงก่อนการใช้สารเคมี มีการใช้สารป้องกันกำาจัด 1 ครั้ง ต่อ
      ฤดูปลูก จากเดิม 3 ครั้ง ปัจจุบันจะใช้วิธีจ้างผู้รับจ้างพ่นยาดำาเนินการให้
   2. การใส่ปุ๋ย ในด้านการใช้ปุ๋ยสั่งตัด กลุ่มของผู้ใหญ่ร่วมมีต้นทุนการผลิตตำ่ากว่า
      2967 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนปุ๋ยประมาณ 700 บาทต่อไร่ได้ผลผลิตประมาณ 860-
      900 กก.ต่อไร่ (เฉลี่ยทั้งตำาบลประมาณ 750 กก.ต่อไร่) มีกำาไรประมาณ 5599
      บาทต่อไร่ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการปรับมาใช้ปุ๋ยสั่งตัด การใส่ปุ๋ยจะจ้างคนใส่
      ปุ๋ย ไร่ละ 60 บาท การใส่ปุ๋ยของกลุ่ม ใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อ 15 วันหลังการ
      ปักดำา และครั้งที่ 2 เมื่อข้าวมีอายุได้ 45 วันหลังการปักดำา ทั้งนี้กลุ่มสามารถ
      วิเคราะห์ดินเพื่อหารค่า N,P , K และ pH ได้ด้วยชุดตรวจสอบดินของ
      มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจากค่าการวิเคราะห์ดินนี้นำาไปใช้ในการคำานวน
      สูตรปุ๋ย เพื่อหาแม่ปุ๋ยมาผสมให้ได้ปริมาณปุ๋ยตามที่ต้องการในแต่ละพื้นที่
      ปัจจุบันมีสมาชิก จำานวน 65 คน พื้นที่ใช้ปุ๋ยสั่งตัดรวม 3160 ไร่ มีการสั่งปุ๋ยรวม
      กันในปี 2555 ประมาณ 1 ล้านบาท ลดลงจาก ปี 2550 ที่มีปริมาณการสั่งปุ๋ย
      ประมาณ 1.9 ล้านบาท เนื่องจากปุ๋ยเป็นต้นทุนการผลิตที่คิดเป็นสัดส่วนสูงสุด ใน
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service
Fertilizer Service

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Fertilizer Service

Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Pisuth paiboonrat
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาrattapol
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 
Ss services workshop7-8พค53_v1
Ss services workshop7-8พค53_v1Ss services workshop7-8พค53_v1
Ss services workshop7-8พค53_v1Manoo Ordeedolchest
 
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Pun-Arj Chairatana
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.DrDanai Thienphut
 
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...Dr.Choen Krainara
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักpromboon09
 

Ähnlich wie Fertilizer Service (20)

Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
Nrct
NrctNrct
Nrct
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
 
190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
 
Ss services workshop7-8พค53_v1
Ss services workshop7-8พค53_v1Ss services workshop7-8พค53_v1
Ss services workshop7-8พค53_v1
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2561
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
Thailand Innovation System Talk KK 2016-12-15
 
Foresight for thorkorsor
Foresight for thorkorsorForesight for thorkorsor
Foresight for thorkorsor
 
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
 
Udom moph
Udom mophUdom moph
Udom moph
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.
 
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
 

Mehr von Pisuth paiboonrat (20)

E agriculture-thailand
E agriculture-thailandE agriculture-thailand
E agriculture-thailand
 
Icdt for community
Icdt for communityIcdt for community
Icdt for community
 
ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Ag smart2 pisuth
Ag smart2 pisuthAg smart2 pisuth
Ag smart2 pisuth
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Mahidol ag
Mahidol agMahidol ag
Mahidol ag
 
Ku01
Ku01Ku01
Ku01
 
Smart farm concept ait
Smart farm concept aitSmart farm concept ait
Smart farm concept ait
 
RSPG social business model
RSPG social business modelRSPG social business model
RSPG social business model
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburi
 
Smart farm lecture-ku
Smart farm lecture-kuSmart farm lecture-ku
Smart farm lecture-ku
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart farm initiative2
Smart farm initiative2Smart farm initiative2
Smart farm initiative2
 
Smart farm initiative
Smart farm initiativeSmart farm initiative
Smart farm initiative
 

Fertilizer Service

  • 1. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 1 รายงานโครงการนวัต กรรมบริก ารปุ๋ย ความสำา คัญ ตามปกติพืชมีความต้องการธาตุอาหารสำาหรับการเจริญเติบโตอยู่ทั้งหมด 17 ชนิด โดย คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน พืชได้จากนำ้าและอากาศ ที่เหลือนั้นแบ่งเป็นธาตุ อาหารหลัก 6 ชนิด ที่เราคุ้นเคย คือ ไนโตรเจน(N) ฟอสฟอรัส(P) และโพแทสเซี่ยม(K) ซึ่งเป็นธาตุอาหารที่พืชมีความต้องการมาก และนวัตกรรมบริการปุ๋ยจะเน้นการบริการ ปุ๋ยหลัก 3 ชนิดนี้ กลุ่มที่สองคือธาตุอาหารรอง อีก 3 ชนิด คือ แคลเซี่ยม แมกนีเซียม และกำามะถัน ซึ่งดินในประเทศไทยมักจะไม่ขาดธาตุเหล่านี้ และกลุ่มสุดท้ายคือธาตุ อาหารเสริม ได้แก่ เหล็ก นิเกิล แมงกานีส สังกะสี ทองแดง โบรอน โมลิดินัม และคลอรีน ธาตุอาหารเหล่านี้ถูกปลดปล่อยมาให้พืชได้ใช้ประโยชน์ขึ้นอยู่กับสมบัติของดินตามชุด ดิน ซึ่งประเทศไทยมีชุดดินมากกว่า 200 ชุดดิน ทำาให้ศักยภาพการตอบสนองต่อความ ต้องการของพืชแตกต่างกัน นอกจากนั้นธาตุอาหารในดินยังถูกชะล้างไปด้วยสาเหตุอีก หลายประการ เช่น ไปกับผลผลิตพืช ชะล้างไปโดยนำ้า สลายไปเป็นก๊าซ ถูกตรึงโดยดิน ทำาให้พืชใช้ประโยชน์ไม่ได้ หรือถูชะล้างไปกับการพังทลายของดิน ทั้งหมดนี้เป็น สาเหตุที่เกษตรกรจำาเป็นต้องเข้าในดินและความสำาคัญในการจัดการธาตุอาหารดิน เพื่อให้ได้ผลผลิตพืชที่ดีที่สุด และเป็นไปอย่างยั้งยืน ความพยายามที่จะเผยแพร่การ จัดการธาตุอาหารพืชในโครงการปุ๋ยสั่งตัดจึงเป็นแนวคิดที่ดีในการเข้าใจธรรมชาติ และมีการจัดการที่ยั่งยืน นอกจากนี้ในปี 2550 ประเทศไทยนำาเข้าปุ๋ยเคมี ประมาณ 4.3 ล้านตัน คิดเป็นเงิน มากกว่า 4 หมื่นล้านบาท ประมาณร้อยละ 50 ของปุ๋ยที่นำาเข้านั้นใช้กับข้าว เกษตรกร ในพื้นที่ชลประทานใช้ปุ๋ยเคมีเกินความต้องการกว่า 50% หากมีนวัตกรรมบริการปุ๋ยให้ เกษตรกรเข้าใจและใส่ปุ๋ยตามความต้องการของดินและพืชแล้ว จะสามารถลดการใช้ ปุ๋ยสูตร และเพิ่มการใช้ปุ๋ยผสม ซึ่งจะลดการนำาเข้าปีละไม่ตำ่ากว่า หมื่นล้านบาท ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ โดยคณะทำางานนวัตกรรม บริการด้านการเกษตร (SIG เกษตร) ได้รับการแนะนำาจาก ศจ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์
  • 2. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 2 เรื่องแนวคิดและปฏิบัติเกี่ยวกับปุ๋ยสั่งตัด หรือการใส่ปุ๋ยผสมตามค่าการวิเคราะห์ดิน ซึ่ง เห็นว่าองค์ความรู้เรื่อง Services Science น่าจะเป็นพื้นฐานที่สำาคัญที่ทำาให้เกิดการ พัฒนาต่อยอดเรื่องปุ๋ยสั่งตัดไปสู่นวัตกรรมใหม่ด้านการบริการได้ จึงเป็นที่มาของของ โครงการนำาร่อง นวัตกรรมบริการปุ๋ย ซึ่งได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณดำาเนินการ ในการศึกษาข้อมูลภาคสนามและการจัดทำา Services Offering ระยะแรกจาก Services Research Innovation(SRI) Platform ของสำานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในขณะที่ทำาการศึกษาเรียนรู้ในโครงการนำาร่องนี้ ได้มีการเตรียมการขยายผลไปสู่ Policy Level โดยความร่วมมือกับ Co-Creation partners ในการสร้างแนวยุทธศาสตร์ นวัตกรรมบริการการเกษตร แผน 5 ปี ขึ้นระหว่าง เนคเทค กับ สำานักงานพัฒนาการ วิจัยการเกษตร องค์กรมหาชน(สวก.) ในหัวข้อ การพัฒนาระบบการให้บริการความรู้สู่ การปฏิบัติ ซึ่งจะอาศัยผลการเรียนรู้ในเรื่องนวัตกรรมบริการปุ๋ย เป็นพื้นฐานไปสู่ไม้ผล เศรษฐกิจ 5 ชนิด คือ มะม่วง ลำาไย ทุเรียน มังคุด และส้มโอ ดังนั้นทั้งการศึกษานำาร่อง การทำา policy guideline ด้านนวัตกรรมบริการนี้นำาไปสู่การสร้างฐานการทำางานด้าน นวัตกรรมบริการการเกษตรของประเทศ เป็นผลงานของกลุ่มความร่วมมือทางการ เกษตร [Special Interested Group(SIG) Agriculture] ที่จะนำาไปขยายผลสู่เวที SRII Asia และ SRII Global ต่อไป ความเป็น มา นวัตกรรมบริการการเกษตร นับเป็นอีกศาสตร์หนึ่งที่ทำาให้เป้าหมายของการพัฒนา คุณภาพชีวตที่ดีขึ้นของเกษตรกรเป็นจริง ในปัจจุบันมีรูแบบการบริการในภาคเกษตร ิ มากมายแต่ยังเป็นการบริการที่ขาดพื้นฐานของ Services Science ที่จะทำาให้การ บริการนั้นๆมีผลในการเปลี่ยนแปลงแนวคิดและผลผลิตของผู้รับบริการ ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(เนคเทค)จึงได้เข้าร่วมกับ Services Research Innovation Institute(SRII) ซึ่งเป็นกลุ่มความร่วมมือระหว่างประเทศ(International Consortium) ที่ตั้งขึ้นมาโดยผู้ประกอบการทางธุรกิจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IBM,
  • 3. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 3 HP, Microsoft, SAP, Oracle, Wipro, Infosis...) เพื่อผลักดันให้เกิดความตระหนัก ของความสำาคัญของนวัตกรรมบริการในสาขาวิชาต่างๆที่จำาเป็นต้องใช้ ICDT เป็น เครื่องมือ เช่น การศึกษา การแพทย์ การสื่อสาร การบริการภาครัฐ เป็นต้น เนคเทคได้ เข้าร่วมกิจกรรมกับ SRII ตังแต่ปี 2009 เพื่อเรียนรู้มากขึ้นเกี่ยวกับศาสตร์ด้านดังกล่าว ้ และนำามาใช้เป็นเครื่องมือในการปรับเปลี่ยนงานวิจัยไปสู่การบริการอย่างเป็นระบบผ่าน ทาง NECTEC Flagships การเข้าร่วมกิจกรรมกับ SRII มีลำาดับดังนี้ • ปี 2009 ผู้บริหารเนคเทคเข้าร่วมประชุมกับ SRII ที่ San Jose, California และ เป็นที่มาของการจัดตั้ง Thailand Chapter หรือ SRI Thailand ประเทศไทยขึ้น โดยภายใต้โครงสร้าง SRI Thailand นี้ประกอบด้วย กลุ่มความร่วมมือเฉพาะ ด้าน (Special Interested Group-SIG) ประกอบด้วย ด้านการเกษตร การแพทย์ และสาธารณสุข การท่องเที่ยว และการศึกษา โดยเบื้องต้นมีเนคเทคเป็นหน่วย งานพี่เลี้ยงในการดำาเนินการผลักดันให้เกิดการเข้าใจในความสำาคัญของ นวัตกรรมบริการในสาขาต่างๆและการสร้างต้นแบบการเรียนรู้ ตลอดจนการผลัก ดันให้เกิดการขยายผลการวิจัยและใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมบริการอย่างเป็น รูปธรรม • ปี 2009 เนคเทคได้จัดการประชุม SRII Thailand Chapter ขึ้นระหว่างวันที่ 14- 15 ธันวาคม 2009 เพื่อเป็นเวทีชี้แจงทำาความเข้าใจในเรื่องนวัตกรรมบริการให้ กับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน โดยแบ่งกลุ่มสัมมนาออกเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย การแพทย์และสาธารณสุข การเกษตร การท่องเที่ยว และการศึกษาโดยในเบื้อง ต้นเนคเทคได้กำาหนดหัวข้อของนวัตกรรมบริการการเกษตรภายใต้ SIG เกษตร ไว้ประกอบด้วย • ด้านการผลิต • ด้านคุณภาพและมาตรฐานการผลิตและสินค้า • ด้านการจัดการความเสี่ยงทางการเกษตร • ด้านการจัดการและส่งผ่านความรู้ • ด้านมาตรฐานข้อมูล
  • 4. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 4 • กลุ่มความร่วมมือ หรือ SIG ทางด้านการขนส่งและการค้าสินค้าเกษตร • ปี 2010 เนคเทคได้กำาหนดให้ Smart Services เป็นหนึ่งใน Flagship ของเนค เทคเช่นเดียวกับ Smart Farm, Smart Health, Smart Tourism และ Smart Education โดยจัดให้มีการประชุมระดมสมอง เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2010 ใน เวทีนี้เป็นการพยายามหาโจทย์นำาร่องในการเรียนรู้เรื่องนวัตกรรมบริการของ SIG ต่างๆ • ปี 2011 ทีมงานเนคเทคได้เข้าร่วมประชุม SRII Global Conference ครั้งที่ 1 และได้มีการหาแนวทางในการจัดตั้งกลุ่มความร่วมมือด้านการเกษตร ภายใต้ SRII โดยมอบให้ประเทศไทยเป็นผู้จัดตั้ง ภาพที่ การประชุม SRII Global Conference • ปี 2012 ทีมงานเนคเทคได้นำาเสนอกรอบแนวคิดในการตั้ง SIG Agriculture Global ในที่ประชุม SRII Global Conference 2012 • กันยายน 2012 ได้รวมนำาเสนอแนวคิดนวัตกรรมบริการปุ๋ย ในการประชุม ่ วิชาการประจำาปีของเนคเทค หรือ NECTEC ACE 2012 โดยอดีต รมว.กระทรวงวิทยาศาสตร์ (นายปลอดประสพ สุรัสสวดี) ได้ให้ความสนใจใน การนำาไปขยายผล
  • 5. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 5 ภาพที่ NECTEC ACE 2555 • ปี 2012 เนคเทคได้รับเชิญให้รวมจัดเวทีเสวนาเรื่องนวัตกรรมบริการการเกษตร ่ ในการประชุม SRI India ที่เมือง Mysore ประเทศอินเดีย ระหว่างวันที่ 12-15 ธันวาคม 2012 ซึ่งทำาให้ภาพของนวัตกรรมบริการการเกษตรมีความชัดเจนขึ้น โดยมีผู้ร่วมเสวนาจาก ประเทศญี่ปุ่น อินเดีย สหรัฐอเมริกา และไทย ผลจากการ ประชุมดังกล่าวนี้ ทำาให้ประเทศไทยได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพการจัดประชุม SRI Asia Summit 2013 ขึ้น ในเดือนกันยายน 2013 ณ กรุงเทพฯ ซึ่งเป้าประสงค์ ต้องการแนวทางปฏิบัติและทิศทางการวิจัยและสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรมบริการ ด้านการเกษตรในระดับภูมิภาค ซึ่งจะนำาไปเสนอต่อการประชุม SRII Global Conference 2014 เพื่อประกาศเป็นกรอบยุทธศาสตร์ของ SIG Agriculture ต่อ ไป ภาพที่ การประชุม SRII India, 2012
  • 6. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 6 จากมติการประชุมของ SIG เกษตร เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2555 Smart Farm Flagship ได้เลือกโครงการศึกษานำาร่องนวัตกรรมบริการเพื่อจะทำาความเข้าใจถึงขั้น ตอน กระบวนการ ที่นำาไปสู่การกิดนวัตกรรมบริการโดยเฉพาะสาขาการเกษตร โดยที่ ประชุมได้เลือกการต่อยอดงานปุ๋ยสั่งตัดของ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และคณะ ซึ่งได้รับ ทุนวิจัยจาก สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) ใน “โครงการวิจัยการจัดการ ธาตุอาหารพืชเฉพาะพื้นที่(ปุ๋ยสั่งตัด) เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว ข้าวโพด และอ้อยอย่าง ยั่งยืน” ระหว่างปี 2540-2551 และร่วมทีมประดิษฐิ์ชุดตรวจสอบ เอ็น-พี-เค ในดินแบบ รวดเร็ว เป็นโครงการที่สร้างประโยชน์ให้กับเกษตรกรอย่างต่อเนื่องด้านการใช้ปุ๋ยที่ถูก ต้องและการลดต้นทุนการผลิต คณะทำางานให้ชื่อโครงการศึกษานำาร่องนี้ว่า “โครงการ นวัตกรรมบริการปุ๋ย” เป็นส่วนหนึ่งของการสนับสนุนการทำางานของ SRI Thailand ภาพที่ การประชุม SRI workshop, มีนาคม 2555, สวทช. โดยการทำางานโครงการนำาร่องนวัตกรรมบริการปุ๋ยสังตัดข้าวนี้ เป็นโครงการที่ได้รับ การสนับสนุนงบประมาณดำาเนินการจาก SRI Platform เพื่อศึกษาแนวทางการนำา นวัตกรรมบริการมาปรับใช้และ ให้สามารถขยายผลได้รวดเร็วด้วย business model ใหม่ที่ทำาให้เกิด value proposition ของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ และมี Services Offering ใหม่ที่ทำาให้สามารถขยายผลการบริการได้รวดเร็วมี ประสิทธิภาพ พื้นที่ศึกษาของโครงการคือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวบ้าน ห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวนิคมพัฒนา อ.บางระกำา จ.พิษณุโลก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตข้าว GAP บ้านลองตอง อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
  • 7. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 7 ภาพที่ กลุ่มเรียนรู้นำาร่อง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านห้วยขมิ้น การปรับ ใช้ห ลัก Service Science กับ การบริก ารปุ๋ย ข้า ว ให้เ กิด Services Innovation
  • 8. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 8 ภาพที่ Holistic Services Offering Model เนื่องจากผลผลิตประชาชาติ (GDP) ของประเทศทางด้านการบริการ เติบโตถึง 42% (ปี 2012) แสดงให้เห็นความสำาคัญของภาคการบริการในการพัฒนาประเทศ ในประเทศที่ พัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา หรือ ญี่ปุ่น ตัวเลขภาคการบริการ สูงถึง % ตามลำาดับ ในตัวเลขภาคบริการของประเทศนี้ เป็นการบริการภาคเกษตร ประมาณ 9% จะเห็นได้ ว่าโอกาสการพัฒนาภาคการบริการให้เติบโต ยังมีอีกมาก ดังนั้นการเข้าใจพื้นฐานด้าน Service Science จึงมีความสำาคัญ ซึ่งจะนำามาใช้ในการออกแบบนวัตกรรมบริการ ใหม่ๆให้ภาคธุรกิจไทย สำาหรับภาคเกษตรนั้นตัวเลขการบริการที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ยัง เป็นการบริการในรูปแบบเดิม ยังไมมีการใช้นวัตกรรมบริการเข้าไปช่วยในการพัฒนา มากนัก จึงเป็นความจำาเป็นที่ต้องเร่งพัฒนาความตระหนัก ความเข้าใจ และความเข้าถึง การพัฒนานวัตกรรมบริการสาขานี้อย่างเร่งด่วน เพื่อให้ประเทศยังคงความสามารถใน การผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรต่อไปได้ด้วยรูปแบบธุรกิจที่เกิด Value Creation ใหม่ๆกับลูกค้า ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาด และผลกระทบจากสภาพแวดล้อมและ สภาพอากาศที่ผันแปรไป เนื่องจากนวัตกรรมบริการเป็น Intellectual ที่เป็นเอกลักษณ์ มีความสัมพันธุ์กับ contexts ทีหลากหลาย ทั้งที่เป็นเทคโนโลยี และไม่เป็นเทคโนโลยี ทั้งที่จับต้องได้ ่ (tangible) และจับต้องไม่ได้ (intangible) ดังนั้นการออกแบบนวัตกรรมบริการ (Services Innovation) จึงต้องคำานึงถึงองค์ประกอบของหลักคิด (Services Concept หรือ Guiding Principle) ที่ ประกอบด้วย attributes 6 ตัวด้วยกัน attributes 3 ตัวแรก เป็นการออกแบบการบริการ (Service Package หรือ Offering Package) ประกอบ ด้วย • Core Services หรือ Core Offering คือบริหารหลักที่ต้องการพัฒนา • Enabling Services คือการบริการที่เพิ่มเติมเข้าไปในบริบทที่ทำาให้ผู้ใช้ บริการเห็นความจำาเป็นและคุณค่า เป็นการเสริมการบริการหลักโดยตรง • Enhancing Services เป็นการบริการที่อาจมีคุณค่า หรือไม่เกิดคุณค่า ต่อ ผู้รับบริการ ขึ้นกับบริบทในพื้นที่
  • 9. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 9 ในการพัฒนานวัตกรรมบริการที่ดีนั้นต้องให้ผู้ใช้บริการมีส่วนร่วม หรือมีความรับผิด ชอบในการออกแบบการบริการ ที่เรียกว่า Co-Create เช่น ในกรณีของนวัตกรรม บริการปุ๋ย เกษตรกรเป็นผู้ใช้บริการโดยตรง ที่ผ่านมาเกษตรกรไม่มีทางเลือกอื่น นอกจากเลือกซื้อปุ๋ยสูตรที่หลากหลายทั้งสูตรปุ๋ย(มีปุ๋ยสูตรที่ขอขึ้นทะเบียนไว้ไม่ตำ่ากว่า 200 สูตร) และเครื่องหมายการค้า ดังนั้น Core Services ในที่นี้คือการบริการปุ๋ยที่ตรง ตามความต้องการของพืชและพื้นที่ เกษตรกรจึงต้องมีส่วนร่วมในการออกแบบบริการมี่ เหมาะสม และทำาให้เกิด Enabling offering อะไร ที่เกิดคุณค่าจากการใช้บริการนั้น มากที่สุด เพราะทุก Core services นั้นล้วนแต่มี constraints หรือ varieties ของตัว เอง Enabling services ในที่นี้อาจเป็น การรวมการวิเคราะห์ดิน การคำานวนธาตุอาหาร การผสมแม่ปุ๋ย และการใส่ปุ๋ย ไว้ด้วย นอกจากนี้ในการออกแบบยังต้องพิจารณาถึง ปัจจัยอีก 3 อย่าง คือ • การระบุ Services Concept ที่ชัดเจน • Identify Core services เพื่อดูว่ามีอุปสรรค (constraints/varieties) อะไรบ้าง ปัจจัย ไหนที่ สามารถลดได้ (reduce) หรือ ปัจจัยไหนที่ต้องหาวิธีอื่นมาแก้ (absorb) ซึ่ง ในการศึกษานี้การ absorb อาจเป็น ICDT ที่เป็นเครื่องมือ • จำาเป็นต้องศึกษา enabling services และ enhancing services ไปควบคู่กัน เพื่อให้ เกิด Service value สูงสุด ความสัมพันธุ์ของ 3 attributes ทำาให้เกิด • Core Services กับ Enhancing Services ทำาให้เกิด Add Value หรือการเพิ่ม คุณค่าให้กับการบริการหลัก ทำาให้ผู้ใช้บริการเกิดความพึงพอใจต่อการบริการ มากขึ้น • Core Services กับ Enabling Services ทำาให้เกิด Realize Value หรือความ ตระหนักของผู้ใช้บริการต่อประโยชน์และคุณค่าที่ได้รับจากการบริการเสริมจาก บริการหลัก • Enhancing Services กับ Enabling Services ทำาให้เกิด Interchange หรือการ แลกเปลี่ยนคุณค่าที่ได้รับจากการบริการ
  • 10. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 10 Augmented Services Offering เป็น function ที่ทำาให้เข้าถึง Services Offering ซึ่งแนวคิดเรื่องการบริการถูกขยายผลให้เป็นกลุ่มบริการและข้อเสนอในรูป แบบของกิจกรรม ประกอบด้วย attributes 3 ตัว ได้แก่ • Accessibility of Services หรือการเข้าถึงข้อเสนอหรือบริการ เช่น สถานที่ ให้บริการ, Web site, Brochure, ประกาศ หรือวิธีใดที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด • Interaction with the business or services provider หรือปฏิสัม พันธุ์ระหว่างธุรกิจกับผู้ใช้บริการ เป็นอีกส่วนหนึ่งที่สำาคัญและต้องอาศัย Co- creation ที่ดี เป็นเรื่องของการจัดการ human network และ Social network • Participation หรือ Customer participation คือ การให้ผู้ใช้บริการมี ส่วนร่วมในการออกแบบ และการวิเคราะห์การบริการ ความสัมพันธุ์ของ attribute แต่ละคู่นั้น ทำาให้เกิดคุณค่าการบริการที่แตกต่างกัน ประกอบด้วย • Participation กับ Interaction ทำาให้เกิด Value Network คือ เครือข่ายของการ มีส่วนร่วมสร้างคุณค่าให้กับการบริการ • Participation กับ Accessibility of Services ทำาให้เกิด Value Creation คือ การได้รับคุณค่าของการบริการโดยผู้ใช้บริการ ผ่านช่องทางการให้บริการที่ เหมาะสมและเกิด services experiences ทีดี • Interaction กับ Accessibility of Services ทำาให้เกิด Value Density คือ การ ทำาให้เกิดการขยายผลของการบริการที่มีคุณค่าจากการใช้ ICDT เป็นเครื่องมือ การทำางานศึกษาในโครงการนำาร่องนี้ก็เพื่อที่จะเข้าใจความหมาย ขั้นตอน และองค์ ประกอบของนวัตกรรมบริการ โดยเฉพาะการนำาไปปรับใช้ทางด้านการเกษตร ในอันที่ จะช่วยทำาให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้ใหม่ๆในการให้และการรับและนำาไปสู่คุณภาพ ชีวิตของเกษตรกรไทยดีขึ้น ทั้งนี้ได้ตั้งเป้าหมายการทำางานไว้เพื่อออกแบบการบริการ ตามประเด็นต่อไปนี้ • ICDT Enabling Services รูปแบบต้องเน้นการนำา ICDT มาเป็นเครื่องมือ ประกอบการพัฒนานวัตกรรมบริการ
  • 11. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 11 • Scalable ทำาให้สามารถขยายผลการเข้าถึง (Accessibility) การใช้บริการอย่าง ทั่วถึง รวดเร็ว • Out reach เกิดการพัฒนานวัตกรรมบริการแบบใหม่ที่เน้นการเข้าถึงและใช้ ประโยชน์และลูกค้า เฉพาะกลุ่ม เฉพาะพื้นที่ • Economy of scale มีความคุ้มค่าต่อการลงทุน เกิดธุรกิจบริการที่ลูกค้ามีส่วน ร่วมในการออกแบบที่เหมาะสมต่อพื้นที่ และประโยชน์ใช้งาน เกิด value network ที่ขยายตัวเป็น Value constellation ต่อไป นอกจากนี้ Co-creation of value ยังต้อง propose value ให้มีการใช้ทรัพยากรร่วม กัน เพื่อสร้าง value แบบต่างให้ผู้ใช้บริการ ดังนี้ • “value in use” หรือ คุณค่าที่เกิดจากการที่ผู้ใช้บริการมีความรู้สึกประทับใจต่อ บรรยากาศหรือการบริการ (services experiences) เป็นการที่ผู้ให้บริการเป็น คนกำาหนด เช่น ผู้ประกอบการจัดหาแม่ปุ๋ย และรับผสมปุ๋ยให้ตามที่ต้องการ เป็นต้น • “value in exchange” หรือ คุณค่าของการบริการอยู่ที่การแลกเปลี่ยน เป็นสิ่งที่ผู้ ให้บริการเป็นคนกำาหนดเช่นกัน เช่น การซื้อปุ๋ย จะได้ปุ๋ยคุณภาพแบบไหน ขึน ้ อยู่ที่งบประมาณที่มี เป็นต้น • “value in context” หรือคุณค่าที่เกิดขึ้นกับบริบทของผู้บริโภค(เป็นการร่วมกัน กำาหนดคุณค่าการบริการระหว่างกัน) มักจะมีข้อจำากัด หรือ variety สูง เป็นการ ทำาให้เกิดเครือข่าย value constellation ที่ร่วมกันสร้างการบริการที่ทุกฝ่ายจะ ได้รับประโยชน์ร่วมกัน ในกลุ่มนี้จะนำาไปสู่การออกแบบการบริการที่เรียกว่า Services System Design หรือ Services Delivery Principle มี 7 contexts ด้วยกัน คือ • context 1 : person-to-person • context-2: technology enhanced person-to-person services • context 3: self services • context 4: multi-channel services • context 5: services of multiple devices or platforms • context 6: computer-to-computer
  • 12. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 12 • context 7: location based or context awareness services หรือการ ออกแบบการบริการที่เพิ่มคุณค่าให้ผู้รับบริการตามเงื่อนเวลาและสถานที่ ซึ่งการออกแบบนวัตกรรมบริการการเกษตรโดยเฉพาะในการศึกษานำาร่องนี้ อาจจต้อง เป็นการผสมผสานของ context หลายแบบ ขึ้นกับบริบทของพื้นที่ กลุ่มผู้รับบริการ ปัจจัยที่เป็น variety อื่นๆ วัต ถุป ระสงค์โ ครงการ ภาพที่ วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว โดยเฉพาะต้นทุนปุ๋ยข้าว เป็นที่ทราบกันดีว่าปุ๋ย เป็นต้นทุนประมาณ % ของการผลิตข้าว ปกติเกษตรกรต้องใส่ปุ๋ย 2 รอบคือ ประมาณ 15 วันหลังปลูก และ 45 วัน สูตรปุ๋ยที่ให้จะคล้ายกันทั่วประเทศ() การ ปฏิบัติที่ต่อเนื่องกันมาเป็นเวลานานนี้ทำาให้เกิดต้นทุนที่เกินความจำาเป็น การเสื่อม สภาพของดิน และความไม่แน่นอนของผลผลิต การเปลี่ยนแนวคิดมาใช้ปุ๋ยสั่งตัด
  • 13. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 13 ของเกษตรกรบ้านห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี ทำาให้สามารถลดต้นทุนการใช้ ปุ๋ยลงได้ถึง 40% และได้ผลผลิตที่ดีขึ้น เนื่องจากการใช้ปุ๋นผสมที่ตรงตามความ ต้องการของพืช 2. เกษตรกรได้ใช้ปุ๋ยผสมตามความต้องการของดินในพื้นที่ ส่วนใหญ่เกษตรกรไทย จะไม่ให้ความสำาคัญของการเก็บตัวอย่างดินในแปลงปลูกเพื่อมาวิเคราะห์ธาตุ อาหารหลัก (N, P, K) เนื่องจากขาดความเข้าใจถึงความสำาคัญและความจำาเป็น การหาซื้อชุดตรวจสอบและนำ้ายา ความยุ่งยากของขั้นตอนการสุ่มเก็บตัวอย่างดิน และการวิเคราะห์ และการหาข้อมูลความรู้เรื่องดินและปุ๋ย กระบวนการของปุ๋ยสั่ง ตัดคือการเปลี่ยนแนวคิดให้เกษตรกรทำาการวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารหลักในดิน เพื่อเติมเฉพาะสิ่งที่ขาดและจำาเป็นในช่วงเวลาที่พอเหมาะ ทำาให้สามารถลด ต้นทุนการซื้อปุ๋ยสูตร 3. ได้ผลผลิตข้าวต่อพื้นที่ดีขึ้น ได้ผลผลิตดีขึ้นเนื่องจากข้าวได้รับธาตุอาหารตรง ตามต้องการในช่วงเวลาที่ถูกต้อง 4. เกิดธุรกิจบริการปุ๋ยในรูปแบบใหม่ ผู้ประกอบการค้าปุ๋ยให้ความสนใจในการปิด ธุรกิจปุ๋ยในรูปแบบของการให้บริการตรง หากรู้ความต้องการของกลุ่มเกษตรกร (demand) ว่าต้องใช้ N, P และ K ในปริมาณเท่าใด สามารถจัดส่งแม่ปุ๋ยหรือปุ๋ย สูตรใกล้เคียงได้โดยตรง และในอนาคตอาจเพื่อการบริการวิเคราะห์ดิน ผสมแม่ ปุ๋ย และการใส่ปุ๋ย เข้าไว้ในการบริการที่ครบวงจรได้ 5. ลดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในระยะยาว หากมองในด้านของการเสื่อมสภาพ ของดิน การใช้ปุ๋ยสูตรในปริมาณเกินกำาหนด เป็นเวลานานมักส่งผลให้ดินเกิด การแข็งตัว ขาดสมดุลทางกายภาพและเคมีดิน ทำาให้การเพาะปลูกไม่ได้ผลผลิต ที่ดี การจัดการดินและปุ๋ยจึงเป็นเรื่องสำาคัญในการทำาการเกษตรอย่างยั่งยืน ดัง นั้นการใช้ปุ๋ยสั่งตัดจึงเป็นการเติมในสิ่งที่ขาด และในปริมาณที่จำาเป็น เป็นการ ช่วยรักษาสภาพสมดุลของดิน และหากมีการใช้ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์จะทำาให้ คุณสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้นในระยะยาว 6. เกิดนวัตกรรมบริการการเกษตรใหม่ที่นำา ICDT(Information, Communication, Dissemination Technologies) การพิจารณาการใส่เทคโนโลยีเข้าไปในขั้น ตอนการผลิต มุ่งทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิดและการปฏิบัติ ทีขยายผลการ ่
  • 14. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 14 ยอมรับอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว (Services Density) และทำาให้เกิด Service Experiences ใหม่ๆ ที่ช่วยให้คุณภาพชีวิตของเกษตรกรไทยดีขึ้น ขั้น ตอนการปฏิบ ต ิง าน ั ภาพที่ ขันตอนการปฏิบัติงาน ้
  • 15. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 15 กลุ่ม ความร่ว มมือ (Co-creation) ภาพที่ Co-creation ในชุมชนนำาร่อง เนื่องจาก Co-creation เป็นกลุ่มความร่วมมือของของผู้ที่เกี่ยวข้องและมีผลประโยชน์ ในเรื่องนั้น Co-creation เป็นพื้นฐานที่สำาคัญและจำาเป็นอย่างยิ่งในการทำาให้เกิด นวัตกรรมริการ เป็นตัวแปรที่ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ในทางสร้างสรรค์ ระหว่างกัน โครงการนำาร่องนี้ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มความร่วมมือ (Co- creation)ประกอบด้วย • ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดย ศจ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ ที่ปรึกษาคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในฐานะที่ปรึกษาโครงการ ดร.รุ่งโรจน์ ด่านพิทักษ์ธรรม อาจารย์ประจำาภาควิชาปฐพีวิทยา วิทยากรเรื่องปุ๋ย สั่งตัดของมูลนิธิพระดาบส ให้แนวคิดพื้นฐานเรื่องปุ๋ยสั่งตัด และการแนะนำาพื้นที่ ดำาเนินการ • ดร.ศศิพร อุษณวศิน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่ปรึกษาด้านการทำา Services Blueprint • Dr. Masahiko Nagai, Associate Director, Geoinformatics Center, School of Engineering and Technology, Asian Institute of Technology และ
  • 16. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 16 นส.กุลปราโมทย์ ประทุมชัย ผู้ช่วยและนักศึกษาปริญญาเอกที่ใช้พื้นที่นำาร่องใน การศึกษาโครงการพิเศษ เรื่อง Geo-informatics Usage for Disaster Recovery Service in Thailand สนับสนุนการเก็บข้อมูลพิกัดของแปลงนา การ พัฒนาโปรแกรมวิเคราะห์พื้นที่ ด้วยการใช้ Light UAV ในการถ่ายภาพบริเวณ พื้นที่ศึกษาเพื่อนำามาทำาแผนที่การจัดการนา ของพื้นที่นำาร่องกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวบ้านห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี (ประมาณ 3 พันไร่) • กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวบ้านห้วยขมิ้น (ผู้ใหญ่ร่ม วรรณประเสริฐ และทีมงาน) เป็นพื้นที่ศึกษาเชิงลึก และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว บ้านนิคมพัฒนา อ.บางระกำา จ.พิษณุโลก เพื่อใช้ศึกษาข้อมูลประกอบในชุมชนที่ อยู่ต่างพื้นที่กัน • กรมการข้าว โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของโครงการหมู่บ้านลดต้นทุน พื้นที่บ้านห้วย ขมิ้น จ.สระบุรี • บริษัทสินธุสุวรรณ จำากัด ผู้นำาเข้าแม่ปุ๋ยจากต่างประเทศ สนับสนุนข้อมูลเรื่อง ธุรกิจปุ๋ยสูตรและแม่ปุ๋ย สนับสนุนแนวคิดให้เกิดนวัตกรรมบริการปุ๋ย เพื่อให้เกิด ธุรกิจการขายปุ๋ยแบบใหม่ที่เป็น direct services สู่เกษตรกร และทำาให้ต้นทุน การผลิตลดลง • สำานักงานการพัฒนาการเกษตร เป็นองค์กรที่ทำาหน้าที่ในการให้ทุนอุดหนุนการ วิจัยทางการเกษตร และการพัฒนาบุคลากรทางการเกษตร เข้ามาร่วมเพื่อเรียนรู้ เรื่องนวัตกรรมบริการการเกษตร และการนำาไปขยายผลในเชิงการสนับสนุนการ วิจัย และการสร้างบุคลากรด้านนวัตกรรมบริการในวงการเกษตรของประเทศ การเก็บ Physical Evidences หรือข้อเท็จจริงภาคสนาม ในการศึกษานี้คือเรื่อง การใช้ปุ๋ยของเกษตรกรในพื้นที่นำาร่อง ในการศึกษานี้ประกอบด้วย • กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์บ้านห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี สมาชิกกลุ่ม 86 คน พื้นที่ทำานารวมประมาณ 1 พันไร่ • กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์บ้านนิคมพัฒนา อ.บางระกำา จ.พิษณุโลก สมาชิกกลุ่ม 8 คน พื้นที่ทำานารวมประมาณ 500 ไร่
  • 17. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 17 • หมู่บ้านลดต้นทุนบ้านลองตอง อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี สมาชิกกลุ่ม คน พื้นที่ทำานารวม ประมาณ 2 พันไร่ • กลุ่มผู้ผลิตยางพาราบ้านสระโคกพัฒนา อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี สมาชิกกลุ่ม คน พื้นที่ปลูกยางพารา รวมประมาณ 1 พันไร่
  • 22. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 22 ภาพที่ การประชุมร่วมกับชุมชนในการทำาโครงการนำาร่อง ข้อมูลที่เก็บจากภาคสนาม และได้นำาลงใน business canvas เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ Services Delivery Principle ประกอบด้วย
  • 23. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 23 ภาพที่ Services Canvas • Key partners หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับปุ๋ยในพื้นที่ ประกอบด้วย • เกษตรกร ในฐานะผู้ใช้หรือผู้รับบริการที่ได้รับผลกระทบโดยตรง • บริษัทและร้านค้าปุ๋ยในท้องถิ่น ในฐานะผู้ให้บริการที่อาจได้รับผลกระทบ เชิงธุรกิจ ในที่นี้ได้แก่ บริษัทสินธุสุวรรณ จำากัด • หน่วยราชการในภูมิภาคและส่วนกลาง ที่เป็นผู้ให้บริการความรู้และข้อมูล เกี่ยวกับ ดินและปุ๋ยสำาหรับข้าว ในที่นี้ประกอบด้วย กรมการข้าวใน โครงการหมู่บ้านลดต้นทุน และความรู้เรื่องปุ๋ยข้าวตามค่าวิเคราะห์ดินจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แผนที่ดินและข้อมูลชุดดิน จากกรมพัฒนาที่ดิน • เนคเทค ผู้พัฒนาอุปกรณ์และ application ที่จะช่วยทำาให้รูปแบบของการ บริการให้สามารถขยายผลเกิด density ครอบคลุมการใช้งานได้ อย่าง รวดเร็วมีประสิทธิภาพ • มหาวิทยาลัย/สถานศึกษา ในที่นี้ได้แก่ ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทาลัย เกษตรศาสตร์ ที่มาของปุ๋ยสั่งตัดการดำาเนินการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยสั่งตัดและ การอบรมเกษตรกรในการขยายขอบเขตการใช้ปุ๋ยสั่งตัด มหาวิทยาลัย
  • 24. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 24 ศรีปทุม การทำา business canvas และ services blueprint สถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเซีย (Asian Institute of Technology) ใช้ความรู้ด้าน remote sensing ในการทำาแผนที่นา และแผนที่ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ในพื้นที่ศึกษา ภาพที่ การปฏิบัติงานในพื้นที่กับกลุ่มเกษตรกรที่ใช้ปุ๋ยสั่งตัด • Key activities หมายถึงกิจกรรมหลักที่ผู้เกี่ยวข้องใน Key partners ต้อง ปฏิบติ ั • เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกร มีหน้าที่ในการ • ตรวจสอบดิน เพื่อหาค่าองค์ประกอบของไนโตรเจน(N), ฟอสฟอรัส(P) และ โปแทสเซี่ยม(K) โดยใช้ชุดตรวจสอบดิน (Soil Test Kit) ที่พัฒนาโดย ศจ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และคณะ หาซื้อ ได้ที่ ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรอ บริษัท อี โค อะโกร จำากัด หรือทางอินเทอรณเน็ตที่
  • 25. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 25 http://soiltestkit.blogspot.com • คำานวนหาสูตรปุ๋ย โดยใช้สูตรคำานวนหาสูตรปุ๋ยข้าวของ ศจ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และคณะ ที่เรียกว่าโปรแกรม SimRice (Site-specific Nutrient Recommendation for Rice) ซึ่งอยู่บน http://www.ssnm.info/ • หาแม่ปุ๋ย มาผสมเพื่อให้ได้ปริมาณธาตุอาหารที่ต้องการ จากร้านค้า ปุ๋ยในท้องถิ่น หรือผู้ประกอบการ • ใส่ปุ๋ย อาจเป็นการใส่เองหรือจ้างใส่ปุ๋ย • บริษัทหรือร้านค้าปุ๋ย หรือ สหกรณ์เพื่อการผลิตและการตลาด(สกต.) มีหน้าที่ในการหาแม่ปุ๋ยมาจำาหน่าย จัดส่งปุ๋ย เพื่อให้เกษตรกรหรือกลุ่ม เกษตรกร สามารถมีแม่ปุ๋ยมาผสมปุ๋ยผสมตามที่ต้องการได้ • หน่วยราชการทั้งส่วนกลางและภูมิภาค ได้แก่ • กรมการข้าว โครงการหมู่บ้านลดต้นทุน เนื่องจากปุ๋ยเป็นหนึ่งใน ต้นทุนหลักของการผลิตข้าว หรือประมาณ เปอร์เซนต์ของต้นทุน ทั้งหมด หากมีนวัตกรรมบริการปุ๋ยเกิดขึ้นและสามารถขยายผล แนวคิดเรื่องปุ๋ยสั่งตัดได้ ก็จะสามารถช่วยให้โครงการหมู่บ้านลด ต้นทุนนี้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรมเช่นกัน ดังนั้นกรมการข้าวจึง สนับสนุนการทำางานของโครงการดังกล่าว โดยมีพื้นที่ทำางานร่วมกัน ใน 2 พื้นที่ ได้แก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์บ้านห้วยขมิ้น จ.สระบุรี และโครงการหมู่บ้านลดต้นทุนบ้านลองตอง อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี ทั้งสองชุมชนนี้มีเจ้าหน้าที่ภาคสนามของกรมการข้าว คอยให้คำาปรึกษา • ข้อมูลชุดดิน และข้อมูลทางกายภาพดิน ของกรมพัฒนาที่ดิน หา ข้อมูลจากหมอดิน หรือ Website ของกรมพัฒนาที่ดิน http://www.ldd.go.th/menu_download/download-1.htm • เนคเทค โดย SIG เกษตร เป็นผู้ศึกษา Physical evident ทำา Guiding principle และ Services Offering ในระยะแรก เพื่อเป็น ข้อมูลฐานในการเลือก services offering ที่จะใช้ ICDT เข้ามาเป็น
  • 26. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 26 เครื่องมือที่ทำาให้เกิดการขยายผลการใช้งาน หรือ density ในระยะ ต่อไป • มหาวิทยาลัย/สถานศึกษา ประกอบด้วย • ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ให้คำาปรึกษา เรื่องหลักการของปุ๋ยสั่งตัด ในฐานนะที่ ศจ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะ นันทน์ และคณะ ได้รับทุนวิจัยจาก สกว. และเป็นจุดกำาเนิด ของโครงการปุ๋ยสั่งตัด การคำานวนสูตรปุ๋ยสำาหรับข้าวและ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การพัฒนาชุดตรวจสอบดิน นอกจากนี้ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และ ดร.รุ่งโรจน์ ด่านพิทักษ์ธรรม ยัง เป็นวิทยากรหลักในการให้ความรู้เรื่องปุ๋ยสั่งตัดแก่เกษตรกร ทั่วประเทศ ด้วยการสนับสนุนจากมูลนิธิพระดาบส • สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย โดย Geoinformatics Center, School of Engineering and Technology, Asian Institute of Technology ได้ส่งนักศึกษาปริญญาเอก มาร่วมเก็บข้อมูล เชิงพื้นที่ของพื้นที่นำาร่องบ้านห้วยขมิ้น พร้อมพิกัด ภาพถ่าย และเทคนิด remote sensing จากภาพถ่ายมุมสูงจาก UAV เพื่อทำาแผนที่นา และแผนที่ความอุดมสมบูรณ์ของดินในการ ทำางานระยะสองที่จะทำาให้เกิด density ในการขยายผล และ • มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดย ดร.ศศิพร อุษณวศิน ในฐานะเป็น วิทยากรหลักในโครงการอบรมเรื่อง Services Innovation ของ NSTDA Academy ได้ช่วยเป็นที่ปรึกษาเรื่องการทำา business canvas และ services blueprint โดยหาก โครงการศึกษา services offering ในระยะแรกสำาเร็จก็ สามารถใช้ข้อมูลเป็นกรณีศึกษาประกอบการสอนได้ • Key Resources หมายถึงองค์ความรู้ หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับกรณีศึกษา ที่มีผลทำาให้เกิดนวัตกรรมการเรียนรู้ไปสู่นวัตกรรมบริการในที่สุด ในการศึกษานี้ ประกอบด้วย key resources ได้แก่
  • 27. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 27 • ความรู้เรื่องปุ๋ยสั่งตัด เป็นองค์ความรู้ที่เกิดจากการศึกษาของ ศจ.ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และคณะ และมีการขยายผลต่อเนื่อง ที่เป็นรูปธรรมในปัจจุบัน คือโครงการนำาร่องจากการสนับสนุนของมูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน(การ จัดพิมพ์หนังสือ “ธรรมชาติของดินและปุ๋ย”) และมูลนิธิพระดาบส ในด้าน การจัดอบรมเกษตรกร องค์ความรู้นี้ประกอบด้วย ความรู้ในการสุ่มเก็บ ตัวอย่างดิน การเตรียมตัวอย่างดินเพื่อมาวิเคราะห์ การวิเคราะห์ตัวอย่าง ดินด้วยชุดตรวจสอบ N-P-K ดินอย่างรวดเร็ว และการคำานวนหาสูตรแม่ปุ๋ย ผสมที่เหมาะสมสำาหรับดินนั้นๆ • ความรู้เรื่องดินและปุ๋ยทั่วไป จัดทำาโดยกรมพัฒนาที่ดิน เผยแพร่ผ่าน เอกสารและบน website http://www.ldd.go.th/menu_download/download-1.htm • ความรู้เรื่อง ชุดดิน ลักษณะทางการภาพของดินแต่ละชุด และความเป็นก รดเป็นด่างของดิน ความรู้ในกลุ่มนี้มีกรมพัฒนาที่ดินเป็นผู้ให้บริการความรู้ ผ่านทาง หมอดิน website และเอกสารเผยแพร่ http://www.ldd.go.th/menu_download/download-1.htm • ความรู้เรื่อง พ.ร.บ ปุ๋ย ในรูปแบบเอกสารเผยแพร่ และ website http://webhost.cpd.go.th/roiet/download/%E0%B8%9E %E0%B8%A3%E0%B8%9A.%E0%B8%9B %E0%B8%B8%E0%B9%8B%E0%B8%A2_2550_ %E0%B8%892.pdf • องค์ความรู้เรื่องการใส่ปุ๋ย ช่วงเวลาในการใส่ปุ๋ยในนาข้าวที่ส่งผ่านกันมา ในหมู่เกษตรกร • ความรู้เรื่องต้นทุนการผลิตและการลดต้นทุน จากเจ้าหน้าที่ภาคสนาม กรม การข้าว ในโครงการหมู่บ้านลดต้นทุน • การใช้เทคโนโลยีเพื่อเข้าถึงแหล่งความรู้ • Value Proposition หมายถึงการแบ่งปันผลประโยชน์หรือคุณค่าจากการมา ร่วมมือกัน (Co-creation) ทำาให้เกิดนวัตกรรมบริการใหม่ ด้วยเป้าหมายของ
  • 28. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 28 โครงการนำาร่องนวัตกรรมบริการปุ๋ยนี้ ต้องการให้ • เกษตรกร ซึ่งเป็นผู้รับบริการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จากการมีส่วนในการ ออกแบบบริการที่ดี ดังนั้น ในการศึกษาจึงมุ่งเป้าไปที่เกษตรกรเป็นหลัก (prime mover) หากมีนวัตกรรมบริการปุ๋ยพร้อมเครื่องมือสนับสนุนด้าน ICDT จะทำาให้เกษตรกรสามารถปฏิบัติงานบนข้อมูล ความถูกต้องแม่นยำา รวดเร็ว และเปลี่ยนจากจาก passive farmers ที่เป็นผู้คอยรับความช่วย เหลือ กลายเป็น active farmers คือเป็นผู้กำาหนดความต้องการบนข้อมูล มี ส่วนร่วมในการออกแบบบริการ และปรับปรุงการบริการที่มีอยู่ให้ตรงกับ ความต้องการบนหลักการของการแลกเปลี่ยนคุณค่าและประโยชน์ซึ่งกัน และกัน (Value in context) • ในส่วนของผู้ให้บริการซึ่งในที่นี้คือ บริษัทหรือผู้ประกอบการร้านค้าปุ๋ย ท้องถิ่นนั้น เมื่อมีการปรับตัวและเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการใช้นวัตกรรม บริการแล้ว จะเกิดแนวธุรกิจใหม่ที่อาจแตกแขนางไปจากเดิม เช่น การ บริการแบบ direct services ที่เป็นบริการเฉพาะกลุ่ม และพื้นที่ (localized/personalized) หากสามารถออกแบบธุรกิจร่วมกับกลุ่มผู้ใช้ หรือผู้รับบริการได้ ความสมดุลของ demand-supply ตัวใหม่จะเกิดขึ้น ตามหลักเศรษฐศาสตร์ตามมา • กลุ่มที่ได้ประโยชน์อีกกลุ่มหนึ่งคือผู้ให้บริการองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับดิน ปุ๋ยและข้าว ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมพัฒนาที่ดิน กรมการ ข้าว และหน่วยงานภาครัฐ ทีจะเกิดการพัฒนา Information/knowledge ่ as a Services ตามมา และเป็นรูปแบบ on-demand ที่ส่งเฉพาะข้อมูล ความต้องการที่เป็น localized/personalized จริงๆ • กลุ่มที่พัฒนาเทคโนโลยี ICDT จะสามารถปรับเทคโนโลยีให้เหมาะกับ โจทย์ในพื้นที่ ทางด้าน Platform as a services และ Knowledge as a services ไม่หลงประเด็น และนำาไปสู่การพัฒนานวัตกรรมใหม่ร่วมกับ ชุมชน และภาคเอกชน • Customers Relationship หรือ Interaction คือ ความสัมพันธุ์ระหว่างผู้ให้
  • 29. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 29 บริการกับผู้รับบริการ ในการศึกษานี้ประกอบด้วย • ในกรณีกลุ่มเกษตรกร เป็นผู้ให้บริการ จะเกิดความสัมพันธุ์เชิงกลุ่มระหว่าง กลุ่มเกษตรกรคือคณะกรรมการบริหารกลุ่ม กับสมาชิกในกลุ่ม เป็นความ สัมพันธุ์เชิงสังคมนำาหน้าธุรกิจ • ในกรณีภาคเอกชน ได้แก่ร้านค้าปุ๋ยหรือบริษัทปุ๋ยเป็นผู้ให้บริการ จะเกิด ความสัมพันธุ์เชิงธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการกบกลุ่มเกษตรกร หรือ เกษตรกรรายย่อย • ความสัมพันธุ์ด้านการเป็นพี่เลี้ยง จะเกิดระหว่างหน่วยงานภาครัฐที่เป็น ผู้นำาความรู้ด้านการจัดการดินและปุ๋ย หรือความรู้ประกอบด้านเทคโนโลยี การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน ในลักษณะ active และ passive • Customers Segment หรือ กลุ่มของผู้รับบริการ ในการศึกษานี้เน้นที่กลุ่ม เกษตรกรและสมาชิกกลุ่มเป็นหลัก • Channels หรือ Accessibility of Services คือ วิธีการให้บริการ ในการศึกษานี้ จะประกอบด้วย tangible และ intangible ในกรณี tangible ได้แก่ วิธีการขนส่ง (logistics) ปุ๋ยจากร้านค้าไปสู่กลุ่มเกษตรกร หรือสมาชิกกลุ่ม ถ้ามีรูปแบบของ Services Offering ที่ชัดเจน ส่วน intangible นั้น ได้แก่กรณีของ Knowledge as a Services ของการส่งข้อมูลสู่ผู้รับบริการในรูปแบบ localized/personalized ผ่านทางเครื่อมือ ICDT • Cost Structures หรือ โครงสร้างต้นทุนดำาเนินการของเกษตรกร ในกรณีศึกษนี้ ปุ๋ยเป็นต้นทุนประมาณ 40% ของต้นทุนทั้งหมด ดังนั้น ถ้าสามารถพัฒนา Services Offering ที่นำาไปใช้ได้จริงจะสามารถลดต้นทุนส่วนนี้ลงได้ประมาณ 50% (ผลจากการศึกษาในงานปุ๋ยสั่งตัด) ส่วนต้นทุนที่เหลือนั้นจะมีการศึกษาใน รายละเอียดในโครงการหม่บ้านลดต้นทุน ที่จะนำาเสนอในส่วนอื่นต่อไป • Revenue Stream หรือแหล่งที่มาของเงินทุน ในการศึกษานี้ จะมีแหล่งเงินทุน ประกอบด้วย • การระดมทุนของกลุ่มเกษตรกร ในกรณีของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ด พันธุ์ข้าวบ้านห้วยขมิ้น จ.สระบุรี มีการกู้ยืม ธกส.จำานวน 3 ล้านบาท เป็นก
  • 30. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 30 องทุนตั้งต้น และมีการเรียกเก็บเงินค่าสมาชิกกลุ่มเป็นเงินทุนหมุนเวียนใน การดำาเนินธุรกิจขายเมล็ดพันธุ์ข้าว • เกษตรกรรายย่อย ส่วนใหญ่ยังเป็นลูกหนี้ ธกส. ในการกู้เงินลงทุนและซื้อ ปัจจัยการผลิต
  • 32. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 32 ภาพที่ การปฏิบัติงานภาคสนาม Guiding Principles เป็นรายละเอียดของการปฏิบัติงานในปัจจุบันของเกษตรกรเกี่ยวกับการปลูกข้าวทั้ง ระบบ เพื่อให้เห็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องในกระบวนการปลูกข้าวของเกษตรกร ข้อมูลส่วนนี้ จะนำาไปสร้าง Blueprint เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ในขั้นตอนต่อไป ขั้นตอนการปลูกข้าวของศูนย์วิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์บ้านห้วยขมิ้น (ผู้ใหญ่ร่ม วรรณประเสริฐ) ข้อมูลทั่วไป ต.ห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี ประกอบด้วย • 14 หมู่บ้าน จำานวนเกษตรกร 131 ครัวเรือน ประกอบอาชีพทำานา 111 ครัวเรือน • มีพื้นที่ ทั้งหมด 9453 ไร่ เป็นพื้นที่ทำาการเกษตร 3452 ไร่ ในจำานวนนี้ใช้ทำานา ปี 3400 ไร่ นาปรัง 2734 ไร่ (พื้นที่ที่มีนำ้าชลประทาน) ในพื้นที่บ้านห้วยขมิ้นนี้ ปกติจะทำานาปีละ 2 ครั้ง โดยมีการพักนาประมาณ 1 เดือน และจะปลูกพืชบำารุง ดิน เช่น ปอเทือง หรือปลูกผัก (บวบ ถั่วฝักยาว แตงกวา) ตามคันนา • พื้นที่ศึกษาอยู่ที่ หมู่ 2 บ้านห้วยทองหลาง ประกอบด้วยประชากร 64 ครัวเรือน
  • 33. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 33 จำานวน 357 คน มีผู้ใหญ่ร่ม วรรณประเสริฐ เป็นประธานกลุ่ม ในปี 2551 เริ่มจัดตั้งกลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว และพัฒนาเป็นศูนย์วิสาหกิจชุมชนผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าวห้วยขมิ้น ในปี 2552 ในปีเดียวกันนี้เองที่เริ่มเรียนรู้เรื่องปุ๋ยสั่งตัดจาก อ.ทัศนีย์ และคณะ โดยสามารถลดค่าปุ๋ยในปีแรกลงได้ 500 บาทต่อไร่ ทำาให้เกิดแรง จูงใจในการศึกษาการใช้ปุ๋ยสั่งตัดอย่างจริงจังในเวลาต่อมา จนกลายเป็นกลุ่มต้นแบบ ของการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวและการใช้ปุ๋ยสั่งตัด ในปี 2555 ภาพที่ Guiding Principle จาก Physical Evidences ขั้น ตอนการเตรีย มการ การจัด หาเมล็ด พัน ธุ์ เมล็ดพันธุ์เป็นปัจจัยการผลิตตั้งต้นที่สำาคัญยิ่ง และเป็นหนึ่งใน variety/constraint ของ การผลิต เนื่องจากการขาดเมล็ดพันธุ์ดีและคุณภาพดี และเกษตรกรมักพบพันธุ์ ปลอมปนเมื่อซื่อเมล็ดพันธุ์จากร้านค้าที่ไม่ได้ผ่านการรับรองจากกรมการข้าว กลุ่มจึงได้ จัดตั้งศูนย์วิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวบ้านห้วยขมิ้นขึ้นตั้งแต่ ปี 2552 เพื่อผลิต
  • 34. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 34 เมล็ดพันธุ์ข้าวขึ้นใช้เองจากการสนับสนุนของกรมส่งเสริมการเกษตรและการตรวจ รับรองจากกรมการข้าว ปัจจุบันมีสมาชิกกลุ่ม จำานวน 17 คน มีผู้ใหญ่ร่ม วรรณ ประเสริฐ เป็นประธาน พื้นที่ผลิตเมล็ดพันธุ์รวม 314 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 200 ตัน ต่อปี แปลงที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ต้องปฏิบัติตามขั้นตอนของกลุ่ม ดังนี้ • ต้องเป็นแปลงนาดำา เท่านั้น (เพื่อความสะดวกในการเข้าถอนข้าวปน) • ใช้เมล็ดพันธุ์ขยายของกรมการข้าว และเปลี่ยนพันธุ์ทุกฤดูปลูก • คณะกรรมการกลุ่ม (4 คน) ต้องออกตรวจตัดพันธุ์ปน 3-5 ครั้งต่อฤดูปลูก • มีการสุ่มตรวจข้าวก่อนรับซื้อ โดยใน 500 กก.ข้าวเปลือก จะมีเมล็ดข้าวแดงปน ได่ไม่เกิน 10 เมล็ด • ความชื้นต้องไม่เกิน 14% • คัดทำาความสะอาดด้วยเครื่องคัดแยกเมล็ดของกลุ่ม • มีระบบตรวจสอบย้อนกลับ ในฤดูปลูก นาปี 2555/56 มีการผลิตเมล็ดพันธุ์ ดังนี้ • สุพรรณบุรี 1 จำานวน 25 ตัน • กข. 31 จำานวน 30 ตัน • กข. 41 จำานวน 50 ตัน • กข. 47 จำานวน 80 ตัน • 41 พวง จำานวน 20 ตัน แผนสำาหรับนาปรัง ปี 2555/56 • สุพรรณบุรี 1 จำานวน 25 ไร่ • กข. 41 จำานวน 50 ไร่ • กข. 31 จำานวน 32 ไร่ • กข. 47 จำานวน 140 ไร่ • กข. 49 จำานวน 30 ไร่ กลุ่มขายเมล็ดพันธุ์ในราคา กก.ละ 23 บาท ลูกค้าของกลุ่ม ประกอบด้วย • สกต.สระบุรี จำานวนสั่งซื้อ 70 ตัน • กลุ่มเกษตรกร จำานวนสั่งซื้อ 25 ตัน • สมาชิกกลุ่ม/เกษตรกรทั้วไป จำานวนประมาณการ 70/40 ตัน
  • 35. นวัตกรรมบริการปุย ๋ 35 การเตรีย มดิน การป้องกันกำาจัดข้าววัชพืช โดยการใช้เครื่องโรตารีตีนา ปล่อยให้ แห้งเพื่อให้วัชพืชงอกและไถกลบ ปล่อยให้ข้าววัชพืชงอกอีกครั้งจึงตีดิน การปลูก ปัจจุบันเนื่องจากการขาดแรงงานภาคเกษตร และเกษตรกรมีอายุมากขึ้น การปลูกข้าวในภาคกลางภาคเหนือตอนล่างในเขตชลประทานได้เปลี่ยนจาก การดำานา หรือการหว่าน มาใช้วิธีโยนกล้า หรือ ใช้เครื่องดำานา มีเกษตรกรบางรายที่รับจ้างโยนก ล้า โดยรับจ้างหาเมล็ดพันธุ์ เพาะใส่ถาดพลาสติก 15 วัน และโยนกล้าในราคา 180 บาทต่อไร่ หากหาเมล็ดพันธุ์มาเองก็คิดค่าโยน 150 บาทต่อไร่ ส่วนในกรณีใช้รถดำานา นั้น ค่าจ้างในการใช้เครื่องปักดำา ประมาณ 1300 บาทต่อไร่ แต่จะได้ระยะปลูกที่ สมำ่าเสมอสะดวกในการดูแล ขั้น ตอนการดูแ ลรัก ษา 1. การป้องกันศัตรูพืชด้วยสารเคมีเกษตร ด้านการกำาจัดศัตรูพืช ใช้วิธีผสมผสาน โดยมีการตรวจนับแมลงก่อนการใช้สารเคมี มีการใช้สารป้องกันกำาจัด 1 ครั้ง ต่อ ฤดูปลูก จากเดิม 3 ครั้ง ปัจจุบันจะใช้วิธีจ้างผู้รับจ้างพ่นยาดำาเนินการให้ 2. การใส่ปุ๋ย ในด้านการใช้ปุ๋ยสั่งตัด กลุ่มของผู้ใหญ่ร่วมมีต้นทุนการผลิตตำ่ากว่า 2967 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนปุ๋ยประมาณ 700 บาทต่อไร่ได้ผลผลิตประมาณ 860- 900 กก.ต่อไร่ (เฉลี่ยทั้งตำาบลประมาณ 750 กก.ต่อไร่) มีกำาไรประมาณ 5599 บาทต่อไร่ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการปรับมาใช้ปุ๋ยสั่งตัด การใส่ปุ๋ยจะจ้างคนใส่ ปุ๋ย ไร่ละ 60 บาท การใส่ปุ๋ยของกลุ่ม ใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อ 15 วันหลังการ ปักดำา และครั้งที่ 2 เมื่อข้าวมีอายุได้ 45 วันหลังการปักดำา ทั้งนี้กลุ่มสามารถ วิเคราะห์ดินเพื่อหารค่า N,P , K และ pH ได้ด้วยชุดตรวจสอบดินของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจากค่าการวิเคราะห์ดินนี้นำาไปใช้ในการคำานวน สูตรปุ๋ย เพื่อหาแม่ปุ๋ยมาผสมให้ได้ปริมาณปุ๋ยตามที่ต้องการในแต่ละพื้นที่ ปัจจุบันมีสมาชิก จำานวน 65 คน พื้นที่ใช้ปุ๋ยสั่งตัดรวม 3160 ไร่ มีการสั่งปุ๋ยรวม กันในปี 2555 ประมาณ 1 ล้านบาท ลดลงจาก ปี 2550 ที่มีปริมาณการสั่งปุ๋ย ประมาณ 1.9 ล้านบาท เนื่องจากปุ๋ยเป็นต้นทุนการผลิตที่คิดเป็นสัดส่วนสูงสุด ใน