SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 128
Downloaden Sie, um offline zu lesen
กรณีศึกษาโรงเรียนเพลินพัฒนาฝ่ายมัธยม
โดยคณะครูมัธยมโรงเรียนเพลินพัฒนา
แนวทางการสร้างชุมชนแห่งการียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC) 

เพื่อสร้างห้องเรียน 4.0 แบบง่ายๆ แต่ได้ผล
CHECK IN“ความคาดหวังในการมาร่วมกิจกรรมครั้งนี้”
GROUND
RULE“เราจะเรียนรู้กันอย่างไร”
D I S C
“Dominance Influence
Steadiness Conscientiousness”
“เข้าใจความแตกต่าง”
D I S C Style
“ด้วย 4 สไตล์”
มาทำความรู้จักตัวตนของเรา
อยู่ใน
สายเลือด
ประสบการณ์
ทัศนคติ
ค่านิยม
ความรู้ทักษะ
ความคาดหวัง สภาพกาย
-ใจ
พฤติกรรมแท้จริง
ติดตัวแต่กำเนิด + อบรมเลี้ยงดู

แสดงออกเมื่อ.....
- ไม่รู้ตัว
- สบายๆ
- ถูกกดดัน
พฤติกรรมที่แสดงออก
ภาพลักษณ์ที่แสดงออก

ให้คนอื่นเห็น
มีการปรับแต่งแล้ว
- ที่ตั้งใจ
- ที่ปรับแล้ว
- ต้องใช้พลัง ใช้ความพยายาม
- ระมัดระวัง
การเลี้ยงดู
วัฒนธรรมบ้าน-โรงเรียน
พูดชัดเจน ตรงประเด็น เน้นผลลัพธ์
รับฟัง ให้ความสำคัญ ให้อิสระในการทำงาน
อธิบายเป็นขั้นตอน ท่าทีที่ดี
มีข้อมูล อธิบายรายละเอียด
สื่อสารกับเด็กต่างสไตล์
N V C
“Non Violent Communication”
ขอบคุณ คุณธนิดา ดิษยบุตร
ผู้ปกครองและคุณแม่ที่มอบสิ่งดีๆ ให้กับโรงเรียนเพลินพัฒนา
ตัวกรองการคิด การมองเห็น การได้ยินและการรับรู้
• จิตที่คาดเดา รู้ว่าคุณจะพูดว่าอะไร
• จิตที่มีปฏิกริยาต่อความคาดหวัง นั่นไม่ใช่สิ่งที่เราคาดหวัง
• จิตที่อยากแก้ปัญหา อยากให้พูดให้จบเสียทีเพราะเตรียมคำตอบให้แล้ว
• จิตที่ถือเป็นเรื่องส่วนตัว ฉันไม่ชอบเธอ
• จิตที่คอยตั้งคำถาม ไม่เข้าใจ อึดอัดอยากถาม
• จิตที่ไม่เห็นด้วย อยากเถียง
• จิตที่เห็นด้วย เหมือนกับที่คิดเลย พูดต่อได้เลย
• จิตวางแผน มีนัดที่อื่น มีอย่างอื่นต้องทำ
• จิตคิดถึงเรื่องอื่น ไม่สามารถฟังรู้เรื่องเพราะใจไม่อยู่กับเนื้อกับตัว
ขอบคุณ คุณธนิดา ดิษยบุตร
ผู้ปกครองและคุณแม่ที่มอบสิ่งดีๆ ให้กับโรงเรียนเพลินพัฒนา
เมื่อคิดถึงความขัดแย้ง
คุณคิดถึงอะไร
ขอบคุณ คุณธนิดา ดิษยบุตร
ผู้ปกครองและคุณแม่ที่มอบสิ่งดีๆ ให้กับโรงเรียนเพลินพัฒนา
ความขัดแย้งอะไร
•วิธีการแสดงความไม่พอใจ ไม่เห็นด้วย หรือไม่บรรลุตามที่คาดหวัง
•มักจะนึกถึงเรื่องที่เป็นเชิงลบ
•ความขัดแย้งไม่ใช่เป็นเรื่องดีหรือไม่ดี
ขอบคุณ คุณธนิดา ดิษยบุตร
ผู้ปกครองและคุณแม่ที่มอบสิ่งดีๆ ให้กับโรงเรียนเพลินพัฒนา
ในการสื่อสารนั้น ความขัดแย้งเป็นเรื่องปรกติ
แต่การจัดการกับความขัดแย้งต่างหากที่มีความสำคัญมากกว่า
และสามารถส่งผลให้เกิดผลกระทบในแง่บวกหรือลบ
ขอบคุณ คุณธนิดา ดิษยบุตร
ผู้ปกครองและคุณแม่ที่มอบสิ่งดีๆ ให้กับโรงเรียนเพลินพัฒนา
วิธีจัดการกับความขัดแย้ง
แบบต่างๆ
•ยอมจำนน
•หลีกเลี่ยง
•ใช้กำลังหรืออำนาจ
•ใช้กฎหมายหรือสิทธิ์
•ใช้การแก้ปัญหาร่วมกัน
จัดการกับความขัดแย้ง
พฤติกรรม ปัญหา ความขัดแย้ง
วิธีแก้ปัญหา
แบบชั่วคราว
วิธีแก้ปัญหา
แบบถาวร
ยอมจำนน
หลีกเลี่ยง
ก้าวร้าว
เชิงบวก
ขอบคุณ คุณธนิดา ดิษยบุตร
ผู้ปกครองและคุณแม่ที่มอบสิ่งดีๆ ให้กับโรงเรียนเพลินพัฒนา
ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ
ในการจัดการความขัดแย้ง
วิธีการแสดงบุคลิก
การแสดงออก วิธีคิด มุมมอง
ทัศนคติต่อความขัดแย้ง
ความรู้เดิม วัฒนธรรม ทักษะ
ความรู้ ความสามารถ
ประสบการณ์ การศึกษา
พื้นฐานครอบครัว อื่นๆ
ความตั้งใจ
ความรู้ ประสบการณ์
ทักษะ การแสดงออก
ขอบคุณ คุณธนิดา ดิษยบุตร
ผู้ปกครองและคุณแม่ที่มอบสิ่งดีๆ ให้กับโรงเรียนเพลินพัฒนา
ขอบคุณ คุณธนิดา ดิษยบุตร
ผู้ปกครองและคุณแม่ที่มอบสิ่งดีๆ ให้กับโรงเรียนเพลินพัฒนา
ความรู้สึก หรือ ความคิด

ผมรู้สึกว่าคุณไม่รักผม
ฉันรู้สึกกังวลเวลาคุณพูดอย่างนั้น
ผมรู้สึกอยากจะชกหน้าเขา
เรารู้สึกหวั่นใจกับเศรษฐกิจ
ฉันรู้สึกเป็นคนไร้ค่ามาก
ขอบคุณ คุณธนิดา ดิษยบุตร
ผู้ปกครองและคุณแม่ที่มอบสิ่งดีๆ ให้กับโรงเรียนเพลินพัฒนา
ความรู้สึก
•เมื่อพูดความรู้สึก คนจะฟังและและสามารถเข้าไปสัมผัสใจได้มากขึ้น
•เมื่อพูดถึงความรู้สึก เราจะใช้ทั้งหมดของตัวเราไปจับความรู้สึกที่เกิด
ขึ้นทำให้มีความทรงจำที่ดีกว่า
•เมื่อพูดถึงความคิด เราจะใช้แค่ส่วนสมองในการจำ
•ถ้าอยากสร้างความสัมพันธ์กับใคร ให้พยายามจับความรู้สึกของเขา
ขอบคุณ คุณธนิดา ดิษยบุตร
ผู้ปกครองและคุณแม่ที่มอบสิ่งดีๆ ให้กับโรงเรียนเพลินพัฒนา
ห้อยแขวน ทิ้งทัศนคติ
และมุมมองเก่าๆไว้เบื้องหลัง
ห้อยแขวนอะไรบ้าง
•คำตัดสิน
•ข้อสันนิษฐาน
•คำวิจารณ์
•การตรวจสอบ
•ทัศนคติเก่าๆ
•คำตอบและปฏิกริยา

ตอบโต้อัตโนมัติ
ทำไมต้องห้อยแขวนสิ่งเหล่านั้น
•เพื่อก้าวข้ามความขัดแย้ง
•เพื่อก้าวข้ามมุมมองที่จำกัด
•เพื่อให้สามารถคิด ทบทวน ไตร่ตรอง
และสะท้อนความคิดกลับไปได้
•เพื่อเปิดโอกาสสำหรับความเป็นไปได้
และทางเลือกอื่นๆ
P L C
“Professional Learning Community”
กว่าจะเป็น PLC เพลินพัฒนา
สิ่งแวดล้อม
พัฒนาตนเอง
สอนวิชา
สอนคน
เป็นทีม
บทบาทครูมัธยม
สิ่งแวดล้อม
AAR
After Action Review
สิ่งที่ประสบความสำเร็จ
และ
สิ่งที่ต้องพัฒนา
Feedback
Loop
ร่วมสร้างเป้าหมายและวิธีการด้วยกัน
ด้านสอนคน สอนวิชา
ประเด็นที่ AAR
•สิ่งที่ประสบความสำเร็จ
•สิ่งที่อยากจะพัฒนา
สอนคน
สอนวิชา
ขอบคุณ คุณธนิดา ดิษยบุตร
ผู้ปกครองและคุณแม่ที่มอบสิ่งดีๆ ให้กับโรงเรียนเพลินพัฒนา
ฟัง ฟัง ฟัง และ ฟัง
7C
“ทักษะ 7 C ของครูไทย”
Curriculum construction skills
Child-oriented management skills
Classroom innovation implementation skills
Classroom learning assessment skills
Classroom action research skills
Classroom management skills
Character development skills
ทักษะในศตวรรษที่ 21
ของนักเรียน
E ( 4R + 7C )
Ethical
Person
Read
Write
Arithmetic
Reasoning
Creative Thinking
Critical Thinking
Collaborative Skill
Communicative Skill
Computing Skill
Career and Life Skill
Cross – Cultural Skill
PLC
เพลินพัฒนา
PLC 2
แบบเพลินพัฒนา
•แบบใช้ LESSON STUDY APPROACH เพื่อพัฒนา
ครูสู่นักเรียน และพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
•แบบร่วมกันหาสาเหตุเพื่อแก้ไขปัญหาพฤติกรรม
นักเรียนโดยใช้ระบบประจำชั้นร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ
PLC = Profession Learning Community
ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ
LS = Lesson Study
การศึกษาผ่านบทเรียน
กระบวนการ
PLC (Lesson Study Approach)
Analyse Plan Do&See Reflect Redesign
Collaboration
ปรัชญาโรงเรียนชุมชน
แห่งการเรียนรู้
•ปรัชญาสำหรับส่วนร่วม(Public Philosophy)
•ปรัชญาระบอบประชาธิปไตย(Democracy Philosophy)
•ปรัชญาของความเป็นเลิศ(Excellence Philosophy)
ปีแรกของครู
•สังเกตนักเรียนที่มีความต้องการช่วยเหลือเป็นพิเศษ
•ครูร่วมมือรวมพลังกันหาสาเหตุนักเรียนที่เรียนรู้ไม่ได้/มีปัญหา

ด้านพฤติกรรม...อย่าต่อว่านักเรียน
•ให้การเรียนแต่ละวันมีกิจกรรมที่นักเรียนต้องร่วมมือกัน
ปีแรกของนักเรียน
•กล้าที่จะบอก ไม่เข้าใจ
•ห้ามล้อเลียนเมื่อเพื่อนทำผิด
•ตั้งใจฟังเพื่อน
•ช่วยเหลือเพื่อน อธิบายให้เพื่อนเข้าใจ
หลักที่ต้องระลึกเสมอ
ระหว่างสังเกตการเรียนรู้
•ไม่มีนักเรียนและครูคนดถูกทิ้ง
•ครูต้องไม่ตั้งกำแพงหรือมีช่องว่างกับนักเรียน
•ครูต้องเข้าถึงนักเรียนได้
•ปิดโทรศัพท์ ไม่คุยกัน และไม่คุยกับนักเรียน
•สังเกตการเรียนรู้ของนักเรียน แต่ไม่ได้เข้าไปจับผิดครู
•อยู่ในจุดที่เหมาะสม
หลักสำคัญ 3 ประการ
1.Learning by Doing : 5 STEPs
2.Team-based Learning
	• แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 4 คน
	• คละเพศ
	•	คละความสามารถ
3.Attribute (คุณลักษณะ)
ตัวอย่างการจัดที่นั่งนักเรียน
กระดานดำ
องค์ประกอบ PLC
• ครูสอนด้วยกระบวนการ 5 STEPs 

แก้ปัญหาของผู้เรียนและทำวิจัย
• ครูทำงานด้วยความร่วมมือรวมพลัง 

และให้นักเรียนเรียนรู้อย่างร่วมมือรวมพลัง
• นักเรียนทำโครงงาน PBL
• เข้าสู่ห้องเรียนและโรงเรียน 4.0
4.0
Collaboration and PLC of
Plearnpattana School
“การร่วมมือรวมพลังและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง

ครูกับนักเรียนเป็นปัจจัยสำคัญในการเป็นชุมชน

แห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพผ่านการทำ Lesson Study.”
Collaboration
• เป็นพื้นที่ปลอดภัย
• ใช้การสื่อสารอย่างสุนทรียสนทนา
• สร้างสัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียน
• ใช้กระบวนการเรียนรู้โดยเน้นกิจกรรมแบบร่วมมือรวมพลัง
• After Action Review (AAR)
กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน
• ขั้นตั้งคำถาม
• ขั้นแสวงหาสารสนเทศและวิเคราะห์
• ขั้นสร้างความรู้
• ขั้นสื่อสาร
• ขั้นนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
ขั้นตอนการทำ LS
• ขั้นวิเคราะห์แผนการสอนร่วมกัน
• ขั้นวางแผนการสอนร่วมกัน
• ขั้นลงมือปฏิบัติและมีผู้เข้าสังเกตการสอนร่วมกัน
• ขั้นสะท้อนร่วมกันโดยใช้สุนทรียสนทนาแบบกัลยาณมิตร
• ขั้นออกแบบการสอนใหม่ร่วมกัน
PLC โดยรศ.ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และรศ.พเยาว์ยินดีสุข
PLC ตามคำแนะนำของ รศ.ดร.สิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา
คุณครูจับคู่ Buddy ต่างกลุ่มสาระกัน
แต่สอนห้องเดียวกัน เพื่อให้เห็นความ
หลากหลายในห้องเรียนเดียวกัน
PLC
คณิตศาสตร์
ธรรมชาติศึกษา

และประยุกต์วิทยา
สังคม
ภาษาไทย
พละศึกษา
แนะแนว
Critical thinking
ESL
แสนภาษา (ศิลปะ)
แสนภาษา (ดนตรี)
Analyse
Reflect
PLC แบบร่วมกันหาสาเหตุเพื่อแก้ไขปัญหาพฤติกรรมนักเรียน
โดยใช้ระบบประจำชั้นร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ
เสนอสิ่งเร้าและระบุคำถาม
แสวงหาสารสนเทศและวิเคราะห์
อภิปรายและสร้างความรู้
สื่อสารและสะท้อนคิด
ประยุกต์และ
ตอบแทนสังคม
2ว
วางแผน
วิเคราะห์
4ส
สิ่งเร้า สังเกต
สงสัย สมมติฐาน
2ส
สื่อความหมาย
สรุป
สสส
สส
กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน
1
2
3
4
5
แบ่งกลุ่มละ 10 คน
ผลจากแนวคิด PLC
• ร่วมเรียน ร่วมสอน ร่วมสังเกตและร่วมกันแก้ปัญหา
• ครูรู้จักนักเรียนอย่างแท้จริงเมื่อมีการเรียนรู้และแก้ไข
ปัญหาอย่างสม่ำเสมอ
• ครูเป็นต้นแบบของคนที่น้ำไม่เต็มแก้ว ใฝ่รู้และเป็นนัก

แก้ปัญหา ทำงานเป็นทีม เด็กจะเห็นทักษะจริงๆที่มีในตัวครู
	 	 	 วิเคราะห์โดย ศ.คลินิก พญ.วินัดดา ปิยศิลป์
WALS2017@NAGOYA UNIVERSITY
ขอบคุณครับ
ภูริทัต ชัยวัฒนกุล
โรงเรียนเพลินพัฒนา ฝ่ายมัธยม
ID LINE : phurithat_c
Email : peat76@hotmail.com

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie เพลินพัฒนา นำเสนอ PLC ในงาน EDUCA 2017

ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมOrange Wongwaiwit
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12Orange Wongwaiwit
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0Pattie Pattie
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิดNirut Uthatip
 
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐Pattie Pattie
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21Wiriyah Ruechaipanit
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน Orange Wongwaiwit
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดSununtha Putpun
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
แนวคิดจิตปัญญา
แนวคิดจิตปัญญาแนวคิดจิตปัญญา
แนวคิดจิตปัญญาTa Ngngmer
 

Ähnlich wie เพลินพัฒนา นำเสนอ PLC ในงาน EDUCA 2017 (20)

ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
 
Blog24 nov
Blog24 novBlog24 nov
Blog24 nov
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
 
Thai edu21n1
Thai edu21n1Thai edu21n1
Thai edu21n1
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
 
H aforum21
H aforum21H aforum21
H aforum21
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
 
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
Todsalak610802
Todsalak610802Todsalak610802
Todsalak610802
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
Ubon u 620215
Ubon u 620215Ubon u 620215
Ubon u 620215
 
Pre orientation
Pre orientationPre orientation
Pre orientation
 
แนวคิดจิตปัญญา
แนวคิดจิตปัญญาแนวคิดจิตปัญญา
แนวคิดจิตปัญญา
 

Mehr von Orange Wongwaiwit

ภาคสนามชั้น 10 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 10 ปีการศึกษา 2560ภาคสนามชั้น 10 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 10 ปีการศึกษา 2560Orange Wongwaiwit
 
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560Orange Wongwaiwit
 
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560Orange Wongwaiwit
 
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10Orange Wongwaiwit
 
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560Orange Wongwaiwit
 
ภาคสนามชั้น 7
ภาคสนามชั้น 7 ภาคสนามชั้น 7
ภาคสนามชั้น 7 Orange Wongwaiwit
 
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหา
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหาสไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหา
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหาOrange Wongwaiwit
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่นปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่นOrange Wongwaiwit
 
การทำงานมัธยม
การทำงานมัธยมการทำงานมัธยม
การทำงานมัธยมOrange Wongwaiwit
 
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2558ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2558Orange Wongwaiwit
 
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)Orange Wongwaiwit
 
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558Orange Wongwaiwit
 
ภาคสนามชั้น 8
ภาคสนามชั้น 8 ภาคสนามชั้น 8
ภาคสนามชั้น 8 Orange Wongwaiwit
 
ตารางสอน ชั้น 9/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 9/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557ตารางสอน ชั้น 9/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 9/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557Orange Wongwaiwit
 
ตารางสอน ชั้น 9/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 9/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557ตารางสอน ชั้น 9/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 9/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557Orange Wongwaiwit
 
ตารางสอน ชั้น 8/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 8/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557ตารางสอน ชั้น 8/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 8/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557Orange Wongwaiwit
 
ตารางสอน ชั้น 8/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 8/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557ตารางสอน ชั้น 8/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 8/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557Orange Wongwaiwit
 
ตารางสอน ชั้น 7/3 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 7/3 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557ตารางสอน ชั้น 7/3 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 7/3 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557Orange Wongwaiwit
 

Mehr von Orange Wongwaiwit (20)

ภาคสนามชั้น 10 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 10 ปีการศึกษา 2560ภาคสนามชั้น 10 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 10 ปีการศึกษา 2560
 
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 8 ปีการศึกษา 2560
 
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560
 
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10
นำเสนอภาคสนาม ชั้น 10
 
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560
ภาคสนามชั้น 7 ปี 2560
 
Plearn SAILING Camp
Plearn SAILING CampPlearn SAILING Camp
Plearn SAILING Camp
 
ภาคสนามชั้น 7
ภาคสนามชั้น 7 ภาคสนามชั้น 7
ภาคสนามชั้น 7
 
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหา
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหาสไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหา
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหา
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่นปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่น
 
การทำงานมัธยม
การทำงานมัธยมการทำงานมัธยม
การทำงานมัธยม
 
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2558ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2558
 
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)
 
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558
 
ภาคสนามชั้น 8
ภาคสนามชั้น 8 ภาคสนามชั้น 8
ภาคสนามชั้น 8
 
Fieldtrip Journal
Fieldtrip JournalFieldtrip Journal
Fieldtrip Journal
 
ตารางสอน ชั้น 9/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 9/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557ตารางสอน ชั้น 9/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 9/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
 
ตารางสอน ชั้น 9/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 9/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557ตารางสอน ชั้น 9/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 9/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
 
ตารางสอน ชั้น 8/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 8/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557ตารางสอน ชั้น 8/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 8/2 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
 
ตารางสอน ชั้น 8/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 8/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557ตารางสอน ชั้น 8/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 8/1 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
 
ตารางสอน ชั้น 7/3 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 7/3 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557ตารางสอน ชั้น 7/3 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
ตารางสอน ชั้น 7/3 ภาคจิตตะ-วิมังสา 2557
 

เพลินพัฒนา นำเสนอ PLC ในงาน EDUCA 2017