SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 55
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สมาชิกกลุม 8
1.   น.ส. เมธยา      แสงทินกร         5305000072
2.   น.ส. วีณา      กําหนดศรี         5305000073
3.   น.ส. สุพรรณี   มงคลเอี่ยม        5305000074
4.   น.ส. สุดาพร    กุตะนันท         5305000068
5.   นาย นพรัตน    ศิรินรกุล         5305000052
6.   นาย ชวิศ       รุจิชาญศิริ       5305000075
7.   นาย วรวุฒิ     คํางาม            5304300710
8.   นาย ปญญา      เย็นบํารุง        5305000129
สวนประสมผลิตภัณฑ (Product mix) หรือ
ความหลากหลายของผลิตภัณฑ (Product assortment)
     หมายถึง กลุมของผลิตภัณฑทั้งหมดที่บริษัท
เสนอขาย (Etzel, Walker and Stanton.2004:236)
ซึ่งประกอบดวย

1.สายผลิตภัณฑ (Product line)
2.รายการผลิตภัณฑ (Product item)
1.สายผลิตภัณฑ (Product line)
หมายถึง กลุมของผลิตภัณฑที่มีความสัมพันธกันอยางใกลชิด
ในแงของการนํามาใชรวมกัน(สุรา โซดา น้ําอัดลม)
การทําหนาที่ที่คลายกัน (ครีม บํารุงผิวกาย ครีมบํารุงมือ แปรงสีฟน)


            2.รายการผลิตภัณฑ (Product item)

หนวยที่แตกตางกันภายในตราสินคาหรือภายในสายผลิตภัณฑ
ในแงของขนาด ราคา รูปแบบ หรือคุณสมบัติอื่นๆ อยางใดอยางหนึ่ง
การตัดสินใจในสวนประสมผลิตภัณฑ (Product – mix decisions)
    บริษัทจะตองพิจารณาทั้งดานความกวาง ความลึก ความยาว และความสอดคลองกันของสวน
                            ประสมผลิตภัณฑโดยมีรายละเอียดดังนี้
                              แสดงสวนประสมของบริษัทเนสทเล
                                ความกวาง = 4 สาย
นมพาสเจอรไรส                               เครื่องดื่ม
1.รสจืด              นมเปรี้ยว               1.น้ําสม
                     1.รสสม                                   เครื่องปรุงรสอาหาร
2.พรองมันเนย                                2.น้ํากาแฟ        1.ซอสปรุงรส
3.รสช็อคโกแลต        2.รสบลูเบอรรี่         3.ชาดําเย็น
                     3.รสผลไมรวม                              2.ซอสพริก
4.รสหวาน                                     4.น้ําแร         3.ซอยหอยนางรม
5.รสสตรอเบอรรี่     4.รสราสเบอรรี่         5.น้ําผึ้ง

ความลึก = 5 แบบ     ความลึก = 4 แบบ       ความลึก = 5 แบบ        ความลึก = 3 แบบ

                              ความยาว = 17 แบบ
1. ความกวางของสวนประสมผลิตภัณฑ (product width)
 หมายถึง จํานวนของสายผลิตภัณฑทั้งหมดที่บริษัทใดบริษัทหนึ่งมีไว
เพื่อขายใหแกผูซื้อ เชน ผลิตภัณฑของดัชมิลล มีผลิตภัณฑไวจําหนาย
    สี่สายคือ โยเกิรต ทูโทน นมเปรี้ยว นมปรุงแตงพลาสเจอรไรส
    จึงเรียกวาบริษัทนี้มีความกวางของสวนประสมผลิตภัณฑเทากับ 3
       2. ความลึกของสวนประสมผลิตภัณฑ (product line depth)
       หมายถึง จํานวนผลิตภัณฑ ที่มีอยูในสายผลิตภัณฑแตละสาย
                 เชน สี ขนาด รูปแบบหรือคุณสมบัติอื่น ๆ
                ตัวอยาง สาบผลิตภัณฑนมเปรี้ยวของดัชมิลล
                     มีรายการผลิตภัณฑอยู 3 รายการ
นั่นคือ นมเปรี้ยวรสสม รสผลไมรวม ซึ่งผลิตภัณฑนี้มีความลึกเทากับ 3
3. ความยาวของสวนประสมผลิตภัณฑ (product line length)
หมายถึง จํานวนผลิตภัณฑทั้งหมดของบริษัทที่มีเสนอขายใหกับลูกคา
     เกิดจากการรวมตัวกันของความลึกของแตละสายผลิตภัณฑ
        ตัวอยาง ดัชมิลล มีผลิตภัณฑไว จําหนาย 14 รายการ
 จึงเรียกวาบริษัทนี้มีความยาวของสวนประสมผลิตภัณฑเทากับ 14


4. ความสอดคลองของสวนประสมผลิตภัณฑ (product consistency)
หมายถึง ความสัมพันธระหวางสายผลิตภัณฑในดานการใชขั้นสุดทาย
      การผลิต การจัดจําหนาย หรือลักษณะของสินคาดาน อื่นๆ
 เชน ผลิตภัณฑของดัชมิลลจะมีความสอดคลองเนื่องจากเปนผลิตภัณฑ
      ทีมีกรรมวิธีการผลิตที่ใกลเคียงกัน มีกลุมเปาหมายเดียวกัน
        ่
                และใชชองทางการจัดจําหนายเดียวกัน
กลยุทธสวนประสมผลิตภัณฑ มีดังนี้
     1.การขยายสวนประสมผลิตภัณฑ
         (Expansion of product mix)
เปนการเพิ่มจํานวนสายผลิตภัณฑและ เพิ่มความลึก
ภายในสายผลิตภัณฑ จากสวนประสมผลิตภัณฑ
เดิมที่มีอยูซึ่งสายผลิตภัณฑใหมที่เพิ่มขึ้น
อาจจะเกี่ยวของหรือไมเกี่ยวของกับสายผลิตภัณฑเดิม
ตัวอยางเชน หางสรรพสินคาจะทําธุรกิจ
หางสรรพสินคาโดยขายสินคาเองแลว ยังให
ผูประกอบการรายยอย เชนพื้นที่เพื่อขายสินคา
 อาหาร บริการตางๆ
2.การลดสวนประสมผลิตภัณฑ (Contraction of product mix)
   หมายถึง การตัดสายผลิตภัณฑทั้งสายหรือตัดรายการผลิตภัณฑ
   ภายในแตละสายผลิตภัณฑที่ขาดทุนหรือมีกําไรต่ําเพื่อลดตนทุน
                    และคาใชจายที่เพิ่มขึ้น

 3.การเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑที่มีอยู (Alteration of existing product)
หมายถึง การพัฒนาผลิตภัณฑใหมทั้งหมด และปรับปรุงผลิตภัณฑเกาให
    ทันสมัยขึ้น โดยการเพิ่มผลิตภัณฑหรือออกแบบผลิตภัณฑใหม หรือ
      เปลี่ยนแปลงรูปแบบบรรจุภัณฑใหม ตัวอยางเชน แปงตรางู
4.การขยายสูตลาดสวนบนและสวนลาง (Trading up and trading down)

              4.1 การขยายสูตลาดสวนบน (Trading up)
           หมายถึง การเพิ่มที่มีคุณภาพดีขึ้นในราคาสูงขึ้นเขาไป
          ในสายผลิตภัณฑเดิมโดยมีตลาดเปาหมายที่สูงขึ้น



              4.2 การขายสูตลาดสวนลาง (Trading down)
  หมายถึง การเพิ่มผลิตภัณฑที่มีคุณภาพต่ํากวาเดิมในราคาต่ํากวาเดิม
     เขาไปในสายผลิตภัณฑเดิมโดยมีเปาหมายที่ตลาดระดับลาง
เปนการบริหารผลิตภัณฑในแตละสายและหาวิธีที่ดี
ที่สุดที่จะบริการลูกคาเพื่อการแขงขันอยางมีประสิทธิภาพ
ในตลาด โดยมีประเด็นที่ตองพิจารณาดังตอไปนี้
1.ความยาวของสายผลิตภัณฑ (Product Line Length)
ควรมีความยาวหรือความลึกที่เหมาะสม เพื่อใหเกิดกําไร
สูงสุด ทั้งนี้ตองพิจารณาวาการเพิ่มหรือลดรายการ
ผลิตภัณฑนั้นจะตองทําใหกําไรเพิ่มขึ้น
ซึ่งบริษัทสามารถขยายความยาวของสายผลิตภัณฑได2วิธี
    1.1การตัดสินใจขยายสายผลิตภัณฑ
         (Line – stretching decision)
    1.2การตัดสินใจเพิ่มเติมในสายผลิตภัณฑ
         (Line filling decision)
1.1การตัดสินใจขยายสายผลิตภัณฑ (Line – stretching decision)
เปนการขยายความยาวของสายผลิตภัณฑของบริษัทใหเหมาะสมการตัดสินใจ
ขยายสายผลิตภัณฑ มี 3 แบบ คือ
1.การขยายจากบนลงลาง (Downward stretch)
เปนการเพิ่มรายการผลิตภัณฑที่มีราคาต่ํากวาเขาไปในสายผลิตภัณฑเดิมที่มี
ราคาสูงและคุณภาพดี
2.การขยายจากลางขึ้นบน (Upward stretch)
เปนการเพิ่มรายการผลิตภัณฑที่มีราคาสูงกวาและคุณภาพดีกวาเขาไปในสาย
ผลิตภัณฑเดิมที่มีราคาต่ํากวา
3.การขยายแบบสองทาง (Two-way stretch) บริษัทที่มีสายผลิตภัณฑอยูในชวง
ตนกลางของตลาดอาจจะตัดสินใจขยายสายผลิตภัณฑไดทั้ง 2 ทิศทาง คือทั้ง
ดานผลิตภัณฑระดับสูงและระดับต่ํา เพื่อความเจริญเติบโตของยอดขายและ
ความเปนผูนําในตลาด
2.การตัดสินใจปรับปรุงสายผลิตภัณฑใหทันสมัย
        (Line modernization decision)
หมายถึง การพัฒนารายการผลิตภัณฑในสายผลิตภัณฑใหทันสมัย
 และสอดคลองกับความตองการที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา
ซึ่งอาจจะเปนการปรับปรุงรายการผลิตภัณฑบางสาย หรือปรับปรุง
ทั้งสายผลิตภัณฑ
3. การตัดสินใจลักษณะดานสายผลิตภัณฑ (Line featuring decision)
หมายถึง การเลือกลักษณะรายการผลิตภัณฑหนึ่งรายการหรือหลายรายการ
ในการผลิตภัณฑ ในการจําหนายผลิตภัณฑผ็บริหารอาจเลือกลักษณะ
ผลิตภัณฑที่มีเปาหมายที่ตลาดระดับลาง เพื่อจูงใจใหมาซื้อสินคาแลว
มีผลทําใหสินคาระดับสูงขายได
4. การตัดสินใจตัดรายการผลิตภัณฑในสายผลิตภัณฑ
                     (Line pruning decision)
เปนการลด ตัดหรือยกเลิกรายการผลิตภัณฑบางรายการในสาย
ผลิตภัณฑ เนื่องจาก

(1) ผลิตภัณฑรายการนั้นทํากําไรลดลง หรือขาดทุน

(2) บริษัทขาดกําลังการผลิต ทําใหไมสามารถผลิตสินคา
     ทุกรายการได
ตราสินคา
หมายถึง ชื่อ (Name) คํา (Term)
สัญลักษณ (Symbol)
การออกแบบ (Design) หรือสวนประสมของสิ่ง
ดังกลาวเพื่อระบุถึงสินคาและบริการของผูขายที่
แตกตางจากผูแขงขัน
1.การตัดสินใจตั้งตราสินคาหรือไม

ความนิยมในการตั้งตราสินคาเปนที่แพรหลายมากในปจจุบัน เนื่องจาก
การตั้งตราสินคานัเนถือเปนการรับประกันวาบสริษัทเปนผูผลิตละ
สินคามีมาตรฐาน และสรางความเชื่อถือวาสินคาของผูผลิตมีความ
ดีเดนแตกตางจากสินคาของผูผลิตรายอื่น
การกําหนดตราสมินคาจะมีความเสี่ยงอยางมากสําหรับบริษัทที่ไม
สามารถเปนผูผลิตสินคาไดมาตราฐาน เนื่องจากถาสินคาคุณภาพไมดี
เทาที่ควรจะทําใหตราสินคาของบริษัทเสียชื่อ สงผลใหผลิตภัณฑขาย
ไมออก ดังนั้นบริษัทประเภทนี้จึงไมควสรมีตราสินคาของตนเอง
ผลิตภัณฑบางชนิดที่บริษัทตางๆ ผลิตไดเหมือนกันโดยไมแตกตางกัน
เลย ทั้งดานคุณภาพ ลักษณะ แลสะจิตวิทยา เชน เกลือ หมู ขาว ตรา
สินคาจะไมมีความหมายเมาใดนัก เนื่องจากตราสินคาไมสามารถบอก
ความแตกตางดาน ความคิดและอารมณ
การตัดใจสินคาตั้งตราสินคาจะพิจารณาถึงประโยชนที่ไดรับจาก
ตราสินคา ดังนี้

     1.ผูผลิตสินคาการใชตราสินคาเพื่อใหความสะดวกแกผูซื้อใน
     การเรียกซื้อหรือติดตามซื้อผลิตภัรฑ

     2.ผูผลิตตองการใชเครื่องหมายการคาเพื่อการคุมครองทาง
     กฎหมาย เชน ปองกันการเลียนแบบสินคา

     3.ผูผลิตใชตราสินคาเพื่อแสดงลักษณะเฉพาะตัวของผลิตภัณฑ
     และสงเสริมการจําหนายผลิตภัณฑ
2.การตัดสินใจในเจาของตราสินคา


คือการตัดสินใจวาจะใชตราสินคาของใครซึ่งมีทางเลือก 3 ทาง คือ
อาจจะใชตราสินคาของผูผลิต คนกลาง หรือผูใหสิทธิ์ ดังนี้
     2.1 ตราสินคาของผูผลิต (Manufacturer brand)
ผูผลิตจะเปนผูกําหนดตราสินคาทั้งหมดของผูผลิต
ในกรณีเปนบริษัทขนาดใหญ ฐานะทางการเงินดี
 มีบริการที่ดี มีสายผลิตภัณฑหลายสาย มีระบบการจัดการจําหนายที่ดี
และมีสวนครองตลาดมาก
 เพื่อเปนเอกลักษณของผลิตภัณฑของบริษัท
 เชน Acer ,FBT ,Toyota เปนตน
2.2 ตราสินคาของคนกลาง (Middlemen brand) เปนกลยุทธที่ผูผลิต
ใชตราสินคาสําหรับผลิตภัณฑบางสวน หรือทั้งหมดโดยใชชื่อของ
คนกลาง เพราะสามารถเพิ่มยอดขายและกําไรไดรวดเร็ว และ
ประหยัดคาใชจายในการสงเสริมการจัดจําหนาย หรือเปนตราสินคา
ที่พอคาคนกลางตั้งขึ้นเอง โดยซื้อสินคาจากผูผลิตและมาใชตรา
สินคาของตนเอง เชน Tesco Lotus


2.3 ตราสินคาของผูใหสิทธิ์ เปนการใชตราสินคาของผูผลิตเริ่มแรกที่
ใหสิทธิ์ทางการคา หรืออาจอยูในรูปของการใหสิทธทางการคา
(Franchising) เชน McDonald’s, 7-eleven เปนต
3.การตัดสินใจเลือกประเภทของตราสินคา

แบงออกเปน 4 ประเภท คือ
3.1 การใชตราเฉพาะ (Individual Names) เปนการตั้งตราสินคาให
แตกตางกันสําหรับสินคาแตละชนิด ขอดีของการใชเฉพาะคือ ถา
สินคารายการใดรายการหนึ่งมียอดขายตกต่ํา หรือประสบความ
ลมเหลวจะไมมีผลกระทบกับสินคารายอื่น
3.2 การใชตรารวมสําหรับทุกผลิตภัณฑ (Blanket family name for
all products หรือ Family brand) เปนการตั้งตราสินคาเดียวสําหรับ
ผลิตภัณฑทุกชนิดของบริษัท ขอดีของการใชตรารวมสําหรับทุก
ผลิตภัณฑ คือ ถาตรารวมนั้นมีชื่อเสียงดี ก็เปนการงายที่จะทําให
สินคาทั้งหมดประสบความสําเร็จ
3.3 การใชตรารวมสําหรับผลิตภัณฑแตละกลุม (Separate family names)
 เปนการตั้งตราสินคาแบบหลายตราโดยแบงตามสายผลิตภัณฑ
หรือกลุมผลิตภัณฑ เหมาะกับบริษัทที่ผลิตหรือขายผลิตภัณฑ
หลายชนิดที่แตกตางกัน




 3.4การใชชื่อบริษัทรวมกับชื่อเฉพาะ (Company-individual names)
 การตั้งตราสินคาแบบนี้ เนื่องจากบริษัทตองการแสดงความสัมพันธ
           ระหวางชื่อบริษัทและชื่อของแตละผลิตภัณฑ
4.การตัดสินใจเลือกกลยุทธตราสินคา

4.1 การขยายผลิตภัณฑ (Lone extensions) เปนการนําเสนอรายการ
ผลิตภัณฑเพิ่มเติมเขาไปในผลินตภัณฑชนิดเดิม โดยใชชื่อตราสินคาเดิม
เชอ เพิ่มแบบ สี สวนผสม กลิ่น ฯลฯ
4.2 การขยาตราสินคา (Brand extensions) เปนการเพิ่มผลิตภัณฑชนิด
ใหม หรือเพิ่มสายผลิตภัณฑใหม โดยใชชทอตราสินคาเดิม ตัวอยางเชน
โดฟขยายตราสินคา โดยเพิ่มสายผลิตภัณฑใหม จากสบูเปนโฟมลางหนา
 ครีมอาบน้ํา แชมพู และครีมนวด โดยใชชื่อตราสินคาเดิม
4.3 กลยุทธหลายตราสินคา (Multibrands) เปนการตั้งตราสินคาใหมห
ฝายตราสินคาสําหรับสินคาชนิดเดิม การใชกลยุทธหลายตราสินคา
จะตางกับการใชกลยุทธตราเฉพาะ ตรงที่ตราเฉพาะจะมีตราสินคาหลาย
ตราสําหรับสินคาแตละชนิด แตกลยุทธหลายตราสินคาจะใชสําหรับ
สินคาชนิดเดียวกัน
4.4 ตราคาใหม (New brands) การที่บริษัทนําเสนอผลิตภัณฑใหม
โดยใชชื่อตราสินคาใหม


4.5ตราสินคาควบคู (Co brands หรือ Dual branding) เปนการใช
ตราสินคาที่มีชื่อเสียง 2 ตราขึ้นไปรวมกับในการนําเสนอขายผลิตภัณฑ
โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางความแข็งแกรงใหกับตราสินคาใหม
5.การตัดสินใจกําหนดตําแหนงตราสินคาใหม

เปนการเปลี่ยนแปลงตําแหนงผลิตภัณฑเดิมใหเปนตําแหนงผลิตภัณฑ
 ใหม แนวคิดสําคัญที่ใชตัดสินใจวาควรจะกําหนดตําแหนงตราสินคา
                         ใหมหรือไม มีดังนี้

1.ถาคูแขงไดกําหนดตําแหนงตราสินคาในตําแหนงเดียวกับตราสินคา
            ของบริษัท เปนเหตุใหสวนครองตลาดถูกแบงได


2.ถาความตองการและความพึงพอใจของลูกคาเปลี่ยนแปลง ก็ควรจะ
   ปรับปรุงตําแหนงตราสินคาของบริษัทใหเปลี่ยนแปลงตามดวย
ปายฉลาก เปนสวนหนึ่งของสินคาหรือบรรจุ
ภัณฑที่ใหขอมูลเกี่ยวกับสินคาหรือผูขายปาย
ฉลากอาจแบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ
1.ปายแสดงตราสินคา คือ ตราสินคาที่ติดกับตัว
สินคาหรือบรรจุภัณฑของสินคา เชน ปายลี
วายส ปายไนกี้ ปายกุชชี่ เปนตน
2.ปายแสดงคุณภาพ ปายฉลากตองสงเสริม
ผลิตภัณฑโดยใหรายละเอียดที่สําคัญสําหรับลูกคา
และแสดงคุณภาพของสินคาดวยอักษร จํานวน หรือ
คุณภาพ เชน นมยูเอชที คันทรี่เฟรช ระบุไววา
แคลเซียมสูง ไขมันต่ํา
3.ปายแสดงรายละเอียดสินคา เปนปายที่แสดงถึงขอมูลเกี่ยวกับการใช
การทํางาน การเก็บรักษา หรือลักษณะอื่น ๆ ของสินคา เชน ปายฉลาก
บรรจุภัณฑประเภทซีเรียลของไมโล ที่ระบุถึงขอมูลทางโภชนาการ
สวนประกอบ ผูผลิต ปริมาณ ราคา สัญลักษณ อ.ย. วันผลิต วัน
หมดอายุ เปนตน
กลยุทธปายฉลาก มีดังนี้

(1) ขอความตองแสดงใหเห็นเดนชัด กะทัดรัด และเขาใจงาย เพราะ
    สินคาอยูบนชั้นวางสินคาจะขายตัวมันเอง

(2) ใหรายละเอียดที่สําคัญสําหรับลูกคาครบถวน

(3) ขอมูลที่ปรากฏในปายฉลากตองเปนขอเท็จจริงและสามารถพิสูจน
   ได

(4) ถามีเครื่องหมายรับประกันคุณภาพสินคาจากกระทรวง
   อุตสาหกรรมหรือหนวยงานที่เกี่ยวของควรนํามาพิมพในปายฉลาก
    เพื่อสรางความนาเชื่อถือในตัวสินคาใหกับลูกคา
การบรรจุภัณฑ หมายถึง กิจกรรมในการออกแบบและ
ผลิตภาชนะบรรจุหรือสิ่งหอหุมผลิตภัณฑประเด็นที่
เกี่ยวของกับการตัดสินใจในการบรรจุภัณฑมีดังนี้
1.ลักษณะของบรรจุภัณฑ มี 3 ลักษณะคือ
   1.1บรรจุภัณฑขั้นแรก หมายถึง สิ่งที่หอหุมตัวสินคา
ที่อยูในขั้นสุดทาย โดยทําหนาที่รักษาและปองกัน
สินคามิใหเสียหาย
   1.2บรรจุภัณฑขั้นที่สอง หมายถึง สิ่งที่หอหุมการ
บรรจุภัณฑขั้นแรก เพื่อทําหนาที่รักษาและปองกัน
สินคามิใหเสียหาย
   1.3บรรจุภัณฑเพื่อการขนสง หมายถึง การบรรจุ
ภัณฑโดยมีวัตถุประสงคเพื่อทําหนาที่ในการเก็บรักษา
และขนสงสินคา เชน กลองหรือลัง คอนเทนเนอร เปน
ตน
2.ประโยชนทางการตลาดของบรรจุภัณฑ บรรจุภัณฑมีหนาที่สนับสนุน
กิจกรรมทางการตลาด ดังนี้
    2.1 เพื่อการติดตอสื่อสารไปยังผูบริโภค กลาวคือ เปนการนําขอมูล
ขาวสารกับตัวสินคาไปยังผูบริโภค โดยระบุถึงตราสินคา วัตถุดิบที่ใช
ผลิต น้ําหนัก วิธีการเก็บรักษา การออกแบบสีสัน รูปราง เปนตน
    2.2เพื่อใชในการวางแผนพัฒนาผลิตภัณฑใหม เปนการปรับปรุง
ผลิตภัณฑใหม โดยออกแบบบรรจุภัณฑในรูปแบบที่แตกตางกันออกไป
    2.3 เพื่อสรางภาพลักษณของตราสินคาและบริษัท
เชน น้ําดื่ม ของตราบริษัท เนสทเล และ ที่ใชชื่อเดียวกับบริษัท
2.4 จูงใจผูบริโภคที่ร่ํารวย คือ ผูบริโภคกลุมนี้พรอมที่จะจายมาก
ขึ้นสําหรับบรรจุภัณฑที่มีความสะดวก เชื่อถือได และสรางความ
ภาคภูมิใจใหกับผูบริโภค
2.5 โอกาสดานวัฒกรรม คือ บรรจุภัณฑนวัฒกรรมจะสราง
ประโยชนอยางมากใหกับผูบริโภค และสรางกําไรใหกับผูผลิตดวย
เชน ขวดของ ครีมทาผิวสามารถตั้งราคาไดสูงขึ้นเพราะผูบริโภคจะ
ไดรับสะดวกมากยิ่งขึ้น
2.6 การบรรจุภัณฑจะชวยขายตัวเองโดยเฉพาะการขายในรูปแบบ
ใหลูกคาบริการตัวเองเพราะบรรจุภัณฑที่เดนชัดจะดึงดูดลูกคาให
สนใจเลือกซื้อในผลิตภัณฑนั้นมากยิ่งขึ้น
3.กลยุทธของการบรรจุภัณฑ ธุรกิจไดนําการบรรจุภัณฑมาปรับปรุงได
ดังนี้
       3.1 การเปลี่ยนแปลงบรรจุภัณฑ เปนการพัฒนาหรือปรับปรุง
รูปแบบใหดีขึ้น หรือทันสมัยมากขึ้น นิยมใชในกรณียอดขายลดลง หรือ
ตองการขยายตลาดสูตลาดววนใหม เชน ผงซักฟอกเปา มีการปรับจาก
กลองกระดาษมาเปนถุงพลาสติกที่มีรูปแบบที่ทันสมัยขึ้น
3.2 การบรรจุภณฑเพื่อการนํากลับมาใช
      เปนกลยุทธการสงเสริมการขายโดยออกแบบบรรจุภัณฑที่สามารถ
นํามาใชประโยชนไดภายหลังจากที่ใชสินคาหมดแลว เชน ขวดกาแฟ
หรือกลองคุกกี้ สามารถนํามาเปนภาชนะเก็บอาหารในครัวได เปนตนฯ
3.3 บรรจุภัณฑรวม เปนกลยุทธการสงเสริมการขาย โดยนําสินคา
หลายชิ้นหรือหลายชนิดมาใสในบรรจุภณฑรวมกัน เพื่อกระตุนใหเกิด
การซื้อเพิ่มมากขึ้นและทําใหยอดขายเพิ่มเร็ดขึ้น วิธีมักใชรวมกับการ
ลดราคา เชน เจลลี่หลายรสขายรวมหอกัน ฯ
3.4 การบรรจุภัณฑสําหรับผลิตภัณฑ เปนการพิจารณาการออบแบบ
  บรรจุภัณฑทุกชนิดในสายผลิตภัณฑเดียวกันวาควรจะเหมือนกันหรือ
  ใชเปนเอกลักษณ ซึ่งกรณีนี้จะใชการบรรจุภัณฑคลายกัน เชน
  ผลิตภัณฑ Garnier ไดใชสีบรรจุภัณฑที่แตกตางจกความตองการของ
  ผูบริโภค คือ สีเหลือง สําหรับลูกคาผิวขาว สีฟา สําหรับลูกคาเพื่อผิว
  ที่สะอาด และสีแดง สําหรับลูกคา ตองการลดริ้วรอย
3.5 การบรรจุภัณฑเพื่อปญหาสิ่งแวดลอมโดยใชหลัก 7R ดังนี้

1. การบรรจุภัณฑที่สามารถหมุนเวียนแปรสภาพใหม
2. การบรรจุภัณฑชนิดเติม
3. การบรรจุภัณฑเพื่อใชซ้ํา
4. การบรรจุภัณฑที่ลดขนาดลง
5. การไมใชบรรจุภัณฑที่เกิดมลภาวะ
6. การบรรจุภัณฑที่ยังสามารถซอมแซมแกไขได
7. การบรรจุภัณฑที่ผูบริโภคนําไปใชไดประโยชนกลับคืนมา
4. หลักการบรรจุภัณฑ
    บรรจุภัณฑเปนสิ่งแรกที่ทําใหผูบริโภคเกิดการรับรูและเกิดความ
สนใจ บรรจุภัณฑสามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับลูกคาและบริษัทได การ
บรรจุภัณฑที่ดีจะชวยใหเกิดความสะดวกตอการใชและลูกคาเกิดความ
พอใจมากขึ้น
การบรรจุภัณฑนั้นตองคํานึงถึงปจจัยตอไปนี้
1.บรรจุภัณฑนั้นมีความสะดวกตอการใชงานหรือไม
2.บรรจุภัณฑนั้นทําใหสินคาเมื่อวางบนชั้นแลวไดเปรียบ (เดน)หรือไม
3.บรรจุภัณฑนั้นสายงามถูกใจผูใชหรือไม
4.บรรจุภัณฑนั้นสามารถเชิญชวนใหใชไดหรือไม
5.บรรจุภัณฑนั้นทําใหสินคาเมื่อนํามาใชแลวเก็บสะดวกหรือไม
6.บรรจุภัณฑนั้นสามารถสะทอนตําแหนงครองใจของสินคาไดหรือไม
7.บรรจุภัณฑนั้นสามารถสะทอนบุคลิกภาพของสินคาไดหรือไม
8. บรรจุภัณฑนั้นสามารถปกปองสินคาไดหรือไม
9. บรรจุภัณฑนั้นเหมาะสมที่จะบรรจุสินคาหรือไม
10. บรรจุภัณฑที่เลือกนั้นสามาถทํากําไรไดมากขึ้น
12. บรรจุภัณฑนั้นสามารถบอกถึงวิธีการใชสินคาไดหรือไม
13.บรรจุภัณฑนั้นสามารถดูแลรักษาสิ่งแวดลอมไดหรือไม
บริการ (Service) เปนกิจกรรม ผลประโยชน
หรือความพึงพอใจที่สามารถตอบสนองความตองการ
ของลูกคาได เชน โรงเรียน โรงพยาบาล
โรงแรม ธนาคาร เปนตน
ลักษณะของการบริการที่แตกตางจากผลิตภัณฑ มีดังนี้
1. ไมสามารถจับตองได หมายความวา ผูบริโภคไม
สามารถรูสึกมองเห็น ไดยิน ลิ้มรส หรือไดกลิ่นทําใหไมสามารถทดลองใช
ผลิตภัณฑกอนที่จะทําการซื้อ โดยโปรแกรมการสงเสริมการตลาดควร
ชี้ใหเห็นถึงประโยชนที่จะไดรับจากบริการอยางชัดเจนมากกวาที่จะ
เนนตัวบริการเทานั้น ซึ่งมีวิธีตางๆ ดังนี้
    1.1 การทําใหเห็นภาพ = นักการตลาดตองพยายามทําใหผูบริโภค
มองเห็นประโยชนที่จะไดรับจากการใชบริการ
    1.2 การเชื่อโยง = เปนความพยายามที่จะเชื่อมโยงบริการไปยังสินคาที่
จับตองได บุคคล สิ่งของหรือสถานที่
    1.3 การแสดงดวยลักษณะทางกายภาพ = เชน บัตรอเมริกัน
เอ็กเพรส ใชบัตรสีทองและสีเงินเพื่อบงบอกถึงความร่ํารวย
    1.4 การใชเอกสาร สามารถใชได 2 วิธี คือ ผลการดําเนินงานโดยอดีต
และศักยภาพในอนาคต
2. ความไมสามารถแบงแยกได หมายความวา การผลิตและการบริโภค
เกิดขึ้นในขณะเดียวกัน ในประเด็นนี้จะตรงขามกับการผลิตสินคาซึ่งเริ่ม
จากการนําวัตถุดิบมาผลิต แลวนําไปเก็บไวในคลังสินคาและหลังจากที่
ผูบริโภคตัดสินใจซื้อจึงเกิดการบริโภค

3. ความไมแนนอน กลาวคือ คุณภาพในการใหบริการจะผันแปรไปตาม
ผูใหบริการและขึ้นอยูกับวาใหบริการเมื่อไหร ที่ไหน และอยางไร

4. ความไมสามารถเก็บไวได บริการเปนสิ่งที่ไมสามารถเก็บไวในโกดัง
หรือคลังสินคาเมื่อบริการเกิดขึ้นนักการตลาดจะไมสามารถเก็บไวเพื่อ
ขายหรือใชในภายหลังได
การบริหาร
ธุรกิจบริการ
1
                           2
       8
                                   3

   7
                               4
           6
                   5



แสดงการบริหารธุรกิจแบบประสมประสาน 8 ประการ
1. สวนประกอบของผลิตภัณฑ (Product elements)
หมายถึง ทุกสวนประกอบของการใหบริการที่สามารถสรางคุณคากับลูกคา
ไดแก ลักษณะที่เปนผลิตภัณฑหลัก (Core product) และบริการเสริม
(Supplementary service) ซึ่งแสดงถึงผลประโยชนที่ลูกคาตองการและเปน
การสรางขอไดเปรียบ ทางการแขงขัน ตอบสนองความพึงพอใจของลูกคา
เรื่องบริการนั้นจะตองเนนที่ประโยชนหลักที่จะไดรับจากผลิตภัณฑหลัก
และตองพิจารณาถึงประโยชนเพิ่มเติมที่จะไดรับจากผลิตภัณฑเสริมดวย
            2. กระบวนการ (Process) เปนวิธีการดําเนินการหรือการปฏิบัติ
(Operations) เกี่ยวของกับขั้นตอนที่จําเปนของการใหบริการ กลาวคือ การ
สรางและการสงมอบผลิตภัณฑใหกับลูกคาจะตองอาศัยการออกแบบและ
ปฏิบัติตามกระบวนการที่มีประสิทธิผล ในกระบวน การจะอธิบายลักษณะ
และขั้นตอนในระบบการปฏิบัติงานทางดานบริการ โดยกระบวนการใน
การบริการประกอบดวย
2.1 กระบวนการใหบริการโดยบุคคล
                        (People processing services)
  เปนบริการที่เกี่ยวของกับเวลาและการเคลื่อนไหวของพนักงาน เชน
      ขั้นตอนการเสิรฟอาหารและเครื่องดื่มบนเครื่องบิน เปนตน

               2.2 กระบวนการใหบริการเพื่อใหลูกคาไดรับบริการ
                     (Possession processing services)
เปนขั้นตอนการปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการทําใหลูกคาไดเปนเจาของบริการ
         นั้น เชน ระบบการจองตั๋ว ระบบการจัดคิวตาง ๆ เปนตน
2.3 กระบวนการจัดสิ่งกระตุนทางดานความคิด
               (Mental stimulus processing services)
 เปนการปฏิบัติการโดยมุงใหเกิดทัศนคติที่ดีในจิตใจของลูกคา เชน การ
            อธิบายถึงผลประโยชนที่ลูกคาจะไดรับจากการ
                            ใชบัตรเครดิต
             2.4 กระบวนการใหบริการขอมูลสารสนเทศ
                 (Information processing services)
 เปนการใหบริการทางดานขอมูลกับลูกคา เชน การใหคําแนะนําหรือการ
ใหขอมูลโดยการสาธิตในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉินแกผูโดยสารขณะอยูบน
                              เครื่องบิน
3. การจัดจําหนาย (Place) พื้นที่ในเว็บไซต (Cyberspace)
     และเวลาที่ใหบริการ (Time)
เปนการตัดสินใจวาจะสงมองบริการใหกับลูกคาเมื่อใด
 (ควรใชเวลาเทาใดในการสงมอบบริการ)
 ที่ไหน (การตัดสินใจดานชองทางการจัดจําหนาย)
และอยางไร [การตัดสินใจวาจะใชชองทางจัดจําหนาย (Distribution)
ทางดานกายภาพ และ ทางดานอิเล็กทรอนิกส]
ซึ่งการตัดสินใจทั้งหมดนี้ขึ้นอยูกับลักษณะของธุรกิจบริการ
การใหบริการขาวสารผานอินเทอรเน็ตจะใชฐานขอมูลที่สง
มอบผานพื้นที่ในเว็บไซต ในคอมพิวเตอรหรือโทรศัพทชวยอํานวยความ
สะดวก ใหลูกคา โดยไมคํานึงถึงสถานที่และเวลา ธุรกิจสามารถสงมอบ
บริการไปยังลูกคาโดยตรง การใหบริการและการติดตอกับลูกคา ตอง
คํานึงถึงความคาดหวังของลูกคา ในดานความรวดเร็ว และความสะดวก
เปนตัวกําหนดที่สําคัญในการกําหนดกลยุทธการสงมอบบริการใหกับ
ผูบริโภค
4. การเพิ่มผลผลิต (Productivity) และคุณภาพ (Quality) ดังนี้
             4.1 การเพิ่มผลผลิต (Productivity)
เปนวิธีการใชปจจัยนําเขา ในการให บริการ เพื่อแปรสภาพเปนผลผลิต
และสรางมูลคาเพิ่มใหกับลูกคา ดังนั้นผลผลิตก็คือ
 ประสิทธิผลของผูใหบริการ กลาวคือ เปนผลประโยชนที่สงมอบให
กับลูกคา ปจจัยนํา เขาก็คือ ปจจัยการผลิตที่ผูใหบริการใช ซึ่งเปนตนทุน
ของผูใหบริการ โดยจะนํามาเปนแนวทางในการตั้งราคา ถือเปน
ตนทุนของลูกคา จะตองใหลูกคาเกิดความรูสึกวาไดรับความประหยัด
หรือประสิทธิภาพ ดังสมการ
ปริมาณและคุณภาพของผลผลิต (Quantity and quality of output)
1. การเพิ่มผลผลิตของบริการ             =
                                         ปริมาณและคุณภาพของปจจัยนําเขา (Quantity and quality of input)
2. การเพิ่มผลผลิต (Productivity)       = ผลผลิต (Outputs) หรือประสิทธิผล (Effectiveness)
                                         ปจจัยนําเขา (Inputs) หรือความประหยัดหรือประสิทธิภาพ (Efficiency)
3. การเพิ่มผลผลิต (Productivity)       = ผลผลิต (Outputs) (ผลประโยชนที่มอบใหกับลูกคา)
     (เพิ่มคุณคาสุทธิใหกับลูกคา          ปจจัยนําเขา (Inputs) (ตนทุนของลูกคา)
                                               คุณคาผลิตภัณฑรวมในสายตาลูกคา – ตนทุนรวมของลูกคา
4. คุณคาผลิตภัณฑที่สงมอบใหกับลูกคาสุทธิ =       (Total customer value) – (Total customer cost)
      (Customer delivered net value)
4.2 คุณภาพ (Quality) เปนระดับบริการที่สามารถ
ตอบสนองความจําเปน ความตอง การและความคาดหวังของลูกคาได
ซึ่งคุณภาพการใหบริการจะตองพิจารณาดานตาง ๆ ดังนี้
(1) ความเชื่อถือได (Reliability) เปนความสามารถใหบริการตามที่
สัญญาไวอยางมีคุณภาพและถูกตองแมนยํา
(2) การตอบสนองอยางรวดเร็ว (Responsiveness) เปนความเต็มใจที่จะ
ชวยเหลือและใหบริการแกลูกคาอยางกระตือรือรน
(3) ความมั่นใจได (Assurance) เปนการแสดงถึงความรูและมนุษย
สัมพันธของผูใหบริการที่ทําใหผูใช มีความเชื่อมั่นในบริการที่ไดรับ
(4) ความเห็นใจ (การเขาถึงจิตใจ) (Empathy) เปนการดูแลเอาใจใส
และใหความสนใจที่ผูใหบริการมีตอผูใชบริการ
(5) ลักษณะทางกายภาพ (Tangibles) เปนลักษณะที่ปรากฏใหเห็นหรือ
สิ่งที่สามารถจับตองได เชน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ อาคารสถานที่
บุคคล เปนตน
5. การสงเสริมการตลาดและการใหความรูกับลูกคา
                  (Promotion and education)
   เปนกิจกรรมการสื่อสารและการออกแบบสิ่งจูงใจเพื่อสราง
 ความพึงพอใจกับลูกคาสําหรับการใหบริการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

                     6. พนักงาน (People)
         พนักงานผูใหบริการเปนปจจัยแหงความสําเร็จ
พนักงานสามารถสรางการรับรูเกี่ยวกับคุณภาพใหบริการใหกับลูกคา
    กลาวคือ ลูกคามักจะพิจารณาถึงคุณภาพการใหบริการจาก
 การประเมินสิ่งที่เขารับรูในบริการที่ไดรับ ดังนั้นธุรกิจใหบริการ
    ที่ประสบความสําเร็จจะตองใชความพยายามอยางมากใน
        การวางแผนดานกําลังคน การสรรหา การคัดเลือก
 การฝกอบรมและพัฒนา และการจูงใจพนักงานที่เกี่ยวของทั้งหมด
7. ราคาและคาใชจายอื่น ๆ ของผูใชบริการ
                        (Price and other user outlays)
เปนคาใชจายในรูปของ เงิน เวลา และความพยายามที่เกิดขึ้นในการซื้อ
และใชบริการของลูกคา

                 8. การสรางและนําเสนอลักษณะทางกายภาพ
                           (Physical evidence)

เปนสิ่งจูงใจที่สามารถมองเห็นไดซึ่งนําไปสู คุณภาพในการใหบริการ
Ppt Marketing g 8

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์Piyanuch Plaon
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการJirathorn Buenglee
 
BDC412 ชาตรามือ
BDC412 ชาตรามือBDC412 ชาตรามือ
BDC412 ชาตรามือcinmmt
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketinghalato
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1krupornpana55
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลาtumetr1
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดNattakorn Sunkdon
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวkhanida
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราชตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราชNattakorn Sunkdon
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาSuwanan Nonsrikham
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1Sarawut Messi Single
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะม่วง
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะม่วงข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะม่วง
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะม่วงPostharvest Technology Innovation Center
 

Was ist angesagt? (20)

ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการ
 
BDC412 ชาตรามือ
BDC412 ชาตรามือBDC412 ชาตรามือ
BDC412 ชาตรามือ
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
 
Marketing & consumer behavior overview
Marketing & consumer behavior overviewMarketing & consumer behavior overview
Marketing & consumer behavior overview
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
ดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือ
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราชตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะม่วง
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะม่วงข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะม่วง
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะม่วง
 

Andere mochten auch

ความแตกต่าง make vs. brand vs. trademark vs. logo vs. patent vs. copyright
ความแตกต่าง make vs. brand vs. trademark vs. logo vs. patent vs. copyrightความแตกต่าง make vs. brand vs. trademark vs. logo vs. patent vs. copyright
ความแตกต่าง make vs. brand vs. trademark vs. logo vs. patent vs. copyrightAj Muu
 
9fms pp10
9fms pp109fms pp10
9fms pp10壮壮
 
Product mix and PriceStrategies
Product mix and PriceStrategiesProduct mix and PriceStrategies
Product mix and PriceStrategiesChill Ochawin
 
MBA Integrated Brand Project: Cracker Jack
MBA Integrated Brand Project: Cracker JackMBA Integrated Brand Project: Cracker Jack
MBA Integrated Brand Project: Cracker JackPhil Mark
 
SIP presentation Frito Lay- Abhishek Sharma
SIP presentation Frito Lay- Abhishek SharmaSIP presentation Frito Lay- Abhishek Sharma
SIP presentation Frito Lay- Abhishek SharmaAbhishek Sharma
 
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์CUPress
 
Pepsi ppt
Pepsi pptPepsi ppt
Pepsi pptswati
 
Doritos vs Lay's Social Media
Doritos vs Lay's Social MediaDoritos vs Lay's Social Media
Doritos vs Lay's Social MediaDaniella Weston
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1Nitinop Tongwassanasong
 
Pepsi Amal
Pepsi AmalPepsi Amal
Pepsi Amalspyamal
 
Lay's NPP Corrected FINAL PRINT
Lay's NPP Corrected FINAL PRINTLay's NPP Corrected FINAL PRINT
Lay's NPP Corrected FINAL PRINTChandler Shipley
 
Lays case study_Marketing
Lays case study_MarketingLays case study_Marketing
Lays case study_MarketingMehak Gupta
 
Analysis on Product Development in the Food and Beverage Industry and Frito Lay
Analysis on Product Development in the Food and Beverage Industry and Frito LayAnalysis on Product Development in the Food and Beverage Industry and Frito Lay
Analysis on Product Development in the Food and Beverage Industry and Frito LayDustin Fontenot
 

Andere mochten auch (20)

ความแตกต่าง make vs. brand vs. trademark vs. logo vs. patent vs. copyright
ความแตกต่าง make vs. brand vs. trademark vs. logo vs. patent vs. copyrightความแตกต่าง make vs. brand vs. trademark vs. logo vs. patent vs. copyright
ความแตกต่าง make vs. brand vs. trademark vs. logo vs. patent vs. copyright
 
power
powerpower
power
 
9fms pp10
9fms pp109fms pp10
9fms pp10
 
Product mix and PriceStrategies
Product mix and PriceStrategiesProduct mix and PriceStrategies
Product mix and PriceStrategies
 
MBA Integrated Brand Project: Cracker Jack
MBA Integrated Brand Project: Cracker JackMBA Integrated Brand Project: Cracker Jack
MBA Integrated Brand Project: Cracker Jack
 
SIP presentation Frito Lay- Abhishek Sharma
SIP presentation Frito Lay- Abhishek SharmaSIP presentation Frito Lay- Abhishek Sharma
SIP presentation Frito Lay- Abhishek Sharma
 
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
 
Power point slides
Power point slidesPower point slides
Power point slides
 
ADV 420 - Final Presentation
ADV 420 - Final PresentationADV 420 - Final Presentation
ADV 420 - Final Presentation
 
Pepsi ppt
Pepsi pptPepsi ppt
Pepsi ppt
 
Doritos vs Lay's Social Media
Doritos vs Lay's Social MediaDoritos vs Lay's Social Media
Doritos vs Lay's Social Media
 
Revlon project
Revlon projectRevlon project
Revlon project
 
Frito Lay Case
Frito Lay CaseFrito Lay Case
Frito Lay Case
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
 
Pepsi Amal
Pepsi AmalPepsi Amal
Pepsi Amal
 
Lay's NPP Corrected FINAL PRINT
Lay's NPP Corrected FINAL PRINTLay's NPP Corrected FINAL PRINT
Lay's NPP Corrected FINAL PRINT
 
Pepsico presentation
Pepsico presentationPepsico presentation
Pepsico presentation
 
Lays case study_Marketing
Lays case study_MarketingLays case study_Marketing
Lays case study_Marketing
 
Product mix
Product mixProduct mix
Product mix
 
Analysis on Product Development in the Food and Beverage Industry and Frito Lay
Analysis on Product Development in the Food and Beverage Industry and Frito LayAnalysis on Product Development in the Food and Beverage Industry and Frito Lay
Analysis on Product Development in the Food and Beverage Industry and Frito Lay
 

Ppt Marketing g 8

  • 1.
  • 2. สมาชิกกลุม 8 1. น.ส. เมธยา แสงทินกร 5305000072 2. น.ส. วีณา กําหนดศรี 5305000073 3. น.ส. สุพรรณี มงคลเอี่ยม 5305000074 4. น.ส. สุดาพร กุตะนันท 5305000068 5. นาย นพรัตน ศิรินรกุล 5305000052 6. นาย ชวิศ รุจิชาญศิริ 5305000075 7. นาย วรวุฒิ คํางาม 5304300710 8. นาย ปญญา เย็นบํารุง 5305000129
  • 3. สวนประสมผลิตภัณฑ (Product mix) หรือ ความหลากหลายของผลิตภัณฑ (Product assortment) หมายถึง กลุมของผลิตภัณฑทั้งหมดที่บริษัท เสนอขาย (Etzel, Walker and Stanton.2004:236) ซึ่งประกอบดวย 1.สายผลิตภัณฑ (Product line) 2.รายการผลิตภัณฑ (Product item)
  • 4. 1.สายผลิตภัณฑ (Product line) หมายถึง กลุมของผลิตภัณฑที่มีความสัมพันธกันอยางใกลชิด ในแงของการนํามาใชรวมกัน(สุรา โซดา น้ําอัดลม) การทําหนาที่ที่คลายกัน (ครีม บํารุงผิวกาย ครีมบํารุงมือ แปรงสีฟน) 2.รายการผลิตภัณฑ (Product item) หนวยที่แตกตางกันภายในตราสินคาหรือภายในสายผลิตภัณฑ ในแงของขนาด ราคา รูปแบบ หรือคุณสมบัติอื่นๆ อยางใดอยางหนึ่ง
  • 5. การตัดสินใจในสวนประสมผลิตภัณฑ (Product – mix decisions) บริษัทจะตองพิจารณาทั้งดานความกวาง ความลึก ความยาว และความสอดคลองกันของสวน ประสมผลิตภัณฑโดยมีรายละเอียดดังนี้ แสดงสวนประสมของบริษัทเนสทเล ความกวาง = 4 สาย นมพาสเจอรไรส เครื่องดื่ม 1.รสจืด นมเปรี้ยว 1.น้ําสม 1.รสสม เครื่องปรุงรสอาหาร 2.พรองมันเนย 2.น้ํากาแฟ 1.ซอสปรุงรส 3.รสช็อคโกแลต 2.รสบลูเบอรรี่ 3.ชาดําเย็น 3.รสผลไมรวม 2.ซอสพริก 4.รสหวาน 4.น้ําแร 3.ซอยหอยนางรม 5.รสสตรอเบอรรี่ 4.รสราสเบอรรี่ 5.น้ําผึ้ง ความลึก = 5 แบบ ความลึก = 4 แบบ ความลึก = 5 แบบ ความลึก = 3 แบบ ความยาว = 17 แบบ
  • 6. 1. ความกวางของสวนประสมผลิตภัณฑ (product width) หมายถึง จํานวนของสายผลิตภัณฑทั้งหมดที่บริษัทใดบริษัทหนึ่งมีไว เพื่อขายใหแกผูซื้อ เชน ผลิตภัณฑของดัชมิลล มีผลิตภัณฑไวจําหนาย สี่สายคือ โยเกิรต ทูโทน นมเปรี้ยว นมปรุงแตงพลาสเจอรไรส จึงเรียกวาบริษัทนี้มีความกวางของสวนประสมผลิตภัณฑเทากับ 3 2. ความลึกของสวนประสมผลิตภัณฑ (product line depth) หมายถึง จํานวนผลิตภัณฑ ที่มีอยูในสายผลิตภัณฑแตละสาย เชน สี ขนาด รูปแบบหรือคุณสมบัติอื่น ๆ ตัวอยาง สาบผลิตภัณฑนมเปรี้ยวของดัชมิลล มีรายการผลิตภัณฑอยู 3 รายการ นั่นคือ นมเปรี้ยวรสสม รสผลไมรวม ซึ่งผลิตภัณฑนี้มีความลึกเทากับ 3
  • 7. 3. ความยาวของสวนประสมผลิตภัณฑ (product line length) หมายถึง จํานวนผลิตภัณฑทั้งหมดของบริษัทที่มีเสนอขายใหกับลูกคา เกิดจากการรวมตัวกันของความลึกของแตละสายผลิตภัณฑ ตัวอยาง ดัชมิลล มีผลิตภัณฑไว จําหนาย 14 รายการ จึงเรียกวาบริษัทนี้มีความยาวของสวนประสมผลิตภัณฑเทากับ 14 4. ความสอดคลองของสวนประสมผลิตภัณฑ (product consistency) หมายถึง ความสัมพันธระหวางสายผลิตภัณฑในดานการใชขั้นสุดทาย การผลิต การจัดจําหนาย หรือลักษณะของสินคาดาน อื่นๆ เชน ผลิตภัณฑของดัชมิลลจะมีความสอดคลองเนื่องจากเปนผลิตภัณฑ ทีมีกรรมวิธีการผลิตที่ใกลเคียงกัน มีกลุมเปาหมายเดียวกัน ่ และใชชองทางการจัดจําหนายเดียวกัน
  • 8. กลยุทธสวนประสมผลิตภัณฑ มีดังนี้ 1.การขยายสวนประสมผลิตภัณฑ (Expansion of product mix) เปนการเพิ่มจํานวนสายผลิตภัณฑและ เพิ่มความลึก ภายในสายผลิตภัณฑ จากสวนประสมผลิตภัณฑ เดิมที่มีอยูซึ่งสายผลิตภัณฑใหมที่เพิ่มขึ้น อาจจะเกี่ยวของหรือไมเกี่ยวของกับสายผลิตภัณฑเดิม ตัวอยางเชน หางสรรพสินคาจะทําธุรกิจ หางสรรพสินคาโดยขายสินคาเองแลว ยังให ผูประกอบการรายยอย เชนพื้นที่เพื่อขายสินคา อาหาร บริการตางๆ
  • 9. 2.การลดสวนประสมผลิตภัณฑ (Contraction of product mix) หมายถึง การตัดสายผลิตภัณฑทั้งสายหรือตัดรายการผลิตภัณฑ ภายในแตละสายผลิตภัณฑที่ขาดทุนหรือมีกําไรต่ําเพื่อลดตนทุน และคาใชจายที่เพิ่มขึ้น 3.การเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑที่มีอยู (Alteration of existing product) หมายถึง การพัฒนาผลิตภัณฑใหมทั้งหมด และปรับปรุงผลิตภัณฑเกาให ทันสมัยขึ้น โดยการเพิ่มผลิตภัณฑหรือออกแบบผลิตภัณฑใหม หรือ เปลี่ยนแปลงรูปแบบบรรจุภัณฑใหม ตัวอยางเชน แปงตรางู
  • 10. 4.การขยายสูตลาดสวนบนและสวนลาง (Trading up and trading down) 4.1 การขยายสูตลาดสวนบน (Trading up) หมายถึง การเพิ่มที่มีคุณภาพดีขึ้นในราคาสูงขึ้นเขาไป ในสายผลิตภัณฑเดิมโดยมีตลาดเปาหมายที่สูงขึ้น 4.2 การขายสูตลาดสวนลาง (Trading down) หมายถึง การเพิ่มผลิตภัณฑที่มีคุณภาพต่ํากวาเดิมในราคาต่ํากวาเดิม เขาไปในสายผลิตภัณฑเดิมโดยมีเปาหมายที่ตลาดระดับลาง
  • 11. เปนการบริหารผลิตภัณฑในแตละสายและหาวิธีที่ดี ที่สุดที่จะบริการลูกคาเพื่อการแขงขันอยางมีประสิทธิภาพ ในตลาด โดยมีประเด็นที่ตองพิจารณาดังตอไปนี้ 1.ความยาวของสายผลิตภัณฑ (Product Line Length) ควรมีความยาวหรือความลึกที่เหมาะสม เพื่อใหเกิดกําไร สูงสุด ทั้งนี้ตองพิจารณาวาการเพิ่มหรือลดรายการ ผลิตภัณฑนั้นจะตองทําใหกําไรเพิ่มขึ้น ซึ่งบริษัทสามารถขยายความยาวของสายผลิตภัณฑได2วิธี 1.1การตัดสินใจขยายสายผลิตภัณฑ (Line – stretching decision) 1.2การตัดสินใจเพิ่มเติมในสายผลิตภัณฑ (Line filling decision)
  • 12. 1.1การตัดสินใจขยายสายผลิตภัณฑ (Line – stretching decision) เปนการขยายความยาวของสายผลิตภัณฑของบริษัทใหเหมาะสมการตัดสินใจ ขยายสายผลิตภัณฑ มี 3 แบบ คือ 1.การขยายจากบนลงลาง (Downward stretch) เปนการเพิ่มรายการผลิตภัณฑที่มีราคาต่ํากวาเขาไปในสายผลิตภัณฑเดิมที่มี ราคาสูงและคุณภาพดี 2.การขยายจากลางขึ้นบน (Upward stretch) เปนการเพิ่มรายการผลิตภัณฑที่มีราคาสูงกวาและคุณภาพดีกวาเขาไปในสาย ผลิตภัณฑเดิมที่มีราคาต่ํากวา 3.การขยายแบบสองทาง (Two-way stretch) บริษัทที่มีสายผลิตภัณฑอยูในชวง ตนกลางของตลาดอาจจะตัดสินใจขยายสายผลิตภัณฑไดทั้ง 2 ทิศทาง คือทั้ง ดานผลิตภัณฑระดับสูงและระดับต่ํา เพื่อความเจริญเติบโตของยอดขายและ ความเปนผูนําในตลาด
  • 13.
  • 14. 2.การตัดสินใจปรับปรุงสายผลิตภัณฑใหทันสมัย (Line modernization decision) หมายถึง การพัฒนารายการผลิตภัณฑในสายผลิตภัณฑใหทันสมัย และสอดคลองกับความตองการที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ซึ่งอาจจะเปนการปรับปรุงรายการผลิตภัณฑบางสาย หรือปรับปรุง ทั้งสายผลิตภัณฑ 3. การตัดสินใจลักษณะดานสายผลิตภัณฑ (Line featuring decision) หมายถึง การเลือกลักษณะรายการผลิตภัณฑหนึ่งรายการหรือหลายรายการ ในการผลิตภัณฑ ในการจําหนายผลิตภัณฑผ็บริหารอาจเลือกลักษณะ ผลิตภัณฑที่มีเปาหมายที่ตลาดระดับลาง เพื่อจูงใจใหมาซื้อสินคาแลว มีผลทําใหสินคาระดับสูงขายได
  • 15. 4. การตัดสินใจตัดรายการผลิตภัณฑในสายผลิตภัณฑ (Line pruning decision) เปนการลด ตัดหรือยกเลิกรายการผลิตภัณฑบางรายการในสาย ผลิตภัณฑ เนื่องจาก (1) ผลิตภัณฑรายการนั้นทํากําไรลดลง หรือขาดทุน (2) บริษัทขาดกําลังการผลิต ทําใหไมสามารถผลิตสินคา ทุกรายการได
  • 16. ตราสินคา หมายถึง ชื่อ (Name) คํา (Term) สัญลักษณ (Symbol) การออกแบบ (Design) หรือสวนประสมของสิ่ง ดังกลาวเพื่อระบุถึงสินคาและบริการของผูขายที่ แตกตางจากผูแขงขัน
  • 17. 1.การตัดสินใจตั้งตราสินคาหรือไม ความนิยมในการตั้งตราสินคาเปนที่แพรหลายมากในปจจุบัน เนื่องจาก การตั้งตราสินคานัเนถือเปนการรับประกันวาบสริษัทเปนผูผลิตละ สินคามีมาตรฐาน และสรางความเชื่อถือวาสินคาของผูผลิตมีความ ดีเดนแตกตางจากสินคาของผูผลิตรายอื่น การกําหนดตราสมินคาจะมีความเสี่ยงอยางมากสําหรับบริษัทที่ไม สามารถเปนผูผลิตสินคาไดมาตราฐาน เนื่องจากถาสินคาคุณภาพไมดี เทาที่ควรจะทําใหตราสินคาของบริษัทเสียชื่อ สงผลใหผลิตภัณฑขาย ไมออก ดังนั้นบริษัทประเภทนี้จึงไมควสรมีตราสินคาของตนเอง ผลิตภัณฑบางชนิดที่บริษัทตางๆ ผลิตไดเหมือนกันโดยไมแตกตางกัน เลย ทั้งดานคุณภาพ ลักษณะ แลสะจิตวิทยา เชน เกลือ หมู ขาว ตรา สินคาจะไมมีความหมายเมาใดนัก เนื่องจากตราสินคาไมสามารถบอก ความแตกตางดาน ความคิดและอารมณ
  • 18. การตัดใจสินคาตั้งตราสินคาจะพิจารณาถึงประโยชนที่ไดรับจาก ตราสินคา ดังนี้ 1.ผูผลิตสินคาการใชตราสินคาเพื่อใหความสะดวกแกผูซื้อใน การเรียกซื้อหรือติดตามซื้อผลิตภัรฑ 2.ผูผลิตตองการใชเครื่องหมายการคาเพื่อการคุมครองทาง กฎหมาย เชน ปองกันการเลียนแบบสินคา 3.ผูผลิตใชตราสินคาเพื่อแสดงลักษณะเฉพาะตัวของผลิตภัณฑ และสงเสริมการจําหนายผลิตภัณฑ
  • 19. 2.การตัดสินใจในเจาของตราสินคา คือการตัดสินใจวาจะใชตราสินคาของใครซึ่งมีทางเลือก 3 ทาง คือ อาจจะใชตราสินคาของผูผลิต คนกลาง หรือผูใหสิทธิ์ ดังนี้ 2.1 ตราสินคาของผูผลิต (Manufacturer brand) ผูผลิตจะเปนผูกําหนดตราสินคาทั้งหมดของผูผลิต ในกรณีเปนบริษัทขนาดใหญ ฐานะทางการเงินดี มีบริการที่ดี มีสายผลิตภัณฑหลายสาย มีระบบการจัดการจําหนายที่ดี และมีสวนครองตลาดมาก เพื่อเปนเอกลักษณของผลิตภัณฑของบริษัท เชน Acer ,FBT ,Toyota เปนตน
  • 20. 2.2 ตราสินคาของคนกลาง (Middlemen brand) เปนกลยุทธที่ผูผลิต ใชตราสินคาสําหรับผลิตภัณฑบางสวน หรือทั้งหมดโดยใชชื่อของ คนกลาง เพราะสามารถเพิ่มยอดขายและกําไรไดรวดเร็ว และ ประหยัดคาใชจายในการสงเสริมการจัดจําหนาย หรือเปนตราสินคา ที่พอคาคนกลางตั้งขึ้นเอง โดยซื้อสินคาจากผูผลิตและมาใชตรา สินคาของตนเอง เชน Tesco Lotus 2.3 ตราสินคาของผูใหสิทธิ์ เปนการใชตราสินคาของผูผลิตเริ่มแรกที่ ใหสิทธิ์ทางการคา หรืออาจอยูในรูปของการใหสิทธทางการคา (Franchising) เชน McDonald’s, 7-eleven เปนต
  • 21. 3.การตัดสินใจเลือกประเภทของตราสินคา แบงออกเปน 4 ประเภท คือ 3.1 การใชตราเฉพาะ (Individual Names) เปนการตั้งตราสินคาให แตกตางกันสําหรับสินคาแตละชนิด ขอดีของการใชเฉพาะคือ ถา สินคารายการใดรายการหนึ่งมียอดขายตกต่ํา หรือประสบความ ลมเหลวจะไมมีผลกระทบกับสินคารายอื่น 3.2 การใชตรารวมสําหรับทุกผลิตภัณฑ (Blanket family name for all products หรือ Family brand) เปนการตั้งตราสินคาเดียวสําหรับ ผลิตภัณฑทุกชนิดของบริษัท ขอดีของการใชตรารวมสําหรับทุก ผลิตภัณฑ คือ ถาตรารวมนั้นมีชื่อเสียงดี ก็เปนการงายที่จะทําให สินคาทั้งหมดประสบความสําเร็จ
  • 22. 3.3 การใชตรารวมสําหรับผลิตภัณฑแตละกลุม (Separate family names) เปนการตั้งตราสินคาแบบหลายตราโดยแบงตามสายผลิตภัณฑ หรือกลุมผลิตภัณฑ เหมาะกับบริษัทที่ผลิตหรือขายผลิตภัณฑ หลายชนิดที่แตกตางกัน 3.4การใชชื่อบริษัทรวมกับชื่อเฉพาะ (Company-individual names) การตั้งตราสินคาแบบนี้ เนื่องจากบริษัทตองการแสดงความสัมพันธ ระหวางชื่อบริษัทและชื่อของแตละผลิตภัณฑ
  • 23. 4.การตัดสินใจเลือกกลยุทธตราสินคา 4.1 การขยายผลิตภัณฑ (Lone extensions) เปนการนําเสนอรายการ ผลิตภัณฑเพิ่มเติมเขาไปในผลินตภัณฑชนิดเดิม โดยใชชื่อตราสินคาเดิม เชอ เพิ่มแบบ สี สวนผสม กลิ่น ฯลฯ 4.2 การขยาตราสินคา (Brand extensions) เปนการเพิ่มผลิตภัณฑชนิด ใหม หรือเพิ่มสายผลิตภัณฑใหม โดยใชชทอตราสินคาเดิม ตัวอยางเชน โดฟขยายตราสินคา โดยเพิ่มสายผลิตภัณฑใหม จากสบูเปนโฟมลางหนา ครีมอาบน้ํา แชมพู และครีมนวด โดยใชชื่อตราสินคาเดิม 4.3 กลยุทธหลายตราสินคา (Multibrands) เปนการตั้งตราสินคาใหมห ฝายตราสินคาสําหรับสินคาชนิดเดิม การใชกลยุทธหลายตราสินคา จะตางกับการใชกลยุทธตราเฉพาะ ตรงที่ตราเฉพาะจะมีตราสินคาหลาย ตราสําหรับสินคาแตละชนิด แตกลยุทธหลายตราสินคาจะใชสําหรับ สินคาชนิดเดียวกัน
  • 24. 4.4 ตราคาใหม (New brands) การที่บริษัทนําเสนอผลิตภัณฑใหม โดยใชชื่อตราสินคาใหม 4.5ตราสินคาควบคู (Co brands หรือ Dual branding) เปนการใช ตราสินคาที่มีชื่อเสียง 2 ตราขึ้นไปรวมกับในการนําเสนอขายผลิตภัณฑ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางความแข็งแกรงใหกับตราสินคาใหม
  • 25. 5.การตัดสินใจกําหนดตําแหนงตราสินคาใหม เปนการเปลี่ยนแปลงตําแหนงผลิตภัณฑเดิมใหเปนตําแหนงผลิตภัณฑ ใหม แนวคิดสําคัญที่ใชตัดสินใจวาควรจะกําหนดตําแหนงตราสินคา ใหมหรือไม มีดังนี้ 1.ถาคูแขงไดกําหนดตําแหนงตราสินคาในตําแหนงเดียวกับตราสินคา ของบริษัท เปนเหตุใหสวนครองตลาดถูกแบงได 2.ถาความตองการและความพึงพอใจของลูกคาเปลี่ยนแปลง ก็ควรจะ ปรับปรุงตําแหนงตราสินคาของบริษัทใหเปลี่ยนแปลงตามดวย
  • 26. ปายฉลาก เปนสวนหนึ่งของสินคาหรือบรรจุ ภัณฑที่ใหขอมูลเกี่ยวกับสินคาหรือผูขายปาย ฉลากอาจแบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ 1.ปายแสดงตราสินคา คือ ตราสินคาที่ติดกับตัว สินคาหรือบรรจุภัณฑของสินคา เชน ปายลี วายส ปายไนกี้ ปายกุชชี่ เปนตน 2.ปายแสดงคุณภาพ ปายฉลากตองสงเสริม ผลิตภัณฑโดยใหรายละเอียดที่สําคัญสําหรับลูกคา และแสดงคุณภาพของสินคาดวยอักษร จํานวน หรือ คุณภาพ เชน นมยูเอชที คันทรี่เฟรช ระบุไววา แคลเซียมสูง ไขมันต่ํา
  • 27. 3.ปายแสดงรายละเอียดสินคา เปนปายที่แสดงถึงขอมูลเกี่ยวกับการใช การทํางาน การเก็บรักษา หรือลักษณะอื่น ๆ ของสินคา เชน ปายฉลาก บรรจุภัณฑประเภทซีเรียลของไมโล ที่ระบุถึงขอมูลทางโภชนาการ สวนประกอบ ผูผลิต ปริมาณ ราคา สัญลักษณ อ.ย. วันผลิต วัน หมดอายุ เปนตน
  • 28. กลยุทธปายฉลาก มีดังนี้ (1) ขอความตองแสดงใหเห็นเดนชัด กะทัดรัด และเขาใจงาย เพราะ สินคาอยูบนชั้นวางสินคาจะขายตัวมันเอง (2) ใหรายละเอียดที่สําคัญสําหรับลูกคาครบถวน (3) ขอมูลที่ปรากฏในปายฉลากตองเปนขอเท็จจริงและสามารถพิสูจน ได (4) ถามีเครื่องหมายรับประกันคุณภาพสินคาจากกระทรวง อุตสาหกรรมหรือหนวยงานที่เกี่ยวของควรนํามาพิมพในปายฉลาก เพื่อสรางความนาเชื่อถือในตัวสินคาใหกับลูกคา
  • 29. การบรรจุภัณฑ หมายถึง กิจกรรมในการออกแบบและ ผลิตภาชนะบรรจุหรือสิ่งหอหุมผลิตภัณฑประเด็นที่ เกี่ยวของกับการตัดสินใจในการบรรจุภัณฑมีดังนี้ 1.ลักษณะของบรรจุภัณฑ มี 3 ลักษณะคือ 1.1บรรจุภัณฑขั้นแรก หมายถึง สิ่งที่หอหุมตัวสินคา ที่อยูในขั้นสุดทาย โดยทําหนาที่รักษาและปองกัน สินคามิใหเสียหาย 1.2บรรจุภัณฑขั้นที่สอง หมายถึง สิ่งที่หอหุมการ บรรจุภัณฑขั้นแรก เพื่อทําหนาที่รักษาและปองกัน สินคามิใหเสียหาย 1.3บรรจุภัณฑเพื่อการขนสง หมายถึง การบรรจุ ภัณฑโดยมีวัตถุประสงคเพื่อทําหนาที่ในการเก็บรักษา และขนสงสินคา เชน กลองหรือลัง คอนเทนเนอร เปน ตน
  • 30.
  • 31. 2.ประโยชนทางการตลาดของบรรจุภัณฑ บรรจุภัณฑมีหนาที่สนับสนุน กิจกรรมทางการตลาด ดังนี้ 2.1 เพื่อการติดตอสื่อสารไปยังผูบริโภค กลาวคือ เปนการนําขอมูล ขาวสารกับตัวสินคาไปยังผูบริโภค โดยระบุถึงตราสินคา วัตถุดิบที่ใช ผลิต น้ําหนัก วิธีการเก็บรักษา การออกแบบสีสัน รูปราง เปนตน 2.2เพื่อใชในการวางแผนพัฒนาผลิตภัณฑใหม เปนการปรับปรุง ผลิตภัณฑใหม โดยออกแบบบรรจุภัณฑในรูปแบบที่แตกตางกันออกไป 2.3 เพื่อสรางภาพลักษณของตราสินคาและบริษัท เชน น้ําดื่ม ของตราบริษัท เนสทเล และ ที่ใชชื่อเดียวกับบริษัท
  • 32. 2.4 จูงใจผูบริโภคที่ร่ํารวย คือ ผูบริโภคกลุมนี้พรอมที่จะจายมาก ขึ้นสําหรับบรรจุภัณฑที่มีความสะดวก เชื่อถือได และสรางความ ภาคภูมิใจใหกับผูบริโภค 2.5 โอกาสดานวัฒกรรม คือ บรรจุภัณฑนวัฒกรรมจะสราง ประโยชนอยางมากใหกับผูบริโภค และสรางกําไรใหกับผูผลิตดวย เชน ขวดของ ครีมทาผิวสามารถตั้งราคาไดสูงขึ้นเพราะผูบริโภคจะ ไดรับสะดวกมากยิ่งขึ้น 2.6 การบรรจุภัณฑจะชวยขายตัวเองโดยเฉพาะการขายในรูปแบบ ใหลูกคาบริการตัวเองเพราะบรรจุภัณฑที่เดนชัดจะดึงดูดลูกคาให สนใจเลือกซื้อในผลิตภัณฑนั้นมากยิ่งขึ้น
  • 33. 3.กลยุทธของการบรรจุภัณฑ ธุรกิจไดนําการบรรจุภัณฑมาปรับปรุงได ดังนี้ 3.1 การเปลี่ยนแปลงบรรจุภัณฑ เปนการพัฒนาหรือปรับปรุง รูปแบบใหดีขึ้น หรือทันสมัยมากขึ้น นิยมใชในกรณียอดขายลดลง หรือ ตองการขยายตลาดสูตลาดววนใหม เชน ผงซักฟอกเปา มีการปรับจาก กลองกระดาษมาเปนถุงพลาสติกที่มีรูปแบบที่ทันสมัยขึ้น
  • 34. 3.2 การบรรจุภณฑเพื่อการนํากลับมาใช เปนกลยุทธการสงเสริมการขายโดยออกแบบบรรจุภัณฑที่สามารถ นํามาใชประโยชนไดภายหลังจากที่ใชสินคาหมดแลว เชน ขวดกาแฟ หรือกลองคุกกี้ สามารถนํามาเปนภาชนะเก็บอาหารในครัวได เปนตนฯ
  • 35. 3.3 บรรจุภัณฑรวม เปนกลยุทธการสงเสริมการขาย โดยนําสินคา หลายชิ้นหรือหลายชนิดมาใสในบรรจุภณฑรวมกัน เพื่อกระตุนใหเกิด การซื้อเพิ่มมากขึ้นและทําใหยอดขายเพิ่มเร็ดขึ้น วิธีมักใชรวมกับการ ลดราคา เชน เจลลี่หลายรสขายรวมหอกัน ฯ
  • 36. 3.4 การบรรจุภัณฑสําหรับผลิตภัณฑ เปนการพิจารณาการออบแบบ บรรจุภัณฑทุกชนิดในสายผลิตภัณฑเดียวกันวาควรจะเหมือนกันหรือ ใชเปนเอกลักษณ ซึ่งกรณีนี้จะใชการบรรจุภัณฑคลายกัน เชน ผลิตภัณฑ Garnier ไดใชสีบรรจุภัณฑที่แตกตางจกความตองการของ ผูบริโภค คือ สีเหลือง สําหรับลูกคาผิวขาว สีฟา สําหรับลูกคาเพื่อผิว ที่สะอาด และสีแดง สําหรับลูกคา ตองการลดริ้วรอย
  • 37. 3.5 การบรรจุภัณฑเพื่อปญหาสิ่งแวดลอมโดยใชหลัก 7R ดังนี้ 1. การบรรจุภัณฑที่สามารถหมุนเวียนแปรสภาพใหม 2. การบรรจุภัณฑชนิดเติม 3. การบรรจุภัณฑเพื่อใชซ้ํา 4. การบรรจุภัณฑที่ลดขนาดลง 5. การไมใชบรรจุภัณฑที่เกิดมลภาวะ 6. การบรรจุภัณฑที่ยังสามารถซอมแซมแกไขได 7. การบรรจุภัณฑที่ผูบริโภคนําไปใชไดประโยชนกลับคืนมา
  • 38. 4. หลักการบรรจุภัณฑ บรรจุภัณฑเปนสิ่งแรกที่ทําใหผูบริโภคเกิดการรับรูและเกิดความ สนใจ บรรจุภัณฑสามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับลูกคาและบริษัทได การ บรรจุภัณฑที่ดีจะชวยใหเกิดความสะดวกตอการใชและลูกคาเกิดความ พอใจมากขึ้น
  • 39. การบรรจุภัณฑนั้นตองคํานึงถึงปจจัยตอไปนี้ 1.บรรจุภัณฑนั้นมีความสะดวกตอการใชงานหรือไม 2.บรรจุภัณฑนั้นทําใหสินคาเมื่อวางบนชั้นแลวไดเปรียบ (เดน)หรือไม 3.บรรจุภัณฑนั้นสายงามถูกใจผูใชหรือไม 4.บรรจุภัณฑนั้นสามารถเชิญชวนใหใชไดหรือไม 5.บรรจุภัณฑนั้นทําใหสินคาเมื่อนํามาใชแลวเก็บสะดวกหรือไม 6.บรรจุภัณฑนั้นสามารถสะทอนตําแหนงครองใจของสินคาไดหรือไม 7.บรรจุภัณฑนั้นสามารถสะทอนบุคลิกภาพของสินคาไดหรือไม 8. บรรจุภัณฑนั้นสามารถปกปองสินคาไดหรือไม 9. บรรจุภัณฑนั้นเหมาะสมที่จะบรรจุสินคาหรือไม 10. บรรจุภัณฑที่เลือกนั้นสามาถทํากําไรไดมากขึ้น 12. บรรจุภัณฑนั้นสามารถบอกถึงวิธีการใชสินคาไดหรือไม 13.บรรจุภัณฑนั้นสามารถดูแลรักษาสิ่งแวดลอมไดหรือไม
  • 40. บริการ (Service) เปนกิจกรรม ผลประโยชน หรือความพึงพอใจที่สามารถตอบสนองความตองการ ของลูกคาได เชน โรงเรียน โรงพยาบาล โรงแรม ธนาคาร เปนตน ลักษณะของการบริการที่แตกตางจากผลิตภัณฑ มีดังนี้
  • 41. 1. ไมสามารถจับตองได หมายความวา ผูบริโภคไม สามารถรูสึกมองเห็น ไดยิน ลิ้มรส หรือไดกลิ่นทําใหไมสามารถทดลองใช ผลิตภัณฑกอนที่จะทําการซื้อ โดยโปรแกรมการสงเสริมการตลาดควร ชี้ใหเห็นถึงประโยชนที่จะไดรับจากบริการอยางชัดเจนมากกวาที่จะ เนนตัวบริการเทานั้น ซึ่งมีวิธีตางๆ ดังนี้ 1.1 การทําใหเห็นภาพ = นักการตลาดตองพยายามทําใหผูบริโภค มองเห็นประโยชนที่จะไดรับจากการใชบริการ 1.2 การเชื่อโยง = เปนความพยายามที่จะเชื่อมโยงบริการไปยังสินคาที่ จับตองได บุคคล สิ่งของหรือสถานที่ 1.3 การแสดงดวยลักษณะทางกายภาพ = เชน บัตรอเมริกัน เอ็กเพรส ใชบัตรสีทองและสีเงินเพื่อบงบอกถึงความร่ํารวย 1.4 การใชเอกสาร สามารถใชได 2 วิธี คือ ผลการดําเนินงานโดยอดีต และศักยภาพในอนาคต
  • 42. 2. ความไมสามารถแบงแยกได หมายความวา การผลิตและการบริโภค เกิดขึ้นในขณะเดียวกัน ในประเด็นนี้จะตรงขามกับการผลิตสินคาซึ่งเริ่ม จากการนําวัตถุดิบมาผลิต แลวนําไปเก็บไวในคลังสินคาและหลังจากที่ ผูบริโภคตัดสินใจซื้อจึงเกิดการบริโภค 3. ความไมแนนอน กลาวคือ คุณภาพในการใหบริการจะผันแปรไปตาม ผูใหบริการและขึ้นอยูกับวาใหบริการเมื่อไหร ที่ไหน และอยางไร 4. ความไมสามารถเก็บไวได บริการเปนสิ่งที่ไมสามารถเก็บไวในโกดัง หรือคลังสินคาเมื่อบริการเกิดขึ้นนักการตลาดจะไมสามารถเก็บไวเพื่อ ขายหรือใชในภายหลังได
  • 44. 1 2 8 3 7 4 6 5 แสดงการบริหารธุรกิจแบบประสมประสาน 8 ประการ
  • 45. 1. สวนประกอบของผลิตภัณฑ (Product elements) หมายถึง ทุกสวนประกอบของการใหบริการที่สามารถสรางคุณคากับลูกคา ไดแก ลักษณะที่เปนผลิตภัณฑหลัก (Core product) และบริการเสริม (Supplementary service) ซึ่งแสดงถึงผลประโยชนที่ลูกคาตองการและเปน การสรางขอไดเปรียบ ทางการแขงขัน ตอบสนองความพึงพอใจของลูกคา เรื่องบริการนั้นจะตองเนนที่ประโยชนหลักที่จะไดรับจากผลิตภัณฑหลัก และตองพิจารณาถึงประโยชนเพิ่มเติมที่จะไดรับจากผลิตภัณฑเสริมดวย 2. กระบวนการ (Process) เปนวิธีการดําเนินการหรือการปฏิบัติ (Operations) เกี่ยวของกับขั้นตอนที่จําเปนของการใหบริการ กลาวคือ การ สรางและการสงมอบผลิตภัณฑใหกับลูกคาจะตองอาศัยการออกแบบและ ปฏิบัติตามกระบวนการที่มีประสิทธิผล ในกระบวน การจะอธิบายลักษณะ และขั้นตอนในระบบการปฏิบัติงานทางดานบริการ โดยกระบวนการใน การบริการประกอบดวย
  • 46. 2.1 กระบวนการใหบริการโดยบุคคล (People processing services) เปนบริการที่เกี่ยวของกับเวลาและการเคลื่อนไหวของพนักงาน เชน ขั้นตอนการเสิรฟอาหารและเครื่องดื่มบนเครื่องบิน เปนตน 2.2 กระบวนการใหบริการเพื่อใหลูกคาไดรับบริการ (Possession processing services) เปนขั้นตอนการปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการทําใหลูกคาไดเปนเจาของบริการ นั้น เชน ระบบการจองตั๋ว ระบบการจัดคิวตาง ๆ เปนตน
  • 47. 2.3 กระบวนการจัดสิ่งกระตุนทางดานความคิด (Mental stimulus processing services) เปนการปฏิบัติการโดยมุงใหเกิดทัศนคติที่ดีในจิตใจของลูกคา เชน การ อธิบายถึงผลประโยชนที่ลูกคาจะไดรับจากการ ใชบัตรเครดิต 2.4 กระบวนการใหบริการขอมูลสารสนเทศ (Information processing services) เปนการใหบริการทางดานขอมูลกับลูกคา เชน การใหคําแนะนําหรือการ ใหขอมูลโดยการสาธิตในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉินแกผูโดยสารขณะอยูบน เครื่องบิน
  • 48. 3. การจัดจําหนาย (Place) พื้นที่ในเว็บไซต (Cyberspace) และเวลาที่ใหบริการ (Time) เปนการตัดสินใจวาจะสงมองบริการใหกับลูกคาเมื่อใด (ควรใชเวลาเทาใดในการสงมอบบริการ) ที่ไหน (การตัดสินใจดานชองทางการจัดจําหนาย) และอยางไร [การตัดสินใจวาจะใชชองทางจัดจําหนาย (Distribution) ทางดานกายภาพ และ ทางดานอิเล็กทรอนิกส] ซึ่งการตัดสินใจทั้งหมดนี้ขึ้นอยูกับลักษณะของธุรกิจบริการ
  • 49. การใหบริการขาวสารผานอินเทอรเน็ตจะใชฐานขอมูลที่สง มอบผานพื้นที่ในเว็บไซต ในคอมพิวเตอรหรือโทรศัพทชวยอํานวยความ สะดวก ใหลูกคา โดยไมคํานึงถึงสถานที่และเวลา ธุรกิจสามารถสงมอบ บริการไปยังลูกคาโดยตรง การใหบริการและการติดตอกับลูกคา ตอง คํานึงถึงความคาดหวังของลูกคา ในดานความรวดเร็ว และความสะดวก เปนตัวกําหนดที่สําคัญในการกําหนดกลยุทธการสงมอบบริการใหกับ ผูบริโภค
  • 50. 4. การเพิ่มผลผลิต (Productivity) และคุณภาพ (Quality) ดังนี้ 4.1 การเพิ่มผลผลิต (Productivity) เปนวิธีการใชปจจัยนําเขา ในการให บริการ เพื่อแปรสภาพเปนผลผลิต และสรางมูลคาเพิ่มใหกับลูกคา ดังนั้นผลผลิตก็คือ ประสิทธิผลของผูใหบริการ กลาวคือ เปนผลประโยชนที่สงมอบให กับลูกคา ปจจัยนํา เขาก็คือ ปจจัยการผลิตที่ผูใหบริการใช ซึ่งเปนตนทุน ของผูใหบริการ โดยจะนํามาเปนแนวทางในการตั้งราคา ถือเปน ตนทุนของลูกคา จะตองใหลูกคาเกิดความรูสึกวาไดรับความประหยัด หรือประสิทธิภาพ ดังสมการ
  • 51. ปริมาณและคุณภาพของผลผลิต (Quantity and quality of output) 1. การเพิ่มผลผลิตของบริการ = ปริมาณและคุณภาพของปจจัยนําเขา (Quantity and quality of input) 2. การเพิ่มผลผลิต (Productivity) = ผลผลิต (Outputs) หรือประสิทธิผล (Effectiveness) ปจจัยนําเขา (Inputs) หรือความประหยัดหรือประสิทธิภาพ (Efficiency) 3. การเพิ่มผลผลิต (Productivity) = ผลผลิต (Outputs) (ผลประโยชนที่มอบใหกับลูกคา) (เพิ่มคุณคาสุทธิใหกับลูกคา ปจจัยนําเขา (Inputs) (ตนทุนของลูกคา) คุณคาผลิตภัณฑรวมในสายตาลูกคา – ตนทุนรวมของลูกคา 4. คุณคาผลิตภัณฑที่สงมอบใหกับลูกคาสุทธิ = (Total customer value) – (Total customer cost) (Customer delivered net value)
  • 52. 4.2 คุณภาพ (Quality) เปนระดับบริการที่สามารถ ตอบสนองความจําเปน ความตอง การและความคาดหวังของลูกคาได ซึ่งคุณภาพการใหบริการจะตองพิจารณาดานตาง ๆ ดังนี้ (1) ความเชื่อถือได (Reliability) เปนความสามารถใหบริการตามที่ สัญญาไวอยางมีคุณภาพและถูกตองแมนยํา (2) การตอบสนองอยางรวดเร็ว (Responsiveness) เปนความเต็มใจที่จะ ชวยเหลือและใหบริการแกลูกคาอยางกระตือรือรน (3) ความมั่นใจได (Assurance) เปนการแสดงถึงความรูและมนุษย สัมพันธของผูใหบริการที่ทําใหผูใช มีความเชื่อมั่นในบริการที่ไดรับ (4) ความเห็นใจ (การเขาถึงจิตใจ) (Empathy) เปนการดูแลเอาใจใส และใหความสนใจที่ผูใหบริการมีตอผูใชบริการ (5) ลักษณะทางกายภาพ (Tangibles) เปนลักษณะที่ปรากฏใหเห็นหรือ สิ่งที่สามารถจับตองได เชน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ อาคารสถานที่ บุคคล เปนตน
  • 53. 5. การสงเสริมการตลาดและการใหความรูกับลูกคา (Promotion and education) เปนกิจกรรมการสื่อสารและการออกแบบสิ่งจูงใจเพื่อสราง ความพึงพอใจกับลูกคาสําหรับการใหบริการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 6. พนักงาน (People) พนักงานผูใหบริการเปนปจจัยแหงความสําเร็จ พนักงานสามารถสรางการรับรูเกี่ยวกับคุณภาพใหบริการใหกับลูกคา กลาวคือ ลูกคามักจะพิจารณาถึงคุณภาพการใหบริการจาก การประเมินสิ่งที่เขารับรูในบริการที่ไดรับ ดังนั้นธุรกิจใหบริการ ที่ประสบความสําเร็จจะตองใชความพยายามอยางมากใน การวางแผนดานกําลังคน การสรรหา การคัดเลือก การฝกอบรมและพัฒนา และการจูงใจพนักงานที่เกี่ยวของทั้งหมด
  • 54. 7. ราคาและคาใชจายอื่น ๆ ของผูใชบริการ (Price and other user outlays) เปนคาใชจายในรูปของ เงิน เวลา และความพยายามที่เกิดขึ้นในการซื้อ และใชบริการของลูกคา 8. การสรางและนําเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical evidence) เปนสิ่งจูงใจที่สามารถมองเห็นไดซึ่งนําไปสู คุณภาพในการใหบริการ