SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 130
สื่อประกอบการสอน
วิชา พระพุทธศาสนา
เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
ระดับชั้น ม.4
จัดทาโดย
อ.พัชราภรณ์ ภิมุข
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรม
โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
หลักธรรม
ทางพระพุทธศาสนา
หลักอริยสัจ 4
ทุกข์(ธรรมที่ควรรู้)
ขันธ์ 5
สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
นิยาม 5
อกุศลวิตก 3
นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
ภาวนา 4
มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
อุบาสกธรรม 5
วุฒิธรรม 4
พระสัทธรรม 3
พละ 5
หัวข้อหลักธรรมอริยสัจ 4
ทุกข์
(ธรรมที่ควรรู้)
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
รูปขันธ์
นามขันธ์
เวทนา
สัญญา
สังขารวิญญาณ
รูป
ขันธ์ 5
รูปขันธ์ = ร่างกาย
เวทนา =รู้สึก
สัญญา =จาได้หมายรู้
สังขาร =นึกคิด
วิญญาณ = รับรู้
วาโยธาตุ (ลม) ส่วนที่สั่นสะเทือน
ปฐวีธาตุ(ดิน) เนื้อ,หนัง,กระดูก
อาโปธาตุ (น้า) น้าในร่างกาย,เลือด
รูปขันธ์ = ร่างกาย,พฤติกรรม
ทั้งหมดของร่างกาย
เตโชธาตุ (ไฟ) อุณหภูมิ
เวทนา= ความรู้สึกที่เกิดต่อสิ่งที่รับรู้
อุเบกขาเวทนา
สุขเวทนา ทุกขเวทนา
สัญญา =จาได้หมายรู้
จาได้คือ รู้จักสิ่งนั้น ๆ เมื่อไปพบเข้าอีก
หมายรู้ คือ รู้ว่า รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสและอารมณ์ที่เกิดขึ้นนั้นคืออะไร
รส กลิ่น เสียงรูป สัมผัส อารมณ์
สังขาร =นึกคิด
สังขาร คือสิ่งที่ปรุงแต่งจิต หรือสิ่งที่
กระตุ้นผลักดันให้มนุษย์กระทาการ
อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ เรียกว่าแรงจูงใจ
สังขาร = วิญญาณ + เวทนา + สัญญา
หิวจัง..
อยากหม่าเบอร์เกอร์
วิญญาณ = รับรู้
จักขุวิญญาณ
ฆานวิญญาณ
โสตวิญญาณ
กายวิญญาณ
มโนวิญญาณ
ชิวหาวิญาณ
นิยาม 5 อกุศลวิตก
สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
นิยาม หมายถึง กฎธรรมชาติ 5 ประการ
อุตุนิยาม หมายถึง กฎธรรมชาติ
เกี่ยวกับลม ฟ้า อากาศ ฤดูกาล
นิยาม หมายถึง กฎธรรมชาติ 5 ประการ
พีชนิยาม หมายถึง
กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการสืบพันธุ์
นิยาม หมายถึง กฎธรรมชาติ 5 ประการ
จิตตนิยาม หมายถึง
กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการทางานของจิต
นิยาม หมายถึง กฎธรรมชาติ 5 ประการ
ธรรมนิยาม
หมายถึง กฎธรรมชาติเกี่ยวกับ
ความเป็นเหตุเป็นผลของสิ่งทั้งปวง
นิยาม หมายถึง กฎธรรมชาติ 5 ประการ
กรรมนิยาม หมายถึง
กฎธรรมชาติเกี่ยวกับพฤติกรรม
ของมนุษย์
กฎแห่งกรรม
คนหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น
ผู้ทากรรมดี ย่อมได้รับผลดี
ผู้ทากรรมชั่ว ย่อมได้รับผลชั่ว
ความเข้าใจในเรื่องของกรรม
 กรรมและผลของกรรมบางครั้งก็
ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขอย่างอื่น เช่น
กาลเวลา
 ความเป็นไปในชีวิตไม่ว่าจะดี
หรือร้าย ใช่ว่าจะเป็นผลจาก
กรรมเก่าเสียทั้งหมด
ผลของกรรมระดับผลทางสังคม
 การทาความดีจะได้ผลเต็มที่หรือไม่
ในระดับที่เป็นผลทางสังคม ขึ้นอยู่กับ
ว่ามีความพร้อมดังนี้หรือไม่
1. ทาดีถูกที่หรือไม่
ผลของกรรมระดับผลทางสังคม
 การทาความดีจะได้ผลเต็มที่หรือไม่
ในระดับที่เป็นผลทางสังคม ขึ้นอยู่กับ
ว่ามีความพร้อมดังนี้หรือไม่
2. บุคลิกรูปร่างเหมาะสม
หรือไม่
3. ทาดีถูกกาลเวลาหรือไม่
ผลของกรรมระดับผลทางสังคม
 การทาความดีจะได้ผลเต็มที่หรือไม่
ในระดับที่เป็นผลทางสังคม ขึ้นอยู่กับ
ว่ามีความพร้อมดังนี้หรือไม่
ผลของกรรมระดับผลทางสังคม
 การทาความดีจะได้ผลเต็มที่หรือไม่
ในระดับที่เป็นผลทางสังคม ขึ้นอยู่กับ
ว่ามีความพร้อมดังนี้หรือไม่
4. ทาดีเต็มที่หรือไม่
ตามหลักจูฬกัมมวิภังคสูตร
ได้กาหนดสิ่งที่เป็นผลของกรรมเก่าไว้คือ
 ความประณีตสวยงามหรือไม่
สวยงามของรูปร่างที่มีมาโดย
กาเนิด
 การเกิดในตระกูลสูงหรือต่า
 ความร่ารวยหรือยากจน
 ความสามารถทางสติปัญญา หรือ
ความโง่เขลาที่มีมาแต่กาเนิด
 ความสมบูรณ์หรือความอ่อนแอ
ของร่างกาย
 ความยืดยาวหรือสั้นของอายุ
คุณค่าทางจริยธรรมของนิยาม 5
ทาให้มองชีวิตประกอบด้วยเหตุปัจจัยที่หลากหลาย กฎแห่ง
กรกรมและกฎธรรมชาติ
ทาให้เป็นคนใจกว้าง ไม่มองชีวิตเป็นเรื่องคับแคบ สามารถ
แก้ไขปัญหาได้ตรงจุด
ทาให้มองเห็นว่าชีวิตเป็นกระบวนการทางธรรมชาติ เป็นไป
ตามเหตุและปัจจัย
ทาให้เข้าใจว่ากรรมนิยามหรือกฎแห่งกรรม เป็นกฎที่มีผล่ต่อ
มนุษย์มากที่สุด
อกุศลวิตก 3
อกุศลวิตก 3
คือ ความนึกคิดที่ไม่ดี
 กามวิตก คือ ความนึกคิดที่ประกอบด้วยความโลภ
 พยาบาทวิตก คือ ความนึกคิดที่ประกอบด้วยความอาฆาต
พยาบาท
 วิหิงสาวิตก คือ ความนึกคิดที่ประกอบด้วยการเบียดเบียน
มุ่งร้าย
วิตก คือ การคิด การใคร่ครวญ
อกุศลวิตก 3 คือ ความนึกคิดที่ไม่ดีกุศลวิตก คือ ความนึกคิดที่ดีงาม
1. กามวิตก คือความนึกคิด
ที่ประกอบด้วยความโลภ
2. พยาบาทวิตก คือความนึกคิด
ที่ประกอบด้วยความอาฆาตพยาบาท
3. วิหิงสาวิตก คือ ความนึกคิด
ที่ประกอบด้วยการเบียดเบียนมุ่งร้าย
1. เนกขัมมวิตก
คือ ความนึกคิดที่ไม่ยึดติดเกี่ยวกับอะไร
2. อพยาบาทวิตก
คือ ความคิดที่ประกอบด้วยเมตตา
3. อวิหิงสาวิตก คือ
ความนึกคิดที่ไม่คิดร้ายผู้อื่น
นิยาม 5 อกุศลวิตก
สมุทัย
พิจารณาให้เห็นโทษ
เพื่อลด
ละ บรรเทา
กาจัด
นิโรธ
(ธรรมที่ควรบรรลุ)
ภาวนา 4
ภาวนา 4
ภาวนา 4 หมายถึง การทาให้มี
ขึ้น การทาให้เกิดขึ้น การ
เจริญ หรือ การพัฒนาตน มี 4
ประการ ได้แก่
ภาวนา 4
1. กายภาวนา หรือ กายสังวร
หมายถึง การฝึกอบรมทางกาย
ตา
จมูก
ลิ้น
กาย
หู
กายเมื่อถูกฝึกแล้ว
ภาวนา 4
ภาวนา 4
2. สีลภาวนา
หมายถึง การฝึกอบรมตน
ให้มีความประพฤติที่ตั้งอยู่ในระเบียบวินัย
ไม่สร้างความเดือดร้อน
ภาวนา 4
3. จิตตภาวนา
หมายถึง การฝึกอบรมทางจิตใจให้เข้มแข็ง
มั่นคงเจริญงอกงาม
ภาวนา 4
จิตตภาวนา
สังคหวัตถุ 4
ทาน
ปิยวาจา
อัตถจริยา
สมานัตตา
ภาวนา 4
จิตตภาวนา
อิทธิบาท 4
ฉันทะ
วิริยะ
จิตตะ
วิมังสา
จิตที่ฝึกแล้วสามารถประสบความสาเร็จได้
โดยปฏิบัติตามหลักอิทธิบาท 4
ภาวนา 4
4. ปัญญาภาวนา
หมายถึง การฝึกอบรมปัญญา
ให้รู้เข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง
คุณค่าทางจริยธรรมของภาวนา 4
 มนุษย์สามารถพัฒนาตนเอง เมื่อรู้จักพัฒนาตนเองจะเป็น
เครื่องวัดความเป็นมนุษย์หรือจาแนกคนและสัตว์ออกจากกัน
 การพัฒนาคนให้เป็นคนดี มีความรู้ความสามารถ จะต้องกระทา
ครบทั้ง 4 ด้าน คือ กาย ศีล จิต(สมาธิ) ปัญญา
 การพัฒนาที่ถูกต้อง ต้องดาเนินตามขั้นตอนของภาวนาทั้ง 4 ให้
ครบถ้วน
พระสัทธรรม 3
อุบาสกธรรม 5 พละ 5
วุฒิธรรม 4
มรรค
(ธรรมที่ควรเจริญ)
สัทธรรม 3
สัทธรรม 3 คือ ธรรมที่ดี หรือธรรมของคนดี
• 1. ปริยัติธรรม คือ การศึกษาเรียนรู้หลักธรรมคาสอนของ
พระพุทธเจ้าให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง
• 2. ปฏิบัติสัทธรรม คือ การนาหลักธรรมคาสอนที่ได้ศึกษาไปลง
มือปฏิบัติ_(มรรค 8) ถือว่าสาคัญมาก
• 3. ปฏิเวธสัทธรรม คือ การได้รับผลจากการปฏิบัติได้แก่
ความสาเร็จ ความสุข ความสงบใจ
ความสัมพันธ์ ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ
ปริยัติ
ปฏิบัติ
ปฏิเวธ
การศึกษาแผนที่ วิธีการเดินทาง
การเดินทาง
ถึงจุดหมายปลายทาง
วุฒิธรรม 4
วุฒิธรรม 4
วุฒิธรรม 4 คือ คุณธรรมหรือหลักการที่ก่อให้เกิดความเจริญงอกงามหรือ
หลักธรรมที่สนับสนุนให้มีปัญญา 4 ประการ
• สัปปุริสสังเสวะ คือ การคบหาสัตบุรุษหรือคนดี
• สัทธัมมัสสวนะ คือ การฟังสัทธรรม หรือ เอาใจใส่ศึกษาความรู้
จริง
• โยนิโสมนสิการ คือ การคิดหาเหตุผลโดยถูกวิธี
• ธัมมานุธัมมปฏิบัติ คือ การปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
คุณค่าของวุฒิธรรม 4
• หลักปัญญาวุฒิธรรมเป็นหลักธรรมสนับสนุนให้มีปัญญา
• สามารถนาหลักธรรมนี้พัฒนาชีวิตทั้งชีวิตได้ทุกแง่ทุกมุม
สรุปวุฒิธรรมเพื่อให้จาได้ง่าย คือ
• คบคนดีที่เป็นปราชญ์
• ฉลาดรู้จักฟังคาของท่าน
• วิจารณ์วิจัยด้วยปัญญา
• น้อมนามาปฏิบัติให้สมภูมิ
พละ 5
 ธรรมอันเป็นกาลัง หรือธรรมอันเป็นพลังทาให้เกิดความมั่นคง
 ทาให้ดาเนินชีวิตด้วยความมั่นใจ ไม่หวั่นไหวต่อภัยหรือ
อุปสรรคต่าง ๆ
 เพื่อเป็นแนวทางสู่การบรรลุอริยมรรคอริยผลโดยตรง
พละ 5 คือ ธรรมอันเป็นกาลัง
 สัทธา คือ ความเชื่อที่มีปัญญาหรือเหตุผลเป็นพื้นฐาน
 วิริยะ คือ ความเพียรในสิ่งที่ถูกต้อง
 สติ คือ ความระลึกได้หรือความเป็นผู้มีสติอยู่ตลอดเวลา
 สมาธิ คือ ความตั้งมั่นแห่งจิต หรือการควบคุมจิตให้สงบนิ่งไม่ฟุ้ง่่าน
 ปัญญา คือ ความรอบรู้ ่ึ่งมี บ่อเกิดอยู่3 ทาง ได้แก่ สุตมยปัญญา
จินตมยปัญญา ภาวนามยปัญญา
คุณค่าของจริยธรรมของพละ 5
 พละ 5 จะต้องปฏิบัติให้ได้สมดุลกันเสมอ คือ
สัทธา ต้องพอดีกับ ปัญญา
 วิริยะ ต้องพอดีกับ สมาธิ
 สติ ควบคุมทั้ง สัทธา วิริยะ สมาธิ และปัญญา
คนมีศรัทธา แต่ขาดปัญญา จะกลายเป็นคนงมงาย เชื่อคนง่าย
คนมีปัญญา แต่ขาดศรัทธา จะกลายเป็นคนหัวดื้อ
คนมีวิริยะ แต่ขาดสมาธิ จะกลายเป็นคนเหนื่อยเปล่า หรือฟุ้ง่่าน
คนมีสมาธิ แต่ขาดวิระยะ จะกลายเป็นคนเกียจคร้านติดอยู่ในสุขที่เกิดจากสมาธิ
อุบาสกธรรม 5
อุบาสกธรรม 5
 มีศรัทธา คือ มีความเชื่อปัญญาการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า และ
คาสอน
 มีศีล คือ รักษากาย วาจาให้เรียบร้อย
 ไม่ถือเอามงคลตื่นข่าว คือ ไม่เชื่อข่าวลืออย่างไร้เหตุผลแต่ให้
เชื่อให้หลักของกรรม
 ไม่แสวงหาเขตบุญนอกหลักพระพุทธศาสนา คือ ยึดมั่นในการ
ทาบุญตามหลักพระพุทธศาสนา คือ บุญกิริยาวัตถุ 10
 ขวนขวายในการอุปภัมภ์บารุงพระพุทธศาสนา คือ มีส่วนร่วม
ในศาสนพิธีบูรณปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน อุปภัมภ์ภิกษุ
บุญกิริยาวัตถุ 10
 การบริจาคทาน
 รักษาศีล
 การเจริญภาวนา
 อ่อนน้อมถ่อมตน
 ช่วยเหลือกิจการของผู้อื่น
 การให้ส่วนบุญ
 การอนุโมทนาส่วนบุญ
 การฟังธรรม
 การแสดงธรรม
 การนาความคิดเห็นของตนให้ถูกต้องตามทานองคลองธรรม
พระสัทธรรม 3
อุบาสกธรรม 5 พละ 5
วุฒิธรรม 4
มรรค
(ธรรมที่ควรเจริญ)
มงคล 38
• สงเคราะห์บุตร
• สงเคราะห์ภรรยา
• ความสันโดษ
อภิชาตบุตร
มงคล 38 การสงเคราะห์บุตร
มีคุณธรรม
ตั้งอยู่ในศีล
มีคุณสมบัติอื่นๆ
ดีกว่าพ่อแม่
สร้างชื่อเสียง
ให้แก่วงค์ตระกูล
เรน ได้รับคัดเลือก
ให้เป็นตัวแทน
รณรงค์ต่อต้าน
การค้ามนุษย์
มงคล 38 การสงเคราะห์บุตร
อนุชาตบุตร
เท่าเทียมกับพ่อแม่
ศีล
ธรรม
คุณสมบัติ
มงคล 38 การสงเคราะห์บุตร
อวชาตบุตร
ด้อยกว่ากับพ่อแม่
ไม่มีศีล
ไม่มีธรรม
คุณสมบัติ
มงคล 38 การสงเคราะห์บุตร
ปัจจัยในการสงเคราะห์บุตร
สงเคราะห์ด้วย
อามิส
สงเคราะห์ด้วย
ธรรม
อาหาร
เครื่องนุ่งห่ม
ยารักษาโรค
เอาใจใส่
ความเข้าใจ
ความอบอุ่น
ความรักสั่งสอนที่อยู่อาศัย
หลักการในการสงเคราะห์บุตร
เมตตา
กรุณา
มุทิตา
อุเบกขา
ความรัก
ความปราถนาดี
ความยินดี
เมื่อบุตรอยู่ดีมีสุข
ความสงสาร
คิดช่วยให้ลูกพ้น
จากความทุกข์
ความวางใจ
เป็นกลาง
พรหมวิหาร 4
หลักการในการสงเคราะห์บุตร
ห้ามทาความชั่ว
ให้ดารงตนอยู่ในความดี
ให้ศึกษาศิลปวิทยา
หาคู่ครองที่สมควรให้
มอบทรัพย์สมบัติ
ให้ตามโอกาสอันควร
ทิศ 6
มงคล 38 การสงเคราะห์ภรรยา
• หลักในการเลือกคู่ครอง มีหลักเกณฑ์ 4 ประการ
เรียกว่า
หลักสมชีวิตาธรรม 4 ได้แก่
สมสัทธา คือ มีศรัทธาเสมอเหมือนกัน
สมสีลา คือ มีศีลธรรมเสมอเหมือนกัน
สมจาคา คือ มีความเสียสละเสมอ
เหมือนกัน
สมปัญญา คือ มีความรู้และปัญญา
มงคล 38 การสงเคราะห์ภรรยา
หลักธรรมในการครองเรือน 4 ประการ
สัจจะ ความ่ื่อสัตย์จริงใจต่อ
กัน
ทมะ รู้จักข่มจิตใจ
ขันติ อดทน อดกลั้น
จาคะ เสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว
มงคล 38 การสงเคราะห์ภรรยา
หลักธรรมทิศ 6 สามี-ภรรยาพึงปฏิบัติต่อกัน
สามีที่ดีควรปฏิบัติต่อภรรยา 5
ประการ
ยกย่องให้เกียรติ
ไม่ดูกหมิ่นภรรยา
ไม่นอกใจภรรยา
มอบความเป็นใหญ่ในบ้านให้
หาเครื่องประดับมามอบให้ตาม
โอกาส อันควร
มงคล 38 การสงเคราะห์ภรรยา
ภรรยาที่ดี
ควรปฏิบัติต่อสามี 5ประการ
คือ
จัดการงานภายในบ้านให้ดี
สงเคราะห์ญาติมิตรของสามี
ไม่นอกใจสามี
รักษาทรัพย์สมบัติที่สามีหามา
ขยันในงานกิจการงานทั้งปวง
มงคล 38 ความสันโดษ
สันโดษที่สอนพระภิกษุ คือ
ความมักน้อย รู้จักพอใจในปัจจัย 4
สันโดษที่สอนบุคคลธรรมดา
จีวร
บิณฑบาต
เสนาสนะ
เภสัช
ยินดีในสิ่งที่ตนมี
ตามกาลังความสามารถ
ยินดีในสิ่งที่ตนทา
มงคล 38 ความสันโดษ
มงคล 38 ความสันโดษ
• ความสันโดษตามหลัก
พระพุทธศาสนามี 3 ประเภท
ได้แก่
ยถาลาภสันโดษ คือ ความยินดี
ตามที่ได้
ยถาพลสันโดษ คือ ความยินดี
ตามกาลังที่มีอยู่
ยถาสารุปปสันโดษ คือ ความ
ยินดีตามสมควร
คุณค่าของสันโดษ
• สอนให้รู้จักพอ
• สอนให้รู้จักประมาณตน
• สอนให้ไม่ละโมบโลภมาก
• ลดความเห็นแก่ตัว
• คนที่มีสันโดษจึงเป็นคนที่สงบสุข
• คนในสังคมมีความสามัคคีปองดองกัน
มงคล 38 ความสันโดษ
แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อให้สันโดษ
ได้แก่
รู้จักวิเคราะห์ตนเอง
ฝึกฝนตนเองให้มีสติและมีเหตุผล
ควบคุมพฤติกรรมของตน
สรุป สันโดษ
สันโดษ
รู้จักตนเอง
ต้องมีฉันทะ(พอใจ)
ความหมาย
ที่แท้จริง
ไม่ใช่
ความเกียจคร้าน
ขาดความกระตือรือร้นปลีกตัวออกจากสังคม
กรุณาเลือกคาถาม
 คาถามข้อที่ 1 คาถามข้อที่ 11  คาถามข้อที่ 21
 คาถามข้อที่ 2  คาถามข้อที่ 12  คาถามข้อที่ 22
 คาถามข้อที่ 3  คาถามข้อที่ 13  คาถามข้อที่ 23
 คาถามข้อที่ 4  คาถามข้อที่ 14  คาถามข้อที่ 24
 คาถามข้อที่ 5  คาถามข้อที่ 15  คาถามข้อที่ 25
 คาถามข้อที่ 6  คาถามข้อที่ 16  คาถามข้อที่ 26
 คาถามข้อที่ 7  คาถามข้อที่ 17  คาถามข้อที่ 27
 คาถามข้อที่ 8  คาถามข้อที่ 18  คาถามข้อที่ 28
 คาถามข้อที่ 9  คาถามข้อที่ 19  คาถามข้อที่ 29
 คาถามข้อที่ 10 คาถามข้อที่ 20  คาถามข้อที่ 30
จบการนาเสนอแล้ว
แต่เดี๋ยว...
..วันนี้คุณทาความดีหรือ
ยังค่ะ.....
1.พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในความหมาย
ของพุทธคือข้อใด
ก. พระปัจเจกพุทธ
ข. พระพุทธาพุทธะ
ค. พระอนุพุทธะ
ง. พระสัพพัญญพุทธะ
ก. การสั่งสอนธรรม
ข การมีพุทธบริษัท
ค. การตรัสรู้ด้วยตนเอง
ง. การก่อตั้งพระศาสนา
2. คุณค่าของพุทธะที่แสดงออกมาใน
รูปของโลกัตถจริยา คือข้ดใด
ก. พระพุทธทาสภิกขุ
ข. พระเทพมุนี
ค. พระพุทธเจ้า
ง. พระอัญญาโกทัญญะ
3. ข้อใดจัดเป็นอนุพุทธะ
ก. ทุกข์ ธรรมที่ควรรู้
ข. นิโรธ ธรรมที่ควร
บรรลุ
ค. สมุทัย ธรรมที่ควร
ระลึก
ง. มรรค ธรรมที่ควรเจริญ
.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอริยสัจ 4
ก. สัญญา จาได้
ข. สังขาร ร่างกาย
ค. วิญญาณ รับรู้
ง. เวทนา ความรู้สึก
5.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. อุบาสกธรรม 5
ข. วุฒิธรรม 5
ค. พละ 5
ง. สัทธรรม
6. สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ
ปัญญา ตรงกับหลักธรรมในข้อใด
ก. สมาธิ
ข. สติ
ค. ปัญญา
ง. วิริยะ
7.สานวนไทยที่กล่าวว่า
เผอเรอกระเชอก้นรั่ว ตรงกับข้อใด
ก. สมสีลา
ข. สมจาคา
ค. สมปัญญา
ง. สมสัทธา
8. สามีภรรยาคู่นี้มีความเหมาะสมกันมาก
ชอบให้ทานช่วยเหลือผู้อื่นเหมือนกัน
ข้อความดังกล่าวกสอดคล้องกันข้อใด
ก. สัจจะ
ข. ทมะ
ค. ขันติ
ง. จาคะ
9. โชคดี ไม่ยอมไปกับเพื่อนๆที่ชวน
ไปดื่มเหล้าเพราะนึกถึงภรรยาและลูกๆ
รออยู่ที่บ้าน การกระทาของโชคดี
สอดคล้องกับหลักธรรมในข้อใด
ก. อดเปรี้ยวไว้กินหวาน
ข. ช้าๆ ได้พร้าเล่มงาม
ค. เกลือจิ้มเกลือ
ง. หว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผล
เช่นนั้น
10. ข้อใดมีความหมายสอดคล้องกับ
กรรมนิยาม
ก. ยถาลาภสันโดษ
ข. ยถาพลสันโดษ
ค. ยถาสารุปปสันโดษ
ง. สันโดษ
11. รงรอง ยินดีกับผลงานของตนเอง
ซึ่งได้รางวัลรองชนะเลศแสดงว่า รงรอง
มีพฤติกรรมสอดคล้องกับข้อใด
ก. พละ 5
ข. ภาวนา 4
ค. วุฒิธรรม 4
ง. อุบาสกธรรม
12. ข้อใด หมายถึงหลักธรรมที่ทาให้
ผู้ปฏิบัติประสบกับความเจริญงอกงาม
ก. สมสีลา
ข. สมจาคา
ค. สมปัญญา
ง. สมสัทธา
13. สามีและภรรยาที่มีความประพฤติ
เหมือนๆ กันจะครองชีวิตคู่อยู่ได้นาน
แสดงว่าทั้งคู่มีความเหมาะสมในเรื่องใด
ก. ปริยัติ
ข. ปฏิบัติ
ค. ปฏิเวธ
ง. ปฏิรูป
14. แมนสรวง รู้สึกโล่งอก
หายเหนื่อย และมีความสุขที่สามารถ
เข้าเรียนในคณะที่ตนเองต้องการ
ก. ทุกข์
ข. นิโรธ
ค. มรรค
ง. สมุทัย
15.ภาวนา 4 เป็นหลักธรรมที่จัด
อยู่ในอริยสัจ 4 ข้อใด
16.ถ้านักเรียนต้องการให้ตนมีความ
ขยันและอดทนในการศึกษาเล่าเรียน
ต้องฝึกอบรมภาวนาข้อใด
ก. กายภาวนา
ข. สีลภาวนา
ค. จิตตภาวนา
ง. ภาวนา
17.ความนึกคิดที่ประกอบด้วยการเบียด
เบียนมุ่งร้าย ตรงกับข้อใด
ก. อกุศลวิตก
ข. กามวิตก
ค. พยาบาทวิตก
ง. วิสิงสาวิตก
ก. กายสังวร
ข. สีลภาวนา
ค. จิตตภาวนา
ง. ปัญญาภาวนา
18.การฝึกอบรมให้ตั้งอยู่ในระเบียบ
วินัย ไม่เบียดเบียนผู้อื่นตรงกับ
หลักธรรมในข้อใด
ก. ปริยัติ
ข. ปฏิบัติ
ค. ปฏิเวธ
ค. ปฏิรูป
19. ในการเดินทางไปท่องเที่ยว
แผนที่เปรียบเสมือนกับข้อใด
ก. พละ 5
ข. สัทธรรม
ค. วุฒิธรรม
ง. ภาวนา
20.ธรรมที่ก่อให้เกิดความเจริญงอกงาม
แก่ผู้ปฏิบัติตรงกับหลักธรรมในข้อใด
21.การไม่ถือมงคลตื่นข่าว
และไม่แสวงหาเขตบุญนอกหลัก
พระพุทธศษสนา สอดคล้องกับ
หลักธรรมในข้อใด
ก. อุบาสกธรรม
ข. พละ 5
ค. สัทธรรม
ง. ภาวนา
ก. อภิชาตบุตร
ข. อนุชาตบุตร
ค. อวชาตบุตร
ง. นวชาตบุตร
22.นาเดีย เป็นลูกที่มีคุณธรรม มีศีล
มีคุณสมบัติเทียบเท่ากับพ่อแม่
จัดเป็นบุตรประเภทใด
ก. การคิดหาเหตุผลโดยถูกวิธี
ข. การปฏิบัติธรรมสมควรแก่
ธรรม
ค. การคบหาสัตบุรุษหรือคนดี
ง. การเอาใจใส่ศึกษาหาความรู้
23. โยนิโสมนสิการมีความหมายตรง
กับข้อใด
ก. เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
ข. เมตตา สัจจะ วิริยะ สติ
ค. ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา
ง. สัทธา ศีล จาคะ ปัญญา
24. ข้อใดจัดเป็นหลักธรรม
พรหมวิหาร 4
ก. วิหิงสาวิตก
ข. พยายามวิตก
ค. กามวิตก
ง. วิตกจริต
25. พรหล้า คิดแต่จะขโมยของ
แพนเค้ก พฤติกรรมของ
พรหล้าจัดเป็นวิตกในข้อใด
ก. เอมมี่ ตั้งใจอ่านหนังสือทุกวัน
ข. เจนนี่ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ของ
โรงเรียน
ค. นาธาน ตั้งใจทางานที่ได้รับ
มอบหมายด้วยความสุขุม
รอบคอบ
ง. นาเดีย ออกกาลังกายทุกวัน
26. การกระทาในข้อใดจัดเป็น
ปัญญาภาวนา
ก. อุบาสกธรรม3
ข. พละ 5
ค. สัทธรรม 3
ง. ขันธ์ 5
27. ข้อใดไม่จัดอยู่ในหลักอริยสัจ
ในหมวด มรรค
ก. พละ 5
ข. สัทธรรม
ค. วุฒิธรรม
ง. ภาวนา
28. ข้อใดเป็นความหมายของธรรม
อันเป็นพลังทาให้เกิดความมั่นคง
ก. อภิชาตบุตร
ข. อนุชาตบุตร
ค. อวชาตบุตร
ง. นวชาตบุตร
29. นารี เป็นนักเรียนทุน ที่มีความ
ประพฤติดีและได้รับทุนจนถึงระดับ
ปริญญาเอก แล้วกลับมาทาให้กับ
ประเทศชาติ นารีจัดเป็นบุตร
ประเภทใด
ก. ภรรยาที่ประพฤติตนเยี่ยงโจร
ข. ภรรยาที่ประพฤติตนเยี่ยงนาย
ค. ภรรยาที่ประพฤติตนเยี่ยงเพื่อน
ง. ภรรยาที่ประพฤติตนเยี่ยงทาส
30. สขีภริยา มีความหมายตรงกับข้อใด

ถ้าทาถูกเดี๋ยวมีรางวัล
จ๊ะ

ตั้งใจทาใหม่อีกครั้ง
ครับ
สู้..สู้

ลองใหม่ค่ะ.. ลองใหม่..
คราวนี้อย่าให้พลาดนะค่ะ.

อะไรนะครับ..อ๋อ.คุณรู้ว่าทายัง
ไม่ถูกใช่ไหมครับ..
ผิดค่ะ

ผิดนะค่ะ

ผิดครับผม...

ยังไม่ถูกครับ

ผมเอาใจช่วยครับ
ตั้งใจหน่อย เดี๋ยวก็ต้องทา
ถูก
ขอโทษ...จ๊ะเฮวอน
ผมจะตั้งใจทาครับ
คราวนี้ใม่พลาด....

คุณยังทาไม่ถูก
นะมินวู

เอ..ยังไม่ถูก
ตั้งใจ..อีกครั้งครับ

พยายามเข้า คุณต้อง
ทา ได้แน่..แน่ค่ะ

ตั้งใจทาหน่อยครับ

ผิด..เห็น.. เห็น..
ครับ

ลองอีกที คราวนี้
ต้องตั้งใจให้มากนะ
ค่ะ

ถูกต้องนะครับ

ผมรู้ว่าคุณเก่ง...
เจ๋งสุด สุดครับ

ชนะเลิศ...ถ้วยนี้เป็นของ
คุณ

คุณเก่งมากครับ
เยี่ยมจริงๆ

ถูกต้องครับผม
ถูกต้อง...นะ
ครับ
ถูก..ถู..

เยี่ยมไปเลย......
ทาข้อต่อไปเลย
นะค่ะ

ถูกต้องนะค่ะ...เก่งม๊าก มาก

พี่ชายว่า..
ถูกต้อง..ครับ
ผม..

ถูกต้อง
ครับ

ถูกต้องครับ

ถูกต้องครับ

ถูกต้องครับ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
Chavalit Deeudomwongsa
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
New Nan
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
primpatcha
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
Suriyawaranya Asatthasonthi
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
Anchalee BuddhaBucha
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
akke1881
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
ทศพล พรหมภักดี
 

Was ist angesagt? (20)

แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
ชุดการสอน
ชุดการสอนชุดการสอน
ชุดการสอน
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 

Andere mochten auch

หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
kruudompcccr
 
Organization theory
Organization theoryOrganization theory
Organization theory
sarativat
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
Napakan Srionlar
 

Andere mochten auch (13)

หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
089วิเคราะห์หลักธรรม
089วิเคราะห์หลักธรรม089วิเคราะห์หลักธรรม
089วิเคราะห์หลักธรรม
 
Organization theory
Organization theoryOrganization theory
Organization theory
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิต
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
 
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงานยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
 
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4page
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4pageใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4page
ใบความรู้ เบญจศีล เบญจธรรม ป.3+449+dltvp3+54soc p03f 35-4page
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 

Ähnlich wie 074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
New Nan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
blcdhamma
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
hadradchai7515
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
hadradchai
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
Oppo Optioniez
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
Yota Bhikkhu
 

Ähnlich wie 074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (20)

หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Education_Research.pdf
Education_Research.pdfEducation_Research.pdf
Education_Research.pdf
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 

Mehr von niralai

Mehr von niralai (20)

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 

074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา