SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
CBL: Challenge Based Learning ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ 2556
การเรียนรู้บนความท้าทาย (CBL)
ดร.ดนัย เทียนพุฒ
นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิและทีปรึกษาอิสระ
CBL หรือ Challenge Based Learning เป็นวิธีการเรียนรู้แบบใหม่ในโลกธุรกิจ ผ่านเข้า
มายังผู้เขียนในขณะทีค้นคว้าหาเกียวกับ วิธีการเรียนรู้แบบใหม่สําหรับองค์กรธุรกิจ
หลังจากทีผู้เขียนได้อ่านแนวคิดของ CBL (Challenge based Learning) และลองศึกษา
ทําความเข้าใจ จนกระทังมีข้อสรุปว่า
....เป็นวิธีการเรียนรู้แบบใหม่ทีน่าสนใจกับการนํามาทดลองใช้ในการเรียนการสอน ทังใน
สถาบันการศึกษาและสําหรับการพัฒนาคนในองค์กรธุรกิจ
....ขณะทีหลายคนต่างพูดกันว่า การเรียนรู้ทีเน้นการแก้ปัญหา หรือ PBL (Problem
based Learning) เป็นวิธีการเรียนรู้ทีดีกว่า การเรียนรู้ทีเน้นการสอน (Teaching based learning) ซึง
ผู้เขียนเห็นด้วย แต่ไม่เชือว่า PBL-การเรียนรู้ทีเน้นการแก้ปัญหา จะดีกว่าวิธีอืนๆ
ไม่มีปัญหาแล้วจะระดมความคิดได้อย่างไร?
ในตอนทีผู้เขียนได้รับเชิญจากบริษัทแห่งหนึงซึงขายเครืองจักรทีใช้ในการขึนรูป อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ต่าง
ๆ ทีอุตสาหกรรมต้องซือมาใช้
ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทดังกล่าว เชิญผู้เขียนมาหารือถึงแนวทางในการปรับเปลียนองค์กร ว่าจะมี
รูปแบบและวิธ◌ีการอย่างไร โดยข้อสรุปทีได้คือ การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการหัวข้อ “เปิดใจ (Open Mind)” โดยให้
ผู้เขียนมาเป็นวิทยากรดําเนินการในเรืองนี (ดังรูป)
ซึงผู้เข้าอบรมมีชาวต่างประเทศเข้าร่วมด้วย โดยเป็นชาวสิงคโปร์และญีปุ่น
เมือถึงตอนการฝึกปฏิบัติ ชาวญีปุ่นทีเข้าร่วมฝึกอบรมด้วยในตอนประชุมกลุ่มเพือหาแนวทางการเปิดใจ
ทํางานกับหุ้นส่วนธุรกิจ (Stakeholders) ได้พูดขึนมาว่า
“หากไม่มีปัญหาแล้วจะให้มาระดมความคิดกันในเรืองอะไร?”
สิงนีเป็นการสะท้อนให้เห็นแล้วว่า การเรียนรู้จากปัญหาแล้วหาทางแก้ไขพอทําไปนานๆ เข้าจะเกิดการติด
กับดักของปัญหา ทําให้ไม่สามารถคิดอะไรใหม่ ๆ ได้
2
CBL: Challenge Based Learning ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ 2556
แม้ว่า CBL จะใช้แนวคิดมาจาก PBL ก็ตามแต่ผู้เขียนกลับเห็นว่า เป็นวิธีการเรียนรู้ที
น่าสนใจและนํานามาใช้ในบริบทของธุรกิจและสถาบันการศึกษาในประเทศไทยได้
นีคือ จุดเริมต้นของการริเริมและพัฒนา “การเรียนรู้บนความท้าทาย (CBL)”
การเรียนรู้บนความท้าทายหรือ CBL (Challenge Based Learning) เป็นวิธีการสอนที
บุกเบิกโดยบริษัท Apple ทีอาศัยการเรียนรู้เน้นปัญหาหรือการแก้ปัญหาเป็นพืนฐาน โดยพัฒนาต่อยอด
ขึนมาในรูปแบบใหม่ทีผู้สอนและผู้เรียนทํางานร่วมกัน เพือเรียนรู้ในประเด็นทีสนใจแล้วเสนอโซลูชันต่อ
ความท้าทายในโลกทีแท้จริงและการนําไปดําเนินการ ขณะเดียวกันก็นําเทคโนโลยีเวบ 2.0 เข้ามาเป็น
เครืองมือในการทํางานร่วมกันและแบ่งปันการเรียนรู้ในระดับโลก
ตามเอกสารทีเผยแพร่ของบริษัท Apple หัวข้อ “Challenge Based Learning: Take
action and make a difference” (http://ali:apple.com/cbl/global/files/CBL-Paper.pdf) ว่าโครงการนี
เริมในปี 2008 เรียกว่า Apple Classrooms of Tomorrow-Today (ACOT2
)
สิงทีผู้เขียนอยากนําเสนอเป็นเบืองต้นก่อนเพือให้ทีท่านผู้อ่าน ผู้บริหารธุรกิจ หรือผู้ที
สนใจมีพืนฐานเกียวกับเครืองมือในการพัฒนาการเรียนรู้ โดยเฉพาะความแตกต่างของ CBL กับ PBL และ
การพัฒนาทักษะทีได้จาก CBL มีความสอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที 21 ดังนี
ความแตกต่างระหว่าง CBL กับ PBL
ในด้านนวัตกรรมของเครืองมือด้านวิธีการเรียนรู้ในยุคหลังๆ เราจะพบเห็นน้อยมาก ซึง
อาจเป็นเพราะระบบการศึกษาไทยมัวแต่ให้ความสนใจกับ การทําผลงานเพือขอตําแหน่งทางวิชาการทีเป็น
“Research Professor” กันมากจนลืมสร้างองค์ความรู้ด้านวิธีการเรียนรู้ การสอน ซึงอาจเรียกได้ว่าเป็น
“Teaching Professor”
อะไรเป็นสิงทีแตกต่างกันในวิธีการเรียนรู้แบบ CBP กับ PBL ผู้อ่านสามารถพิจารณาได้
จากตารางเปรียบเทียบดังนี
การเรียนรู้บนความท้าทาย : CBL
3
CBL: Challenge Based Learning ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ 2556
ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง CBL กับ PBL
PBL CBL
สหวิทยาการ สหวิทยาการ
เป็นความร่วมมือ เป็นความร่วมมือ
ผลได้ทีถูกคาดหวัง ผลได้ออกแบบโดยผู้เรียน
เน้นปัญหา เป็นโลกทีแท้จริง
การสังโดยผู้สอน แรงขับโดยผู้เรียน
จํากัดการเข้าถึงเทคโนโลยี เข้าถึงได้ 24 x 7
เน้นแนวคิด เน้นการทํา
ปรับเปลียนไม่ง่าย ปรับเปลียนได้ง่าย
แบ่งปันระดับท้องถิน เผยแพร่ระดับโลก
*Cauthron, M. (2010). Challenge Based Learning.
ความแตกต่างทีชัดเจนคือ การเรียนรู้บนความท้าทายหรือ CBL เป็นการออกแบบโดย
ผู้เรียน ขณะที PBL กําหนดผลได้ไว้ก่อน CBL เป็นโลกทีแท้จริง ไม่จํากัดอยู่ทีปัญหาแบบ PBL การเรียนรู้
แบบ CBL เป็นแรงขับโดยผู้เรียนไม่ใช่แบบ PBL ทีสังโดยผู้สอน และทีแตกต่างชัดเจนในการนําเทคโนโลยี
เวบ 2.0 เข้ามาใช้ทําให้การเรียนรู้และวัดผลการเรียนรู้ซึงจะต้องจัดทําโดยการเผยแพร่ในระดับโลกไม่ใช่แค่
ในระดับท้องถิน
สําหรับกรอบแนวคิด (The Framework) ของ CBL มีดังรูปที 1 (ในรายละเอียดจะทยอย
อธิบายและยกตัวอย่างประกอบ) ซึงประกอบด้วย 1) ไอเดียทียิงใหญ่ (Big Idea) 2) คําถามสําคัญ
(Essential Question) 3) ความท้าทาย(The Challenge) 4) การออกแบบ (Design) ประกอบด้วย
แนวทางคําถาม แนวทางกิจกรรม และแนวทางใช้ทรัพยากร 5)โซลูชันและการปฏิบัติ (Solution-Action) 6)
การวัดประเมิน (Assessment) 7) การเผยแพร่ (Publishing)
4
CBL: Challenge Based Learning ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ 2556
รูปที 1 The Framework of CBL
*http://ali/apple.com/cbl/global/files/CBL_Paper.pdf. p.2
ซึงในการนําไปใช้จริงต้องมีการศึกษา วิเคราะห์และทําความเข้าใจพอสมควรและถือเป็น
“นวัตกรรมใหม่ในการเรียนรู้”
การพัฒนาทักษะทีได้จาก CBL ซึงสอดคล้องกับทักษะ-ในศตวรรษที 21
การเรียนรู้บนความท้าทายทีผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันออกแบบการเรียนรู้โดยมีแรงขับมา
จากผู้เรียน ผลการศึกษาของ The New Media Consortium (2009; Laurence, F et al. Challenge
Based Learning: 15) พบว่า CBL ได้พัฒนาทักษะของผู้เรียนทีสอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที 21 ใน
ด้านเนือหาสําหรับศตวรรษที 21 (21st
Century Content) เข่น การตระหนักในระดับโลก (Global
Awareness) การรู้หนังสือของพลเมือง (Civic Literacy) ตระหนักในสุขภาพและความเป็นอยู่ทีดี (Health
5
CBL: Challenge Based Learning ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ 2556
and Wellness Awareness) – มีหนึงโครงการ ในด้านทักษะการเรียนรู้และการคิด (Learning and
Thinking Skills) เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving
Skills) ทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and
Innovation Skills) ทักษะด้านสารสนเทศและมีเดีย (Information and Media Literacy Skills) ทักษะการ
เรียนรู้ด้านบริบท (Contextual Learning Skills) ในด้านทักษะชีวิต (Life Skills) เช่น ความเป็นผู้นํา
(Leadership) การปรับตัว (Adaptability) ผลิตภาพส่วนบุคคล (Personal Productivity) และความ
รับผิดชอบส่วนบุคคล (Personal Responsibility) ทักษะด้านคน (People Skills) การสังการตนเอง (Self
Direction) และความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility)
ทังหมดนีเป็นทีมาของการเริมต้นทีทําให้ผู้เขียนนําการเรียนรู้บนความท้าทายหรือ CBL
(Challenge based Learning) มาพัฒนาต่อให้มีความเหมาะสมและปรับใช้กับสถานศึกษาในระดับ
ปริญญาโทและปริญญาเอก รวมถึงการใช้เป็นเครืองมือการเรียนรู้ของทรัพยากรบุคคลในองค์กรธุรกิจ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
Nong Max Z Kamilia
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
Kannika Kerdsiri
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
พัน พัน
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
Bigbic Thanyarat
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
Supaluk Juntap
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
everadaq
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
Thanawadee Prim
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 

Was ist angesagt? (20)

กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม
แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยมแนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม
แนวคิดปรัชญาสาขาพิพัฒนาการนิยม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 

Andere mochten auch

ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
Fh Fatihah
 

Andere mochten auch (6)

Challenge based learning: RE-MODEL
Challenge based learning: RE-MODELChallenge based learning: RE-MODEL
Challenge based learning: RE-MODEL
 
Apps for Challenge Based Learning
Apps for Challenge Based LearningApps for Challenge Based Learning
Apps for Challenge Based Learning
 
จินตวิศวกร Imagineer
จินตวิศวกร Imagineerจินตวิศวกร Imagineer
จินตวิศวกร Imagineer
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
 
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
 

Ähnlich wie Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :

Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Turdsak Najumpa
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 

Ähnlich wie Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย : (20)

PBL มัธยมต้น 2556_1
PBL มัธยมต้น 2556_1PBL มัธยมต้น 2556_1
PBL มัธยมต้น 2556_1
 
Cbl educa ok
Cbl educa okCbl educa ok
Cbl educa ok
 
ไตร่ตรองงานวิจัยของฉัน
ไตร่ตรองงานวิจัยของฉันไตร่ตรองงานวิจัยของฉัน
ไตร่ตรองงานวิจัยของฉัน
 
topic6_collaborative
topic6_collaborativetopic6_collaborative
topic6_collaborative
 
งานวิจัยครูแดง
งานวิจัยครูแดงงานวิจัยครูแดง
งานวิจัยครูแดง
 
PBLวิจัยในชั้นเรียน
PBLวิจัยในชั้นเรียนPBLวิจัยในชั้นเรียน
PBLวิจัยในชั้นเรียน
 
Thailand 4
Thailand 4Thailand 4
Thailand 4
 
Creativity-based learning [Cbl] workshop
Creativity-based learning [Cbl]   workshop Creativity-based learning [Cbl]   workshop
Creativity-based learning [Cbl] workshop
 
Plc
PlcPlc
Plc
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Curriculum Development (การพัฒนาหลักสูตร)
Curriculum Development (การพัฒนาหลักสูตร)Curriculum Development (การพัฒนาหลักสูตร)
Curriculum Development (การพัฒนาหลักสูตร)
 
Pre orientation
Pre orientationPre orientation
Pre orientation
 
High education21
High education21High education21
High education21
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716
 
การวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะการวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะ
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครูรูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
 
Learning innovative Design101
Learning innovative Design101Learning innovative Design101
Learning innovative Design101
 

Mehr von DrDanai Thienphut

บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 

Mehr von DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :

  • 1. 1 CBL: Challenge Based Learning ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ 2556 การเรียนรู้บนความท้าทาย (CBL) ดร.ดนัย เทียนพุฒ นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิและทีปรึกษาอิสระ CBL หรือ Challenge Based Learning เป็นวิธีการเรียนรู้แบบใหม่ในโลกธุรกิจ ผ่านเข้า มายังผู้เขียนในขณะทีค้นคว้าหาเกียวกับ วิธีการเรียนรู้แบบใหม่สําหรับองค์กรธุรกิจ หลังจากทีผู้เขียนได้อ่านแนวคิดของ CBL (Challenge based Learning) และลองศึกษา ทําความเข้าใจ จนกระทังมีข้อสรุปว่า ....เป็นวิธีการเรียนรู้แบบใหม่ทีน่าสนใจกับการนํามาทดลองใช้ในการเรียนการสอน ทังใน สถาบันการศึกษาและสําหรับการพัฒนาคนในองค์กรธุรกิจ ....ขณะทีหลายคนต่างพูดกันว่า การเรียนรู้ทีเน้นการแก้ปัญหา หรือ PBL (Problem based Learning) เป็นวิธีการเรียนรู้ทีดีกว่า การเรียนรู้ทีเน้นการสอน (Teaching based learning) ซึง ผู้เขียนเห็นด้วย แต่ไม่เชือว่า PBL-การเรียนรู้ทีเน้นการแก้ปัญหา จะดีกว่าวิธีอืนๆ ไม่มีปัญหาแล้วจะระดมความคิดได้อย่างไร? ในตอนทีผู้เขียนได้รับเชิญจากบริษัทแห่งหนึงซึงขายเครืองจักรทีใช้ในการขึนรูป อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ทีอุตสาหกรรมต้องซือมาใช้ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทดังกล่าว เชิญผู้เขียนมาหารือถึงแนวทางในการปรับเปลียนองค์กร ว่าจะมี รูปแบบและวิธ◌ีการอย่างไร โดยข้อสรุปทีได้คือ การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการหัวข้อ “เปิดใจ (Open Mind)” โดยให้ ผู้เขียนมาเป็นวิทยากรดําเนินการในเรืองนี (ดังรูป) ซึงผู้เข้าอบรมมีชาวต่างประเทศเข้าร่วมด้วย โดยเป็นชาวสิงคโปร์และญีปุ่น เมือถึงตอนการฝึกปฏิบัติ ชาวญีปุ่นทีเข้าร่วมฝึกอบรมด้วยในตอนประชุมกลุ่มเพือหาแนวทางการเปิดใจ ทํางานกับหุ้นส่วนธุรกิจ (Stakeholders) ได้พูดขึนมาว่า “หากไม่มีปัญหาแล้วจะให้มาระดมความคิดกันในเรืองอะไร?” สิงนีเป็นการสะท้อนให้เห็นแล้วว่า การเรียนรู้จากปัญหาแล้วหาทางแก้ไขพอทําไปนานๆ เข้าจะเกิดการติด กับดักของปัญหา ทําให้ไม่สามารถคิดอะไรใหม่ ๆ ได้
  • 2. 2 CBL: Challenge Based Learning ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ 2556 แม้ว่า CBL จะใช้แนวคิดมาจาก PBL ก็ตามแต่ผู้เขียนกลับเห็นว่า เป็นวิธีการเรียนรู้ที น่าสนใจและนํานามาใช้ในบริบทของธุรกิจและสถาบันการศึกษาในประเทศไทยได้ นีคือ จุดเริมต้นของการริเริมและพัฒนา “การเรียนรู้บนความท้าทาย (CBL)” การเรียนรู้บนความท้าทายหรือ CBL (Challenge Based Learning) เป็นวิธีการสอนที บุกเบิกโดยบริษัท Apple ทีอาศัยการเรียนรู้เน้นปัญหาหรือการแก้ปัญหาเป็นพืนฐาน โดยพัฒนาต่อยอด ขึนมาในรูปแบบใหม่ทีผู้สอนและผู้เรียนทํางานร่วมกัน เพือเรียนรู้ในประเด็นทีสนใจแล้วเสนอโซลูชันต่อ ความท้าทายในโลกทีแท้จริงและการนําไปดําเนินการ ขณะเดียวกันก็นําเทคโนโลยีเวบ 2.0 เข้ามาเป็น เครืองมือในการทํางานร่วมกันและแบ่งปันการเรียนรู้ในระดับโลก ตามเอกสารทีเผยแพร่ของบริษัท Apple หัวข้อ “Challenge Based Learning: Take action and make a difference” (http://ali:apple.com/cbl/global/files/CBL-Paper.pdf) ว่าโครงการนี เริมในปี 2008 เรียกว่า Apple Classrooms of Tomorrow-Today (ACOT2 ) สิงทีผู้เขียนอยากนําเสนอเป็นเบืองต้นก่อนเพือให้ทีท่านผู้อ่าน ผู้บริหารธุรกิจ หรือผู้ที สนใจมีพืนฐานเกียวกับเครืองมือในการพัฒนาการเรียนรู้ โดยเฉพาะความแตกต่างของ CBL กับ PBL และ การพัฒนาทักษะทีได้จาก CBL มีความสอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที 21 ดังนี ความแตกต่างระหว่าง CBL กับ PBL ในด้านนวัตกรรมของเครืองมือด้านวิธีการเรียนรู้ในยุคหลังๆ เราจะพบเห็นน้อยมาก ซึง อาจเป็นเพราะระบบการศึกษาไทยมัวแต่ให้ความสนใจกับ การทําผลงานเพือขอตําแหน่งทางวิชาการทีเป็น “Research Professor” กันมากจนลืมสร้างองค์ความรู้ด้านวิธีการเรียนรู้ การสอน ซึงอาจเรียกได้ว่าเป็น “Teaching Professor” อะไรเป็นสิงทีแตกต่างกันในวิธีการเรียนรู้แบบ CBP กับ PBL ผู้อ่านสามารถพิจารณาได้ จากตารางเปรียบเทียบดังนี การเรียนรู้บนความท้าทาย : CBL
  • 3. 3 CBL: Challenge Based Learning ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ 2556 ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง CBL กับ PBL PBL CBL สหวิทยาการ สหวิทยาการ เป็นความร่วมมือ เป็นความร่วมมือ ผลได้ทีถูกคาดหวัง ผลได้ออกแบบโดยผู้เรียน เน้นปัญหา เป็นโลกทีแท้จริง การสังโดยผู้สอน แรงขับโดยผู้เรียน จํากัดการเข้าถึงเทคโนโลยี เข้าถึงได้ 24 x 7 เน้นแนวคิด เน้นการทํา ปรับเปลียนไม่ง่าย ปรับเปลียนได้ง่าย แบ่งปันระดับท้องถิน เผยแพร่ระดับโลก *Cauthron, M. (2010). Challenge Based Learning. ความแตกต่างทีชัดเจนคือ การเรียนรู้บนความท้าทายหรือ CBL เป็นการออกแบบโดย ผู้เรียน ขณะที PBL กําหนดผลได้ไว้ก่อน CBL เป็นโลกทีแท้จริง ไม่จํากัดอยู่ทีปัญหาแบบ PBL การเรียนรู้ แบบ CBL เป็นแรงขับโดยผู้เรียนไม่ใช่แบบ PBL ทีสังโดยผู้สอน และทีแตกต่างชัดเจนในการนําเทคโนโลยี เวบ 2.0 เข้ามาใช้ทําให้การเรียนรู้และวัดผลการเรียนรู้ซึงจะต้องจัดทําโดยการเผยแพร่ในระดับโลกไม่ใช่แค่ ในระดับท้องถิน สําหรับกรอบแนวคิด (The Framework) ของ CBL มีดังรูปที 1 (ในรายละเอียดจะทยอย อธิบายและยกตัวอย่างประกอบ) ซึงประกอบด้วย 1) ไอเดียทียิงใหญ่ (Big Idea) 2) คําถามสําคัญ (Essential Question) 3) ความท้าทาย(The Challenge) 4) การออกแบบ (Design) ประกอบด้วย แนวทางคําถาม แนวทางกิจกรรม และแนวทางใช้ทรัพยากร 5)โซลูชันและการปฏิบัติ (Solution-Action) 6) การวัดประเมิน (Assessment) 7) การเผยแพร่ (Publishing)
  • 4. 4 CBL: Challenge Based Learning ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ 2556 รูปที 1 The Framework of CBL *http://ali/apple.com/cbl/global/files/CBL_Paper.pdf. p.2 ซึงในการนําไปใช้จริงต้องมีการศึกษา วิเคราะห์และทําความเข้าใจพอสมควรและถือเป็น “นวัตกรรมใหม่ในการเรียนรู้” การพัฒนาทักษะทีได้จาก CBL ซึงสอดคล้องกับทักษะ-ในศตวรรษที 21 การเรียนรู้บนความท้าทายทีผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันออกแบบการเรียนรู้โดยมีแรงขับมา จากผู้เรียน ผลการศึกษาของ The New Media Consortium (2009; Laurence, F et al. Challenge Based Learning: 15) พบว่า CBL ได้พัฒนาทักษะของผู้เรียนทีสอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที 21 ใน ด้านเนือหาสําหรับศตวรรษที 21 (21st Century Content) เข่น การตระหนักในระดับโลก (Global Awareness) การรู้หนังสือของพลเมือง (Civic Literacy) ตระหนักในสุขภาพและความเป็นอยู่ทีดี (Health
  • 5. 5 CBL: Challenge Based Learning ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ 2556 and Wellness Awareness) – มีหนึงโครงการ ในด้านทักษะการเรียนรู้และการคิด (Learning and Thinking Skills) เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving Skills) ทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation Skills) ทักษะด้านสารสนเทศและมีเดีย (Information and Media Literacy Skills) ทักษะการ เรียนรู้ด้านบริบท (Contextual Learning Skills) ในด้านทักษะชีวิต (Life Skills) เช่น ความเป็นผู้นํา (Leadership) การปรับตัว (Adaptability) ผลิตภาพส่วนบุคคล (Personal Productivity) และความ รับผิดชอบส่วนบุคคล (Personal Responsibility) ทักษะด้านคน (People Skills) การสังการตนเอง (Self Direction) และความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) ทังหมดนีเป็นทีมาของการเริมต้นทีทําให้ผู้เขียนนําการเรียนรู้บนความท้าทายหรือ CBL (Challenge based Learning) มาพัฒนาต่อให้มีความเหมาะสมและปรับใช้กับสถานศึกษาในระดับ ปริญญาโทและปริญญาเอก รวมถึงการใช้เป็นเครืองมือการเรียนรู้ของทรัพยากรบุคคลในองค์กรธุรกิจ