SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ใบความรู้ รายวิชา ท๔๐๑๐๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ หน้า ๑
การอภิปรายเป็นแบบการพูดซึ่งมีลักษณะคล้ายการสนทนา แต่การอภิปรายแตกต่างกับ
การสนทนาในลักษณะสาคัญ คือ การอภิปรายมีความมุ่งหมายที่กาหนดไว้ล่วงหน้าแน่นอน เช่น
การตัดสินใจหรือการแก้ปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และการอภิปรายอาจนาไปสู่การตัดสินใจหา
ข้อตกลงเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ
การอภิปรายประกอบด้วย
๑) ผู้พูด
๒) ผู้ฟัง
๓) หัวข้อเรื่อง
๔) สถานที่
แบบของการอภิปราย
การอภิปรายมีหลายแบบ แบบที่นิยมกันทั่วไป คือการอภิปรายแบบธรรมดา และการ
อภิปรายเป็นคณะ
1.การอภิปรายแบบธรรมดา เป็นการร่วมประชุมของกลุ่มบุคคลซึ่งไม่มากนัก โดยมีผู้
หนึ่งทาหน้าที่ดาเนินการอภิปราย เพื่อปรึกษาหารือหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่อง
หนึ่ง โดยผู้เข้าร่วมประชุมคนใดจะอภิปรายก่อนหรือหลังก็ได้ มักใช้กับเรื่องทางวิชาการในชั้น
เรียน การประชุมสัมนาหรือการประชุมของสโมสร สมาคมและหน่วยงานต่างๆ
2.การอภิปรายเป็นคณะ เป็นการประชุมให้ความรู้หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในคณะ
ผู้อภิปรายซึ่งจัดขึ้นโดยเฉพาะประมาณ ๕ คน และมีผู้หนึ่งทาหน้าที่ดาเนินการอภิปราย
ผู้เข้าร่วมประชุมนอกนั้นเป็นผู้ฟัง ผู้อภิปรายแต่ละคนได้รับมอบหมายให้พูดในเวลาต่างๆ กัน
เป็นการพูดและซักถามระหว่างคณะผู้อภิปรายเพื่อผู้ฟังต่อหน้าผู้ฟัง แต่ไม่ได้พูดกับผู้ฟังโดยตรง
แต่ก็ยังเปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถามผู้อภิปรายคนใดคนหนึ่งได้ในตอนท้าย
ความมุ่งหมายของการอภิปราย
๑. เพื่อเสนอปัญหาหรือเรื่องบางอย่าง
๒. ให้คนกลุ่มหนึ่งมาร่วมแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนทรรศนะอย่างมีหลักเกณฑ์และมี
เหตุผลตามหลักประชาธิปไตย
๓. ผู้ร่วมอภิปรายเสนอข้อเท็จจริง ข้อเสนอแนะ และแสวงหาข้อแก้ไขที่ดีที่สุด อาจมี
ความเห็นสอดคล้องกันหรือโต้แย้งกันก็ได้
๔. หาข้อยุติของปัญหาหรือเรื่องดังกล่าว
๕. ให้ข้อคิดและเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาต่อไป
ใบความรู้ รายวิชา ท๔๐๑๐๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ หน้า ๒
ประเภทของการอภิปราย
๑. การอภิปรายกลุ่ม หมายถึง การอภิปรายที่บุคคลมาร่วมปรึกษาหารือกัน อาจมีจานวน
๕-๑๐ คน หรือมากกว่านี้ก็ได้ ทุกคนมีส่วนในการพูด ผลัดกันพูด ผลัดกันฟัง การอภิปรายแบบ
นี้จะไม่มีผู้ฟัง เพราะทุกคนเป็นทั้งผู้พูดและผู้ฟังนั่นเอง
๒. การอภิปรายในที่ประชุม หมายถึง การอภิปรายที่กาหนดวัตถุประสงค์ไว้แน่นอนว่าทุก
คนจะมาร่วมประชุมเพื่อแสดงความคิดเห็นสาหรับหัวข้อยุติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การอภิปราย
แบบนี้มีประธานในการอภิปราย ทาหน้าที่ควบคุมการดาเนินการอภิปรายให้เป็นไปตามระเบียบ
วาระ และหลังจากที่สมาชิกมาร่วมประชุมอภิปรายกัน เสร็จสิ้นจนได้ข้อยุติ ก่อนเสนอข้อยุตินั้น
สมาชิกจะต้องลงคะแนนเสียงกันก่อนเพื่อให้แน่ใจว่าเป็นมติของที่ประชุมจริง บางครั้งอาจมีการ
คัดเลือกผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ ประมาณ ๓-๕ คน ร่วมอภิปรายเป็นคณะ ส่วนคน
ที่เหลือก็เป็นผู้ฟัง และหลังจากได้อภิปรายแล้วจะเปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถามข้อสงสัย เมื่อทุกคน
เข้าใจกระจ่างดีแล้วจึงสรุปข้อยุติที่ทุกคนเห็นพ้องต้องกัน ถือเป็นมติของที่ประชุม จากนั้น
ประธานก็กล่าวปิดอภิปรายได้
หน้าที่ของผู้ดาเนินการอภิปราย
การอภิปรายจะประสบผลสาเร็จมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับผู้ดาเนินการอภิปราย ซึ่ง
หน้าที่ของ ผู้ดาเนินการอภิปราย ได้แก่
๑. กล่าวแนะนาผู้ร่วมอภิปรายให้ผู้ฟังรู้จักอย่างย่อๆ
๒. กล่าวชื่อเรื่องที่จะอภิปรายและกาหนดเวลาการอภิปราย
๓. เชิญผู้อภิปรายพูดให้ทั่วถึงกัน คอยรักษาเวลาการพูดให้อยู่ในกาหนด
๔. เข้าใจเรื่องที่จะอภิปรายอย่างดี ประชุมปรึกษาหารือวางแผนการพูดไว้ล่วงหน้า
๕. ช่วยสรุปการพูดอภิปรายของแต่ละคนและเชื่อมโยงไปยังผู้อภิปรายแต่ละคน
๖. คอยเพิ่มเติมหรือสรุปเรื่องอภิปรายให้ผู้ฟังเข้าใจดียิ่งขึ้น
๗. คอยแจกคาถามของผู้ฟังให้ผู้อภิปราย
ข้อควรปฏิบัติของผู้ดาเนินการอภิปราย
การอภิปรายจะได้ผลเพียงใดขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ดาเนินการอภิปราย
ผู้ดาเนินการอภิปรายควรถือหลักปฏิบัติดังนี้
๑. ติดตามคาพูดของผู้อภิปรายแต่ละคนอย่างใกล้ชิด โดยบันทึกสาระสาคัญไว้
๒. กล่าวซ้าหรืออภิปรายประเด็นที่ผู้อภิปรายไว้ไม่ชัดเจน
๓. พยายามให้การอภิปรายดาเนินไปโดยราบรื่น ถ้าหากการอภิปรายมีทีท่าจะชะงักลง
ต้องกระตุ้นให้ดาเนินต่อไป
๔. พยายามให้โอกาสแก่ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการอภิปราย
๕. ควบคุมการอภิปรายให้อยู่ในประเด็นที่กาหนด โดยเตือนผู้ที่อภิปรายนอกประเด็น
อย่างสุภาพ
๖. กล่าวสรุปการอภิปราย
ใบความรู้ รายวิชา ท๔๐๑๐๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ หน้า ๓
หน้าที่ของผู้อภิปราย
๑. เข้าใจเนื้อเรื่องที่จะพูดเป็นอย่างดี เตรียมตัวมาอย่างดี เตรียมความรู้และความคิดเห็น
ตามหัวข้อเรื่องให้ละเอียดและทาความเข้าใจให้ชัดเจน
๒. เตรียมอุปกรณ์หรือสื่อต่าง ๆ ที่จะใช้ประกอบการพูดให้พร้อม
๓. ประชุมปรึกษาหารือกับคณะผู้อภิปราย แบ่งหัวข้อตามความถนัดของตน
๔. อภิปรายในประเด็น ปัญหา หรือเรื่องที่ผู้ดาเนินการอภิปรายกาหนดให้ โดยอภิปราย
อยู่ในประเด็นปัญหา หรือเรื่องอย่างละเอียดชัดเจน ไม่นอกเรื่อง
๕. รักษาเวลาในการพูดให้เคร่งครัดเสมอและตรงต่อการนัดหมาย
๖. ใช้ภาษาพูดที่กะทัดรัด ชัดเจน
๗. รักษามรรยาทที่ดีในการพูด เช่น กิริยาท่าทาง สีหน้า และการควบคุมอารมณ์
๘. ผู้อภิปรายควรเปิดโอกาสให้ผู้อื่นพูดบ้าง ไม่พูดมากเสียคนเดียว
๙. เพิ่มเติมเนื้อเรื่องบางตอนหากเห็นว่าผู้อภิปรายยังพูดไม่สมบูรณ์
๑๐. คารวะผู้ฟัง เมื่อผู้ดาเนินการอภิปรายแนะนาตัวให้ผู้ฟังรู้จัก
ข้อควรปฏิบัติของผู้ร่วมอภิปราย
ผู้ร่วมอภิปรายควรปฏิบัติดังนี้
๑. เตรียมตัวที่จะพูดตามหัวข้ออภิปรายไว้ล่วงหน้า โดยศึกษาหาข้อมูลและเตรียม
ข้อคิดเห็นในเรื่องที่จะอภิปรายไว้ให้เพียงพอ
๒. พยายามพูดให้อยู่ภายในหัวข้อของการอภิปราย
๓. พยายามฟังและติดตามคาอภิปรายของผู้ร่วมอภิปราย
๔. พยายามพูดให้รวบรัดแต่ได้ใจความสมบูรณ์
๕. ต้องไม่ขัดจังหวะหรือท้วงติงผู้ที่กาลังอภิปราย
๖. ถึงแม้จะมีความเห็นแย้งกับผู้อื่น ก็ยินดีรับฟังและยอมรับสิทธิในการแสดงความคิดเห็น
ของผู้อื่น
๗. แสดงความสนใจในการอภิปราย
๘. พูดให้ผู้ฟังได้ยินทั่วถึง
ปัญหาหรือหัวข้อเรื่องที่จะนามาอภิปราย
๑.ไม่ควรเน้นปัญหาที่กว้างเกินไปจนสรุปผลไม่ได้ หรือต้องใช้เวลายาวนาน
๒.ควรเป็นปัญหาที่มีสาระและเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม
๓.ควรเป็นปัญหาที่คนส่วนใหญ่ได้ประสบและเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยๆ
๔.ควรเป็นปัญหาที่สังคมส่วนใหญ่เข้าใจยากหรือเข้าใจไม่ถูกต้อง
หลักเกณฑ์การสรุปการอภิปราย
ผู้ดาเนินการอภิปรายทาหน้าที่สรุปในตอนท้ายของการอภิปราย ควรปฏิบัติดังนี้
๑. กล่าวถึงจุดประสงค์ในการอภิปราย
๒. กล่าวถึงประเด็นสาคัญที่มีผู้อภิปราย
๓. กล่าวถึงผลของการอภิปราย
ใบความรู้ รายวิชา ท๔๐๑๐๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ หน้า ๔
๔. สรุปจากข้อเท็จจริงและความคิดเห็นของผู้อภิปรายทุกคน ไม่สรุปตามความคิดเห็น
ของตนเอง
มารยาทการพูดอภิปราย
การพูดอภิปรายเป็นการสื่อสารที่เป็นการแสดงแนวคิดเห็นแลกเปลี่ยนกัน แสดงข้อมูล
ข้อเท็จจริง เพื่อแก้ปัญหา หาแนวทางหรือข้อยุติ เป็นสิ่งที่ใช้แทบทุกวงการ ดังนั้นจึงควรมี
มารยาทการพูดดังต่อไปนี้
๑) วางแผนในการพูดให้แน่นอน พูดให้ถูกต้องชัดเจน เสียงดังพอควร
๒) พูดด้วยน้าเสียงหนักแน่น จริงจัง น่าเชื่อถือ ไม่พูดเชิงดูหมิ่นผู้ฟัง
๓) ไม่ต้องโอ้อวดตัวเอง ใช้ท่าทางประกอบการพูดเป็นธรรมชาติ ไม่มากเกินไป
๔) พูดด้วยใบหน้ายิ้มน้อยๆ นั่งหรือยืนตัวตรงสง่าผึ่งผายแต่ไม่วางท่าหยิ่ง
๕) พูดถึงสาเหตุการอภิปราย เพื่อให้เห็นความจาเป็นที่ต้องมีการอภิปรายครั้งนี้
๖) ทาให้ผู้ฟังเกิดศรัทธาในการพูดอภิปราย โดยเล่าเรื่องประสบการณ์ที่ผ่านมา
๗) เมื่อเห็นผู้ฟังเครียด หรือเบื่อหน่ายในการฟังอาจใส่มุขตลกบ้างเล็กน้อย
๘) พูดให้ผู้ฟังเกิดสานึกถึงหน้าที่ความรับผิดชอบและเกิดความคิดริเริ่มที่ดี
๙) ใช้คาพูดเชิงจูงใจให้เห็นประโยชน์ของการพูดอภิปราย เพื่อการยอมรับและเต็มใจ
ปฏิบัติตามเมื่อเกิดเป็นข้อยุติ
๑๐) ใช้ภาษาสุภาพ แต่งกายสุภาพ อาจตอบคาถามโดยยกย่องว่าเป็นคาถามที่ดีก่อน
ตอบให้ตรงประเด็น และแสดงความปรารถนาดีต่อผู้ฟังทุกคน
************************************
ศึกษาสาระเพิ่มเติม จาก
http://www.human.cmu.ac.th/~thai/sompong/speak_discussion.doc

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
ใบความรู้ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1page
ใบความรู้  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1pageใบความรู้  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1page
ใบความรู้ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อtassanee chaicharoen
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
รายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยรายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยChanatip Lovanit
 
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์hoossanee
 
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่งข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่งpeter dontoom
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)rapinn
 

Was ist angesagt? (20)

แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
ใบความรู้ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1page
ใบความรู้  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1pageใบความรู้  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1page
ใบความรู้ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป.3+450+dltvsocp3+54soc p03f 29-1page
 
mass casualty management
mass casualty managementmass casualty management
mass casualty management
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
 
งานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุงานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุ
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
รายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยรายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอย
 
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
 
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
 
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่งข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
ข้อสอบดนตรีชุดหนึ่ง
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
F 10 24_energija_un_darbs
F 10 24_energija_un_darbsF 10 24_energija_un_darbs
F 10 24_energija_un_darbs
 
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
แบบทดสอบ รายวิชาฟิสิกส์ (พื้นฐาน)
 

Andere mochten auch

ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลนายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 

Andere mochten auch (9)

ผลการแข่งขัน พาทีสร้างสรรค์ ม.ต้น
ผลการแข่งขัน พาทีสร้างสรรค์ ม.ต้นผลการแข่งขัน พาทีสร้างสรรค์ ม.ต้น
ผลการแข่งขัน พาทีสร้างสรรค์ ม.ต้น
 
การแข่งขันการท่องอาขยานทำนองเสนาะ ม.4 ม.6
การแข่งขันการท่องอาขยานทำนองเสนาะ ม.4 ม.6การแข่งขันการท่องอาขยานทำนองเสนาะ ม.4 ม.6
การแข่งขันการท่องอาขยานทำนองเสนาะ ม.4 ม.6
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
It 03
It 03It 03
It 03
 
การพูดโต้วาที
การพูดโต้วาทีการพูดโต้วาที
การพูดโต้วาที
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
 
Flow Chart
Flow ChartFlow Chart
Flow Chart
 
ผลการแข่งขัน พาทีสร้างสรรค์ ม.ปลาย
ผลการแข่งขัน พาทีสร้างสรรค์ ม.ปลายผลการแข่งขัน พาทีสร้างสรรค์ ม.ปลาย
ผลการแข่งขัน พาทีสร้างสรรค์ ม.ปลาย
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 

Ähnlich wie การพูดอภิปราย

Ähnlich wie การพูดอภิปราย (8)

บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
มารยาทการเข้าประชุม
มารยาทการเข้าประชุมมารยาทการเข้าประชุม
มารยาทการเข้าประชุม
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
 
thai lang
thai langthai lang
thai lang
 
Consult
ConsultConsult
Consult
 

Mehr von นายนันทวัฒน์ เสนาช่วย

การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.4 ม.6
การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.4 ม.6การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.4 ม.6
การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.4 ม.6นายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 
การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.1 ม.3
การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.1 ม.3การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.1 ม.3
การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.1 ม.3นายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรองอินทรวิเชียรฉันท์ ม.4 ม.6
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรองอินทรวิเชียรฉันท์ ม.4 ม.6การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรองอินทรวิเชียรฉันท์ ม.4 ม.6
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรองอินทรวิเชียรฉันท์ ม.4 ม.6นายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรอง กลอนสุภาพ ม.1 ม.3
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรอง กลอนสุภาพ ม.1 ม.3การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรอง กลอนสุภาพ ม.1 ม.3
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรอง กลอนสุภาพ ม.1 ม.3นายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.4 ม.6
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.4 ม.6การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.4 ม.6
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.4 ม.6นายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.1 ม.3
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.1 ม.3การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.1 ม.3
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.1 ม.3นายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 
มาตรฐานการศึกษา ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนดอนตาลวิทยา
มาตรฐานการศึกษา  ปีการศึกษา 2555  โรงเรียนดอนตาลวิทยามาตรฐานการศึกษา  ปีการศึกษา 2555  โรงเรียนดอนตาลวิทยา
มาตรฐานการศึกษา ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนดอนตาลวิทยานายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 

Mehr von นายนันทวัฒน์ เสนาช่วย (20)

It 03
It 03It 03
It 03
 
การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.4 ม.6
การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.4 ม.6การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.4 ม.6
การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.4 ม.6
 
การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.1 ม.3
การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.1 ม.3การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.1 ม.3
การแข่งขันการอ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ม.1 ม.3
 
การแข่งขันการท่องอาขยานทำนองเสนาะ ม.1 ม.3
การแข่งขันการท่องอาขยานทำนองเสนาะ ม.1 ม.3การแข่งขันการท่องอาขยานทำนองเสนาะ ม.1 ม.3
การแข่งขันการท่องอาขยานทำนองเสนาะ ม.1 ม.3
 
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรองอินทรวิเชียรฉันท์ ม.4 ม.6
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรองอินทรวิเชียรฉันท์ ม.4 ม.6การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรองอินทรวิเชียรฉันท์ ม.4 ม.6
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรองอินทรวิเชียรฉันท์ ม.4 ม.6
 
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรอง กลอนสุภาพ ม.1 ม.3
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรอง กลอนสุภาพ ม.1 ม.3การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรอง กลอนสุภาพ ม.1 ม.3
การแข่งขันการแต่งบทร้อยกรอง กลอนสุภาพ ม.1 ม.3
 
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.4 ม.6
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.4 ม.6การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.4 ม.6
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.4 ม.6
 
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.1 ม.3
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.1 ม.3การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.1 ม.3
การแข่งขันการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ม.1 ม.3
 
มาตรฐานการศึกษา ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนดอนตาลวิทยา
มาตรฐานการศึกษา  ปีการศึกษา 2555  โรงเรียนดอนตาลวิทยามาตรฐานการศึกษา  ปีการศึกษา 2555  โรงเรียนดอนตาลวิทยา
มาตรฐานการศึกษา ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนดอนตาลวิทยา
 
7
77
7
 
6
66
6
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1 ปก31102556
1  ปก311025561  ปก31102556
1 ปก31102556
 
40
4040
40
 
2 abs
2 abs2 abs
2 abs
 
คะแนนก่อนเรียน เรื่องการพูดโต้วาที
คะแนนก่อนเรียน เรื่องการพูดโต้วาทีคะแนนก่อนเรียน เรื่องการพูดโต้วาที
คะแนนก่อนเรียน เรื่องการพูดโต้วาที
 
การพูด 303082556 0000
การพูด 303082556 0000การพูด 303082556 0000
การพูด 303082556 0000
 

การพูดอภิปราย

  • 1. ใบความรู้ รายวิชา ท๔๐๑๐๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ หน้า ๑ การอภิปรายเป็นแบบการพูดซึ่งมีลักษณะคล้ายการสนทนา แต่การอภิปรายแตกต่างกับ การสนทนาในลักษณะสาคัญ คือ การอภิปรายมีความมุ่งหมายที่กาหนดไว้ล่วงหน้าแน่นอน เช่น การตัดสินใจหรือการแก้ปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และการอภิปรายอาจนาไปสู่การตัดสินใจหา ข้อตกลงเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ การอภิปรายประกอบด้วย ๑) ผู้พูด ๒) ผู้ฟัง ๓) หัวข้อเรื่อง ๔) สถานที่ แบบของการอภิปราย การอภิปรายมีหลายแบบ แบบที่นิยมกันทั่วไป คือการอภิปรายแบบธรรมดา และการ อภิปรายเป็นคณะ 1.การอภิปรายแบบธรรมดา เป็นการร่วมประชุมของกลุ่มบุคคลซึ่งไม่มากนัก โดยมีผู้ หนึ่งทาหน้าที่ดาเนินการอภิปราย เพื่อปรึกษาหารือหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่อง หนึ่ง โดยผู้เข้าร่วมประชุมคนใดจะอภิปรายก่อนหรือหลังก็ได้ มักใช้กับเรื่องทางวิชาการในชั้น เรียน การประชุมสัมนาหรือการประชุมของสโมสร สมาคมและหน่วยงานต่างๆ 2.การอภิปรายเป็นคณะ เป็นการประชุมให้ความรู้หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในคณะ ผู้อภิปรายซึ่งจัดขึ้นโดยเฉพาะประมาณ ๕ คน และมีผู้หนึ่งทาหน้าที่ดาเนินการอภิปราย ผู้เข้าร่วมประชุมนอกนั้นเป็นผู้ฟัง ผู้อภิปรายแต่ละคนได้รับมอบหมายให้พูดในเวลาต่างๆ กัน เป็นการพูดและซักถามระหว่างคณะผู้อภิปรายเพื่อผู้ฟังต่อหน้าผู้ฟัง แต่ไม่ได้พูดกับผู้ฟังโดยตรง แต่ก็ยังเปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถามผู้อภิปรายคนใดคนหนึ่งได้ในตอนท้าย ความมุ่งหมายของการอภิปราย ๑. เพื่อเสนอปัญหาหรือเรื่องบางอย่าง ๒. ให้คนกลุ่มหนึ่งมาร่วมแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนทรรศนะอย่างมีหลักเกณฑ์และมี เหตุผลตามหลักประชาธิปไตย ๓. ผู้ร่วมอภิปรายเสนอข้อเท็จจริง ข้อเสนอแนะ และแสวงหาข้อแก้ไขที่ดีที่สุด อาจมี ความเห็นสอดคล้องกันหรือโต้แย้งกันก็ได้ ๔. หาข้อยุติของปัญหาหรือเรื่องดังกล่าว ๕. ให้ข้อคิดและเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาต่อไป
  • 2. ใบความรู้ รายวิชา ท๔๐๑๐๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ หน้า ๒ ประเภทของการอภิปราย ๑. การอภิปรายกลุ่ม หมายถึง การอภิปรายที่บุคคลมาร่วมปรึกษาหารือกัน อาจมีจานวน ๕-๑๐ คน หรือมากกว่านี้ก็ได้ ทุกคนมีส่วนในการพูด ผลัดกันพูด ผลัดกันฟัง การอภิปรายแบบ นี้จะไม่มีผู้ฟัง เพราะทุกคนเป็นทั้งผู้พูดและผู้ฟังนั่นเอง ๒. การอภิปรายในที่ประชุม หมายถึง การอภิปรายที่กาหนดวัตถุประสงค์ไว้แน่นอนว่าทุก คนจะมาร่วมประชุมเพื่อแสดงความคิดเห็นสาหรับหัวข้อยุติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การอภิปราย แบบนี้มีประธานในการอภิปราย ทาหน้าที่ควบคุมการดาเนินการอภิปรายให้เป็นไปตามระเบียบ วาระ และหลังจากที่สมาชิกมาร่วมประชุมอภิปรายกัน เสร็จสิ้นจนได้ข้อยุติ ก่อนเสนอข้อยุตินั้น สมาชิกจะต้องลงคะแนนเสียงกันก่อนเพื่อให้แน่ใจว่าเป็นมติของที่ประชุมจริง บางครั้งอาจมีการ คัดเลือกผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ ประมาณ ๓-๕ คน ร่วมอภิปรายเป็นคณะ ส่วนคน ที่เหลือก็เป็นผู้ฟัง และหลังจากได้อภิปรายแล้วจะเปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถามข้อสงสัย เมื่อทุกคน เข้าใจกระจ่างดีแล้วจึงสรุปข้อยุติที่ทุกคนเห็นพ้องต้องกัน ถือเป็นมติของที่ประชุม จากนั้น ประธานก็กล่าวปิดอภิปรายได้ หน้าที่ของผู้ดาเนินการอภิปราย การอภิปรายจะประสบผลสาเร็จมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับผู้ดาเนินการอภิปราย ซึ่ง หน้าที่ของ ผู้ดาเนินการอภิปราย ได้แก่ ๑. กล่าวแนะนาผู้ร่วมอภิปรายให้ผู้ฟังรู้จักอย่างย่อๆ ๒. กล่าวชื่อเรื่องที่จะอภิปรายและกาหนดเวลาการอภิปราย ๓. เชิญผู้อภิปรายพูดให้ทั่วถึงกัน คอยรักษาเวลาการพูดให้อยู่ในกาหนด ๔. เข้าใจเรื่องที่จะอภิปรายอย่างดี ประชุมปรึกษาหารือวางแผนการพูดไว้ล่วงหน้า ๕. ช่วยสรุปการพูดอภิปรายของแต่ละคนและเชื่อมโยงไปยังผู้อภิปรายแต่ละคน ๖. คอยเพิ่มเติมหรือสรุปเรื่องอภิปรายให้ผู้ฟังเข้าใจดียิ่งขึ้น ๗. คอยแจกคาถามของผู้ฟังให้ผู้อภิปราย ข้อควรปฏิบัติของผู้ดาเนินการอภิปราย การอภิปรายจะได้ผลเพียงใดขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ดาเนินการอภิปราย ผู้ดาเนินการอภิปรายควรถือหลักปฏิบัติดังนี้ ๑. ติดตามคาพูดของผู้อภิปรายแต่ละคนอย่างใกล้ชิด โดยบันทึกสาระสาคัญไว้ ๒. กล่าวซ้าหรืออภิปรายประเด็นที่ผู้อภิปรายไว้ไม่ชัดเจน ๓. พยายามให้การอภิปรายดาเนินไปโดยราบรื่น ถ้าหากการอภิปรายมีทีท่าจะชะงักลง ต้องกระตุ้นให้ดาเนินต่อไป ๔. พยายามให้โอกาสแก่ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการอภิปราย ๕. ควบคุมการอภิปรายให้อยู่ในประเด็นที่กาหนด โดยเตือนผู้ที่อภิปรายนอกประเด็น อย่างสุภาพ ๖. กล่าวสรุปการอภิปราย
  • 3. ใบความรู้ รายวิชา ท๔๐๑๐๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ หน้า ๓ หน้าที่ของผู้อภิปราย ๑. เข้าใจเนื้อเรื่องที่จะพูดเป็นอย่างดี เตรียมตัวมาอย่างดี เตรียมความรู้และความคิดเห็น ตามหัวข้อเรื่องให้ละเอียดและทาความเข้าใจให้ชัดเจน ๒. เตรียมอุปกรณ์หรือสื่อต่าง ๆ ที่จะใช้ประกอบการพูดให้พร้อม ๓. ประชุมปรึกษาหารือกับคณะผู้อภิปราย แบ่งหัวข้อตามความถนัดของตน ๔. อภิปรายในประเด็น ปัญหา หรือเรื่องที่ผู้ดาเนินการอภิปรายกาหนดให้ โดยอภิปราย อยู่ในประเด็นปัญหา หรือเรื่องอย่างละเอียดชัดเจน ไม่นอกเรื่อง ๕. รักษาเวลาในการพูดให้เคร่งครัดเสมอและตรงต่อการนัดหมาย ๖. ใช้ภาษาพูดที่กะทัดรัด ชัดเจน ๗. รักษามรรยาทที่ดีในการพูด เช่น กิริยาท่าทาง สีหน้า และการควบคุมอารมณ์ ๘. ผู้อภิปรายควรเปิดโอกาสให้ผู้อื่นพูดบ้าง ไม่พูดมากเสียคนเดียว ๙. เพิ่มเติมเนื้อเรื่องบางตอนหากเห็นว่าผู้อภิปรายยังพูดไม่สมบูรณ์ ๑๐. คารวะผู้ฟัง เมื่อผู้ดาเนินการอภิปรายแนะนาตัวให้ผู้ฟังรู้จัก ข้อควรปฏิบัติของผู้ร่วมอภิปราย ผู้ร่วมอภิปรายควรปฏิบัติดังนี้ ๑. เตรียมตัวที่จะพูดตามหัวข้ออภิปรายไว้ล่วงหน้า โดยศึกษาหาข้อมูลและเตรียม ข้อคิดเห็นในเรื่องที่จะอภิปรายไว้ให้เพียงพอ ๒. พยายามพูดให้อยู่ภายในหัวข้อของการอภิปราย ๓. พยายามฟังและติดตามคาอภิปรายของผู้ร่วมอภิปราย ๔. พยายามพูดให้รวบรัดแต่ได้ใจความสมบูรณ์ ๕. ต้องไม่ขัดจังหวะหรือท้วงติงผู้ที่กาลังอภิปราย ๖. ถึงแม้จะมีความเห็นแย้งกับผู้อื่น ก็ยินดีรับฟังและยอมรับสิทธิในการแสดงความคิดเห็น ของผู้อื่น ๗. แสดงความสนใจในการอภิปราย ๘. พูดให้ผู้ฟังได้ยินทั่วถึง ปัญหาหรือหัวข้อเรื่องที่จะนามาอภิปราย ๑.ไม่ควรเน้นปัญหาที่กว้างเกินไปจนสรุปผลไม่ได้ หรือต้องใช้เวลายาวนาน ๒.ควรเป็นปัญหาที่มีสาระและเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม ๓.ควรเป็นปัญหาที่คนส่วนใหญ่ได้ประสบและเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยๆ ๔.ควรเป็นปัญหาที่สังคมส่วนใหญ่เข้าใจยากหรือเข้าใจไม่ถูกต้อง หลักเกณฑ์การสรุปการอภิปราย ผู้ดาเนินการอภิปรายทาหน้าที่สรุปในตอนท้ายของการอภิปราย ควรปฏิบัติดังนี้ ๑. กล่าวถึงจุดประสงค์ในการอภิปราย ๒. กล่าวถึงประเด็นสาคัญที่มีผู้อภิปราย ๓. กล่าวถึงผลของการอภิปราย
  • 4. ใบความรู้ รายวิชา ท๔๐๑๐๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ หน้า ๔ ๔. สรุปจากข้อเท็จจริงและความคิดเห็นของผู้อภิปรายทุกคน ไม่สรุปตามความคิดเห็น ของตนเอง มารยาทการพูดอภิปราย การพูดอภิปรายเป็นการสื่อสารที่เป็นการแสดงแนวคิดเห็นแลกเปลี่ยนกัน แสดงข้อมูล ข้อเท็จจริง เพื่อแก้ปัญหา หาแนวทางหรือข้อยุติ เป็นสิ่งที่ใช้แทบทุกวงการ ดังนั้นจึงควรมี มารยาทการพูดดังต่อไปนี้ ๑) วางแผนในการพูดให้แน่นอน พูดให้ถูกต้องชัดเจน เสียงดังพอควร ๒) พูดด้วยน้าเสียงหนักแน่น จริงจัง น่าเชื่อถือ ไม่พูดเชิงดูหมิ่นผู้ฟัง ๓) ไม่ต้องโอ้อวดตัวเอง ใช้ท่าทางประกอบการพูดเป็นธรรมชาติ ไม่มากเกินไป ๔) พูดด้วยใบหน้ายิ้มน้อยๆ นั่งหรือยืนตัวตรงสง่าผึ่งผายแต่ไม่วางท่าหยิ่ง ๕) พูดถึงสาเหตุการอภิปราย เพื่อให้เห็นความจาเป็นที่ต้องมีการอภิปรายครั้งนี้ ๖) ทาให้ผู้ฟังเกิดศรัทธาในการพูดอภิปราย โดยเล่าเรื่องประสบการณ์ที่ผ่านมา ๗) เมื่อเห็นผู้ฟังเครียด หรือเบื่อหน่ายในการฟังอาจใส่มุขตลกบ้างเล็กน้อย ๘) พูดให้ผู้ฟังเกิดสานึกถึงหน้าที่ความรับผิดชอบและเกิดความคิดริเริ่มที่ดี ๙) ใช้คาพูดเชิงจูงใจให้เห็นประโยชน์ของการพูดอภิปราย เพื่อการยอมรับและเต็มใจ ปฏิบัติตามเมื่อเกิดเป็นข้อยุติ ๑๐) ใช้ภาษาสุภาพ แต่งกายสุภาพ อาจตอบคาถามโดยยกย่องว่าเป็นคาถามที่ดีก่อน ตอบให้ตรงประเด็น และแสดงความปรารถนาดีต่อผู้ฟังทุกคน ************************************ ศึกษาสาระเพิ่มเติม จาก http://www.human.cmu.ac.th/~thai/sompong/speak_discussion.doc