SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 32
โครงการ
เรื่อง ปันน้าใจให้ผู้ป่วย
จัดทาโดย
นายชัยวัฒน์ พลอยงาม เลขที่ 2
นายปิยเชษฐ์ มีความเจริญ เลขที่ 4
นางสาวจุติมา ประชาฉาย เลขที่ 22
นางสาวกัญณิฌา พรจิดาศิล เลขที่ 25
นางสาวภิญาดา เพ็ชรชาลี เลขที่ 27
นางสาวสิรีธร ขวัญอ่อน เลขที่ 29
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
วิชา IS3(I30903)
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2558
เกี่ยวกับโครงการ
เรื่องโครงการปันน้าใจให้ผู้ป่วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ IS3
ผู้จัดทา 1.นายชัยวัฒน์ พลอยงาม เลขที่ 2
2.นายปิยเชษฐ์ มีความเจริญ เลขที่ 4
3.นางสาวจุติมา ประชาฉาย เลขที่ 22
4.นางสาวกัญณิฌา พรจิดาศิล เลขที่ 25
5.นางสาวภิญาดา เพ็ชรชาลี เลขที่ 27
6.นางสาวสิรีธร ขวัญอ่อน เลขที่ 29
ครูที่ปรึกษา ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
สถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ปีการศึกษา 2558
ก
คานา
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น ปั จ จุ บั น นี้ มี ป ร ะ ช า ก ร อ ยู่ เ ป็ น จ า น ว น ม า ก
การใ ช้ชีวิตใน แต่ละ วัน นั้ น ก็คลุกคลีอยู่กับมลภ าวะ ที่อาจก่อให้ เกิดโรคต่างๆ ตามมา
ท า ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ข อ ง เ ร า มี ผู้ ที่ ป่ ว ย เ ป็ น โ ร ค ต่ า ง ๆ อ ยู่ ม า ก
ซึ่ ง ก็ มี ผู้ ป่ ว ย ส่ ว น ห นึ่ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ก า ร รั บ ก า ร รั ก ษ า พ ย า บ า ล อ ยู่
เนื่ อ ง จ า ก ข าด แ ค ล น ทุ น ท รั พ ย์ แ ล ะ ยัง มีภ าร ะ ห น้ าที่ อื่ น ๆ ที่ ต้ อ ง รั บ ผิ ด ช อ บ
บางโรคก็ต้องใช้เงิน ใน การรักษาเป็ น จาน วน มาก ทาให้ผู้ป่ วยขาดโอกาสใน การรักษาไป
จึงมีหน่วยงานต่างๆทั้งของภาครัฐและเอกชนที่จัดตั้งโครงการและกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยยากไร้เหล่านี้
ให้ได้รับการรักษา
กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้จัดทาโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือผู้อื่นที่มีความเดือดร้อนและเ
พื่ อ ใ ช้ เว ล าใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด ก ลุ่ม ข อ ง ข้ า พ เ จ้า ห วัง ว่า โ ค ร ง ก า ร นี้
คงจะมีประโยชน์ให้กับสังคมไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
ข
กิตติกรรมประกาศ
ในการจัดทาโครงการปันน้าใจให้ผู้ป่วยฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่าน
ซึ่งไม่อาจจะน ามากล่าวได้ทั้งหมด ซึ่งผู้มีพระ คุณที่คณะผู้จัดทาใคร่ขอกราบพ ระคุณคือ
ท่านผู้อานวยการโอภาส เจริญเชื้อ ที่ช่วยอานวยสถานที่ในการรับเงินบริจาค คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
ครูผู้สอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน
เพื่ อ ใ ห้ ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก าร ฉ บั บ นี้ ส ม บู ร ณ์ ที่ สุ ด คุ ณ ค รู อั ม พ ร ห ว า น ใ จ
ที่ช่วยใ ห้คาแน ะ น าใ น ส่วน ของรูป แบบการทาโครง การให้ มีความสมบูรณ์มากยิ่ง ขึ้ น
โ ร ง พ ย า บ า ล พ ห ล พ ล พ ยุ ห เ ส น า
ที่จัดตั้งกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจนนี้ขึ้นมาทาให้คณะผู้จัดทาได้ร่วมสมทบทุนกองทุน
นี้ คุ ณ พ่ อ จ อ ม พ ล เ พ็ ช ร ช า ลี แ ล ะ คุ ณ แ ม่ ว า ส น า เ พ็ ช ร ช า ลี
ที่ช่วยสนับสนุนในด้านการติดต่อและจัดหาสถานที่ในการทาโครงการเป็นอย่างดี คุณน้าทิพย์ นาคพยนต์
เ จ้ า ห น้ า ที่ ข อ ง โ ร ง พ ย า บ า ล
ที่ดาเนินการรับเงินบริจาคจากโครงการไปสมทบทุนกับกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจนใน
โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา คณะผู้จัดทาใคร่ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่าสูง ไว้ณ โอกาส นี้
นอกจากนี้ คณะผู้จัดทาใคร่ขอขอบคุณผู้ปกครองของสามชิกในกลุ่มทุกคน รวมทั้งคณะครู
บุคลากร และ นั กเรียน โรงเรียน เฉลิมพ ระ เกียรติสมเด็จพ ระ ศรี น คริ น ทร์ กาญ จน บุ รี
ทุ ก ค น ที่ ร่ ว ม บ ริ จ า ค เ งิ น ส ม ท บ ทุ น โ ค ร ง ก า ร ปั น น้ า ใ จ ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย
จึงทาให้โครงการฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
คณะผู้จัดทา
ค
สารบัญ
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทที่1 โครงการ 1
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี 3
สถานการณ์และแนวโน้มของปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ 4
ประวัติโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา 12
บทที่3 วิธีการดาเนินงาน 13
ขั้นตอนการวางแผน 13
ขั้นดาเนินงาน 13
บทที่4 ผลการดาเนินงาน 14
บทที่5 สรุปผลและอภิปรายผล 15
สรุปผลการดาเนินงาน 15
อภิปรายผลการดาเนินงาน 15
บรรณานุกรม 16
ภาคผนวก 17
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 2.1 ความเชื่อมโยงและพลวัตที่เกี่ยวกับสุขภาพ 4
ภาพที่2.2 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยของประเทศไทย 5
ภาพที่2.3 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศไทยเฉลี่ยต่อหัว พ.ศ.2503 – พ.ศ.2552 (ราคาตลาด) 6
ภาพที่ 2.4 สัดส่วนของเศรษฐกิจ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ
ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ พ.ศ.2503-พ.ศ. 2552 7
ภาพที่ 2.5 สัดส่วนความยากจนของประเทศไทยวัดจากรายจ่าย พ.ศ.2505-พ.ศ.2552 8
ภาพที่ 2.6 ตารางสัดส่วนคนจนวัดจากรายจ่าย จาแนกตามพิ้นที่ พ.ศ.2505-พ.ศ.2552 9
ภาพที่ 2.7 ส่วนแบ่งรายได้ของประชาชนชาวไทย แยกเป็น 5กลุ่มดังนี้ 10
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงจานวนเงินที่ได้รับบริจาคในแต่ละวัน 14
1
บทที่ 1
โครงการ
1. หลักการและเหตุผล
เราทุกคนต่างทราบว่าเรื่องเกี่ยวกับด้านสาธารณสุขหรือชีวิตความเป็นอยู่ด้านสุขภาพของมนุษย์มี
ค ว า มจ า เป็ น เช่ น เมื่ อ เ ร า เจ็ บ ไ ข้ ไ ด้ ป่ ว ย ไ ม่ส บ า ย เ กิ ด อุ บั ติ เ ห ตุ ห รื อ อื่ น ๆ
เราจาเป็นที่จะต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์เพื่อให้รอดพ้นจากโรคภัยนั้นๆและอยู่อย่างมีสุขภาพที่ดี
และจากที่มีผู้ปกครองของสมาชิกในกลุ่มได้ทางานอยู่ที่โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาได้เห็นถึงว่ามีผู้ที่ขัดส
น ใ น เรื่ องของค่ารักษาพ ยาบาลอยู่จาน วน ไม่น้ อย ทาใ ห้ขาดโอกาสใน กา รรักษาเช่น
ช า ว บ้ า น บ า ง ร า ย ไ ม่ไ ด้ มี ร า ย ไ ด้ สู ง แ ล ะ จ า เป็ น ต้ อ ง ใ ช้ เ งิ น ใ น เรื่ อ ง อื่ น ๆ
บ้างต้องส่งลูกเรียน ห รือบ้างมีบ้าน อยู่ไกลต้องใช้เงิน ในการเดิน ทางห รือเดิน ทางลาบาก
จึงเลี่ยงที่จะนาเงินมารักษาตนไปใช้สอยกับบุคคลรอบข้าง จึงขาดโอกาสในการรับการรักษาไป
ทางโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาก็มีการจัดตั้งกองทุนสังคมสงเคราะห์ขึ้นทาให้คณะผู้จัดทาอยา
กมีส่วน ร่วมเป็ นห นึ่ งใน โครงการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อช่วยเห ลือผู้ป่ วยที่ขัดสน ค่ารักษาพ ยาบาล
จึงได้ทากิจกรรมร่วมรับบริจาคจากผู้ที่สนใจและอยากร่วมช่วยเหลือโดยการนาเสนอข้อมูลของโครงการสัง
คมสงเคราะห์
2. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่โครงการ
1. ความพอประมาณ คือ การเลือกช่วยผู้ป่วยเป็นบางรายที่เราสามารถช่วยเหลือได้
2.ความมีเหตุผล คือการร่วมรับบริจาคในครั้งนี้ เราเลือกรับบริจาคให้กับโรงพยาบาลประจาจังหวัด
ซึ่งมีผู้ป่วยเข้ารับการศึกษาเป็นจานวนมาก
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีคือไม่ตั้งเป้าหมายจานวนผู้ป่วยที่จะช่วยเหลือเกินกาลังที่เราจะช่วยได้
เงื่อนไข
1 . เ งื่ อ น ไ ข ค ว า ม รู้
ใช้ความรู้ความสามารถในการโน้มน้าวจิตใจให้ผู้คนทั่วไปร่วมกันบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ป่วยที่ขาดแคลนค่า
รักษาพยาบาล
2
2 .
เงื่อนไขคุณธรรมให้สมาชิกในกลุ่มรู้จักช่วยเหลือผู้อื่นและได้ตระหนักว่าเงินจานวนเล็กน้อยที่เรารับบริจาค
มาสามารถช่วยเหลือคนอื่นให้บรรเทาความเดือดร้อนได้
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อนาเงินที่ได้รับบริจาคไปช่วยสมทบทุนกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน
2. เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือผู้ป่วยยากไร้
4. สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา
5. วิธีการดาเนินการ
1. ปรึกษาการทาโครงการกันภายในกลุ่ม
2. หาข้อมูลเลือกสถานที่ที่จะลงมือปฏิบัติ
3. ติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่-สถานที่
4. จัดเตรียมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการลงมือปฏิบัติ และลงมือปฏิบัติ
5. ติดตามการบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ป่วย
6. สรุปโครงการ
7. จัดทาเว็บไซด์เผยแพร่ข้อมูล
6. ระยะเวลาดาเนินงาน
เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกันยายน พ.ศ.2558
7. รายละเอียดงบประมาณของโครงการ
ค่าเดินทางไปโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา 120 บาท
8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
3
1. ได้มีส่วนช่วยเหลือผู้ที่มีความเดือดร้อน
2. ทาให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ
3. รู้จักวางแผนการทางานเป็นกลุ่ม
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
หลักการและเหตุผล
ใ น ว โร ก าส ที่ ส มเด็ จ พ ร ะ เท พ รัต น ร า ช สุ ด า ฯ ส ย าม บ ร มร าช กุ มา รี
เ ส ด็ จ พ ร ะ ร า ช ด า เ นิ น ท ร ง เ ยี่ ย ม โ ค ร ง ก า ร ต า ม พ ร ะ ร า ช ด า ริ ฯ
และทรงเยี่ยมราษฎรในท้องถิ่นทุรกันดารห่างไกลการคมนาคม มีคณะแพทย์จากโรงพยาบาลต่างๆ
ซึ่ ง อ ยู่ ใ น พื้ น ที่ ใ ก ล้ เ คี ย ง ไ ด้ ร่ ว ม อ อ ก ห น่ ว ย แ พ ท ย์ พ ร ะ ร า ช ท า น
เพื่ อ ป ริ ก ารต ร วจ รัก ษ าใ ห้ กับ ราษ ฎ ร ที่ เจ็บ ป่ ว ยเห ล่านี้ ได้ห ายจ าก โรค ภั ยต่าง ๆ
ส่วนหนึ่งได้รับเข้าไว้เป็นคนไข้ในพระราชานุเคราะห์ แต่ยังมีราษฎรอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งไม่มีโอกาสดังกล่าว
จึ ง ไ ด้ พ ร ะ ร า ช ท า น เ งิ น ใ ห้ โ ร ง พ ย า บ า ล เ ห ล่ า นั้ น ไ ว้ ส า ห รั บ จั ด ตั้ ง
"กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี" ขึ้น
วัตถุประสงค์
เพื่อให้โรงพยาบาลมีเงินทุนพอเพียงที่จะสงเคราะห์คนไข้ที่ยากจนได้
การดาเนินงาน
4
1. สมเด็จพ ระ เทพ รัตน ราช สุ ดาฯสยามบรมราช กุมารี พ ระ ราช ทาน เงิ น ทุ น
จาน วน ห นึ่ ง ใ น การเริ่ มก่อตั้ง " กอง ทุ น พ ระ ราช ท าน เพื่ อส ง เคราะ ห์ คน ไข้ยาก จน
ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี" แก่ผู้แทนโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้อง
2. โรงพยาบาลดาเนินการจัดตั้ง "กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน
ใ น ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รั ต น ร า ช สุ ด า ฯ ส ย า ม บ ร ม ร า ช กุ ม า รี "
โดยอนุ โลมตามระ เบียบราช การพ ร้อมทั้งกาห น ดระเบียบ วิธี การใ ช้จ่ายเงิ น และ อื่น ๆ
เพื่อให้บรรลุตามพระราชประสงค์
3. ส่งเสริมให้ราษฎร และผู้มีจิตศรัทธาร่วมสมทบในกองทุนดังกล่าว
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ให้การสงเคราะห์ผู้ป่วยที่ยากจน ได้อย่างถูกต้องและทันการ
สถานการณ์และแนวโน้มของปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
สุ ข ภ า พ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ เ ชื่ อ ม โ ย ง กั บ ปั จ จั ย ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย ดั ง นั้ น
การวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มปัญหาสุขภาพของไทยจึงต้องวิเคราะห์และสังเคราะห์จากการเปลี่ยน
แปลงของปัจจัยต่างๆ ทั้งด้านปัจเจกบุคคล และทางด้านสภาพแวดล้อมทุกมิติที่จะกระทบต่อปัญหาสุขภาพ
รวมทั้งตัวระบบบริการสุขภาพเอง
5
ภาพที่ 2.1 ความเชื่อมโยงและพลวัตที่เกี่ยวกับสุขภาพ
1.สถานการณ์และแนวโน้มด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ
1.1 การเติบโตทางเศรษฐกิจ
ในช่วง 3 ทศวรรษก่อน พ.ศ.2540 ที่ผ่านมา เศรษฐกิจของไทยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยกว่าร้อยละ 7
ต่ อ ปี มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม ว ล ร ว ม ป ร ะ ช า ช า ติ ต่ อ หั ว เ พิ่ ม ขึ้ น ถึ ง 2 8 เ ท่ า
โดยเฉพาะมีการเพิ่มอย่างรวดเร็วมากตั้งแต่ช่วง พ.ศ.2529 เป็นต้นมา แต่นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจใน
พ.ศ.2540ทาให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่เคยเติบโตเฉลี่ยกว่าร้อยละ 7 กลับเป็นติดลบร้อยละ 1.7ใน
พ.ศ.2540 และติดลบร้อยละ 10.8ใน พ.ศ.2541 (ภาพที่4.2) ซึ่งส่งผลกระทบต่อผลผลิตมวลรวมต่อหัว (ภาพ
4.3) ดังนั้ น ประ เทศไทยได้แก้ไขปั ญห าเศรษฐกิจด้วยมาตรการทางการเงิน และ การคลัง
ส่งผลให้เศรษฐกิจเริ่มมีการฟื้นตัวเป็นบวกด้วยอัตราร้อยละ 4.2 ใน พ.ศ.2542เป็นร้อยละ7.1 ใน พ.ศ.2546
และต่อมาเกิดวิกฤตเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลกใน พ.ศ.2551ทาให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจติดลบร้อยละ
2.2 ใน พ.ศ.2552 และจะฟื้นตัวเป็น 7.0 ใน พ.ศ.2553 อันเนื่องจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก
ภาพที่ 2.2 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยของประเทศไทย
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
6
หมายเหตุ : เป็นข้อมูลประมาณการ
ภาพที่ 2.3 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศไทยเฉลี่ยต่อหัว พ.ศ.2503 –พ.ศ.2552 (ราคาตลาด)
ที่มา :สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หมายเหตุ :1.เป็นข้อมูลเบื้องต้น เป็นข้อมูลประมาณการ
2.ตั้งแต่พ.ศ.2537 เป็นต้นมามีการปรับข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศใหม่
1.2 โครงสร้างทางเศรษฐกิจ
โครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่สัดส่วนของเศรษฐกิจในภาค
อุตสาหกรรมและบริการเติบโตเร็วกว่าภาคเกษตรกรรม (ภาพที่ 4.4) โดยตั้งแต่พ.ศ.2533 เป็ นต้นมา
โค ร ง ส ร้า ง ก าร ผ ลิ ต ใ น ภ าค เก ษ ต ร ก ร ร ม ภ าค อุ ต ส า ห ก ร รม แ ล ะ ภ าค บ ริ ก า ร
จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนมากนัก
7
ภาพที่ 2.4 สัดส่วนของเศรษฐกิจ ภาคเกษตรกรรม
ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ พ.ศ.2503-พ.ศ. 2552
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หมายเหตุ : เป็นข้อมูลเบื้องต้น
1.3 การกระจายรายได้และความยากจน
สถานการณ์ความยากจนของประเทศไทยได้มีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ 5.70ใน พ.ศ.2505 เป็นร้อยละ14.7
ในพ.ศ.2539 อันเนื่องมาจาก การขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยอย่างรวดเร็วในช่วงเวลาดังกล่าว
แต่หลังจากวิกฤตเศรษฐกินในปีพ.ศ.2540 ทาให้สัดส่วนความยากจนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ14.7ในพ.ศ.2539
เป็ น ร้อยละ 20.9 ใน พ.ศ.2543 และ กลับมีแน วโน้มลดลงเห ลือเพียงร้อยละ 8.1 ในพ .ศ. 2552
อันเนื่องมาจากการฟิ้ นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศและถึงแม้ว่าความยากจนจะลดลงเป็ นลาดับ
แต่สัดส่วนคนจนในชนบทมากกว่าในเขตเมืองถึง 3 เท่า
8
ภาพที่ 2.5 สัดส่วนความยากจนของประเทศไทยวัดจากรายจ่าย พ.ศ.2505-พ.ศ.2552
ที่มา : พ .ศ.2505/ พ .ศ.2506 - พ .ศ.2518/พ .ศ.2519 ได้จาก เอื่อย มีสุ ข ,Income,Consumption and
Povertyin Thailand,1962/63 to 1975/76.
พ .ศ .2531 -พ .ศ .2552 ไ ด้จ าก ก าร ส า รว จ ภ าวะ เศ ร ษ ฐ กิจ แ ล ะ สั ง ค ม ข อ ง ค รั วเ รื อ น
ป ร ะ ม ว ล ผ ล โ ด ย ส า นั ก พั ฒ น า ข้ อ มู ล แ ล ะ ตั ว ชี้ ภ า ว ะ สั ง ค ม
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ห ม า ย เ ห ตุ :
การศึกษาความภาะวะความยากจนของประเทศในแต่ละช่วงมีความแตกต่างในสมมติฐานของการศึกษา
9
ภาพที่ 2.6 ตารางสัดส่วนคนจนวัดจากรายจ่าย จาแนกตามพิ้นที่ พ.ศ.2505-พ.ศ.2552
ที่มา: พ.ศ.2505/พ.ศ.2506- พ.ศ.2518/ พ.ศ.2519 ได้จาก เอื้อย มีสุข ,Income,Consumption and Poverty
in Thailand,1962/63 to1975/76
พ .ศ .2531- พ .ศ .2552 ได้จากก ารส ารว จส ภ าวะ เศร ษ ฐ กิจ แล ะ สั ง ค มครัว เรื อ น
ป ร ะ ม ว ล ผ ล โ ด ย ส า นั ก พั ฒ น า ฐ า น ข้ อ มู ล แ ล ะ ตั ว ชี้ วัด ภ า ว ะ สั ง ค ม
สานักคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ส า ห รั บ ก า ร ก ร ะ จ า ย ร า ย ไ ด้ ข อ ง ไ ท ย พ บ ว่ า
ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนกลับขยายกว้างขึ้นมาโดยตลอดและเมื่อวิกฤตเศรษฐกิจทาให้การกระจายร
ายได้มีความเหลื่อมล้ามากขึ้น กล่าวคือ กลุ่มคนที่จนที่สุด 20%มีสัดส่วนรายได้ลดลงจากร้อยละ 4.2 ใน
พ.ศ.2539 เป็นร้อยละ 3.9ใน พ.ศ.2543 ในขณะที่คนรวยสุด20% สุดท้ามีรายได้สูงขึ้นจาก56.7เป็น 57.6
ในช่วงเดียวกัน ส่วนใน พ.ศ.2544-พ.ศ.2552 การกระจายรายได้มีแนวโน้มดีขึ้นเล็กน้อย
10
ภาพที่ 2.7 ส่วนแบ่งรายได้ของประชาชนชาวไทย แยกเป็น 5กลุ่มดังนี้
ที่ ม า : พ .ศ . 2505-พ .ศ . 2535
ได้จากสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไ
ทย
พ .ศ . 2537-พ .ศ . 2552
ได้จากการสารวจภ าวะ เศรษฐกิจและ สังคมของครัวเรื อน ของสานักงาน สถิติแห่ง ช าติ
ประมวลผลโดยสานักประเมินผลและเผยแพร่การพัฒนาและสานักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม
สานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
1.4 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับโลกและภูมิภาค
กระแสโลกาภิวัตน์ ทาให้โลกก้าวเข้าสู่การค้าเสรีและมีการรวมตัวกันเป็ นกลุ่มการค้าภูมิภาค
เ พื่ อ ส ร้ า ง อ า น า จ ต่ อ ร อ ง เ ข้ า ด้ ว ย กั น
จึงมีความเคลื่อนไหวในเรื่องความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคที่ไทเข้าร่วมอยู่ด้วยเช่น AFTA
( ASEAN Free Trade Area) ,APEC( Asia Pacific Economic Cooperation) , ASEM( Asia-Europe Meeting)
11
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจสามเหลี่ยมใต้ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา แม่โขง ด้านความร่วมมือในภูมิภาคอื่น ได้แก่NAFTA(North
America Free Trade Area
)น อกจากนี้ ยังมีความร่วมมือระดับโลกก็เป็ น เรื่ องข้อตกลง ทาง การค้าระ ห ว่าง ประเทศ
ซึ่ ง มี อ ง ค์ ก า ร ก า ร ค้ า โ ล ก ( WTO) เ ป็ น ผู้ ดู แ ล อ ยู่
ทาให้เกิดการเปิ ดตลาดการค้าเสรีขึ้ นและการแข่งขัน ทางการค้าจะทวีความรุน แรงมากขึ้ น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช้ภาษีเป็นเครื่องมือกีดกันทางก
ารค้ากับประเทศที่กาลังพัฒนา
การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบสุขภาพไทย ดังนี้
1.ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ3.8ของGDP ใน พ.ศ.2523
เป็นร้อยละ6.48ของGPD ใน พ.ศ.2551
2. บทบ าท ทั้ง ภ าครัฐ /เอกช น ใน การจัดบ ริก ารสุ ขภ าพ พ บว่าตั้ งแต่ พ .ศ .2544
ที่รัฐบาลได้ดาเนินนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าส่งผลให้ผู้ป่วยนอกออกมาใช้บริการภาครั
ฐเพิ่มขึ้น3เท่า ในขณะที่ผู้ป่วยในใช้บริการภาครัฐแทบจะไม่มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
3 . ก า ร ก ร ะ จ า ย ร า ย ไ ด้ ที่ เ ห ลื่ อ ม ล้ า ร ะ ห ว่า ง ค น ร ว ย แ ล ะ ค น จ น
ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ไ ม่เ ท่ า เ ที ย ม กั น ใ น ก า ร ก ร ะ จ า ย ท รั พ ย า ก ร สุ ข ภ า พ
แ ม้ว่า ท รั พ ย า ก ร แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น ใ น ก า ร จั ด บ ริ ก า ร จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น
แ ต่ ปั ญ ห า ค ว า ม เ ห ลื่ อ ม ล้ า ใ น ก า ร ก ร ะ จ า ย ท รั พ ย า ก ร ยั ง มี สู ง ม า ก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคเอกชนที่เติบโตอย่างรวดเร็ว ได้ดูดทรัพยากรบุคคลจากชนบทเข้าสู่เมือง
แ ล ะ จ า ก ค น จ น ไ ป สู่ ค น ร ว ย ซึ่ ง ค ว า ม ไ ม่ เ ท่ า เ ที ย ม ดั ง ก ล่ า ว
ทาให้กลุ่มด้อยโอกาสในชนบทที่ห่างไกลความเจริญและคนที่อยู่ในชุมชนแออัดมีโอกาสได้รับการดูแล
สุขภาพจากรัฐไม่ทั่วถึง
4.ปั ญ ห าสุ ข ภ าพ จิต มีแ น วโน้ มเพิ่ ม ขึ้ น แ ม้ว่าจะ ผ่าน วิก ฤต เศรษ ฐ กิจไป แ ล้ว
แต่ปัญหาสุขภาพจิตก็ยังมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ
5.ง บ ป ร ะ ม า ณ ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง รั ฐ มี แ น ว โ น้ ม เ พิ่ ม ขึ้ น
ง บ ป ร ะ มา ณ ด้าน สุ ข ภ าพ ข อ ง รั ฐ ผัน แ ป ร ไป ต า มภ าว ะ เศ ร ษ ฐ กิจ ก ล่าว คื อ
ใน ช่วง เศรษ ฐกิจฟ อง ส บู่ง บ ประ มาณ ด้าน สุ ขภ าพ ขอ งรัฐ จะ มีแ น วโน้ มสู ง ขึ้ น
12
โดยกระทรวงสาธารณสุขได้รับงบประมาณเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ7.7ของงบประมาณประเทศ
ขณะที่ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจกระทรวงสาธารณสุขได้รับงบประมาณลดลง จนกระทั่ง ตั้งแต่พ.ศ.2544
เป็ น ต้ น ม า รั ฐ บ า ล มี น โ ย บ า ย ส ร้ า ง ห ลั ก ป ร ะ กัน สุ ข ภ า พ ถ้ ว น ห น้ า
ส่ ง ผ ล ใ ห้ มี ก า ร จั ด ส ร ร ง บ ป ร ะ ม า ณ ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง รั ฐ เ พิ่ ม ขึ้ น
โดยเฉพาะงบดาเนินการจึงทาให้งบประมาณกระทรวงสาธารณสุข เพิ่มขึ้น
6.ก า ร เปิ ด เ ส รี ก าร ค้า แ ล ะ ค ว า มร่ว มมื อ ท า ง เศ ร ษ ฐ กิ จ ร ะ ห ว่าง ป ร ะ เท ศ
ท าใ ห้ มี ก าร แ ข่ง ขัน ท าง ก าร ค้า ต ล อ ด จ น มีก าร กีด กัน ท าง ก า ร ค้า ม าก ขึ้ น
ส่ง ผ ลกระ ท บต่ออุ ตส าห กรรมเกี่ยวกับผ ลิต ภัณ ฑ์ แล ะ บ ริ การสุ ข ภ าพ บ าง ส่วน
นอกจากนี้ จะส่งผลให้เกิดการยกระดับความร่วมมือในมิติด้านสังคมและสาธารณสุขมากขึ้น
เช่น การร่วมมือแก้ไขปั ญ ห าการป้ อง กัน และ ค วบคุมโรค ติดต่อ ใน คน และ สัต ว์
ซึ่งหากไม่มีการเตรียมการรองรับที่ดีก็จะส่งผลกระทบให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคระหว่างประเทศ
ประวัติโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา
โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาจังหวัดกาญจนบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 572 ถนนแสงชูโตใต้ ตาบลปากแพรก
อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่ 60 ไร่ 2 งาน และห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 129 กิโลเมตร
โดยมีอาณาเขตดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ที่ดินเลขที่ 60
ทิศใต้ ติดต่อกับ ทางหลวงแผ่นดินสายแสงชูโต อ.เมือง - อ.ท่าม่วง
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ทางส่วนบุคคล , ศาลากลางจังหวัดกาญจนบุรี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ทางสาธารณะประโยชน์
โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา สร้างขึ้น โดยกระทรวงมหาดไทย ตามมติของคณะรัฐมนตรี และได้
แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการเรี่ยไร เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ.
2493 โดยเชิญชวนข้าราชการ และประชาชนทั่วประเทศ ให้มีส่วนร่วมบริจาคเงินสมทบเพื่อจัดสร้างโรงพย
าบาลและอนุสาวรีย์ ของพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา
ไว้เป็นอนุสรณ์แห่งคุณงามความดีของท่านที่มีต่อประเทศชาติขึ้นที่จังหวัดกาญจนบุรี โดยใช้ชื่อว่า "
โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา " ซึ่งได้ก่อสร้างแล้วเสร็จ ทาพิธีเปิดฉลอง เมื่อวันที่ 3 - 5 พฤษภาคม พ.ศ.
2496 เดิมโรงพยาบาลมีพื้นที่เป็นหลุมเป็นบ่อ เพราะเคยเป็นที่ตั้งของทหารญี่ปุ่น
เมื่อครั้งสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งโรงพยาบาลปรับปรุงตกแต่งจนราบเรียบและสวยงาม
13
โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2494
และได้เริ่มเปิดดาเนินการและให้บริการแก่ผู้ป่วย เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.
2496 ขณะนี้เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 440 เตียง เมื่อเริ่มเปิดให้บริการนั้นมีอาคารเพียง 4หลัง คือ
1. ตึกอานวยการ จานวน 1 หลัง
2. ตึกผ่าตัด จานวน 1 หลัง
3. ตึกเอ็กซเรย์ จานวน 1 หลัง
4. ตึกคนไข้ จานวน 2 หลัง
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
ขั้นตอนการวางแผน
1.ประชุมสมาชิกเพื่อเลือกหัวข้อโครงการ
2.เลือกสถานที่ ที่จะดาเนินโครงการ
3.ติดต่อสถานที่
ขั้นดาเนินงาน
1.เตรียมอุปกรณ์ทากล่องรับบริจาค
2.ทากล่องรับบริจาค โดยเริ่มจาก
- นาลังเบียร์ 1ลัง มาหุ้มด้วยกระดาษสี
- เขียนรายระเอียดโครงการแปะลงบนกล่องรับบริจาค
3.ทาการรับบริจาคจากบุคคลากรใน โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ที่มีความสนใจที่จะร่วมบริจาค
4.รวบรวมเงินที่ได้จากการร่วมบริจาค ให้หน่วยงานสังคมสงเคราะห์ของโรงพยาบาล พหลพยุหเสนา
14
5.สรุปผลการดาเนินงาน
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
จากการรับบริจาคเงินจากคณะครู บุคลากร
และนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในโครงการปันน้าใจให้ผู้ป่วยเพื่อสมทบทุนกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงจานวนเงินที่ได้รับบริจาคในแต่ละวัน
วันที่ จานวนเงินที่ได้รับบริจาค (บาท)
7 ก.ย. 58 138
8 ก.ย. 58 215
9 ก.ย. 58 109
10 ก.ย. 58 183
11 ก.ย. 58 355
รวม 1000
15
บทที่ 5
สรุปผลและอภิปรายผล
สรุปผลการดาเนินงาน
จากการดาเนินงานโครงการปันน้าใจให้ผู้ป่วยเพื่อหาเงินบริจาคสมทบทุนกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะ
ห์คนไข้ยากจน ณ โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาได้เงินบริจาครวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1000 บาท
อภิปรายผลการดาเนินงาน
จากการทาโครงการปันน้าใจให้ผู้ป่วยโดยเริ่มจากการสนใจปัญหาของผู้ป่วยที่มีความขาดแคลนเงินในการรั
ก ษ า พ ย า บ า ล
กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับกองทุนที่ให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีความขาดแคลนนี้
แ ล ะ พ บ ว่ามี ก อ ง ทุ น ที่ ใ ห้ ค ว า ม ช่ว ย เ ห ลื อ ผู้ ป่ ว ย ที่ ย า ก ไ ร้ เป็ น จ า น ว น ม า ก
เ ร า จึ ง ไ ด้ เ ลื อ ก ก อ ง ทุ น ที่ มี อ ยู่ ใ น จั ง ห วั ด ก า ญ จ น บุ รี
ซึ่งคือกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจนในโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาซึ่งก็เป็นโรงพยาบา
ล ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด ที่ มี ผู้ ม า เ ข้ า ม า รั บ ก า ร รั ก ษ า เ ป็ น จ า น ว น ม า ก
ก ลุ่ม ข อ ง ข้ า พ เจ้ าไ ด้ ท าก า ร ท า ก ล่อ ง รั บ บ ริ จ าค เงิ น จ า ก ค ณ ะ ค รู บุ ค ล าก ร
16
และนักเรียนในโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี เป็นระยะเวลา 5 วัน
นั บ ตั้ ง แ ต่ วั น ที่ 7 กั น ย า ย น ถึ ง วั น ที่ 1 1 กั น ย า ย น พ .ศ .2 5 5 8
ซึ่ ง ร ว ม จ า น ว น เ งิ น ที่ ไ ด้ รั บ บ ริ จ า ค ม า ทั้ ง ห ม ด เ ป็ น จ า น ว น 1 0 0 0 บ า ท
กลุ่มของข้าพเจ้าจึงนาเงินส่วนนี้ ทั้งหมดไปร่วมสมทบทุนในกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจ
น ณ โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา
บรรณานุกรม
สถานการณ์และแนวโน้มต่างๆที่เกี่ยวกับสุขภาพ.(ออนไลน์).
แหล่งที่มา: http://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/THF2010T/ThailandHealthProfile5.pdf. 11
กันยายน 2558
กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจนในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี.(ออน
ไลน์).
แหล่งที่มา: http://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/THF2010T/ThailandHealthProfile5.pdf. 11
กันยายน 2558
ประวัติโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา. (ออนไลน์).
17
แหล่งที่มา:http://www3.phahol.go.th/home/index.php 11กันยายน 2558
ภาคผนวก
ภาพที่ 1 ประชุมโครงการ
18
ภาพที่ 2 นาเสนอโครงการ
ภาพที่ 3 ดาเนินโครงการ
เตรียมอุปกรณ์สาหรับทากล่องรับบริจาค
ภาพที่ 4 ทากล่องรับบริจาค
19
ภาพที่ 5 รับบริจาคเงินจากนักเรียน
ภาพที่ 6 รับบริจาคเงินจากคณะครู
ภาพที่ 7 รวบรวมเงินทั้งหมดที่ได้รับบริจาคมา
20
ภาพที่ 8 นาเงินที่ได้รับบริจาคมาไปมอบให้กับกองทุน
ภาพ PPT นาเสนอโครงการ
21
22
ภาพ PPT สรุปโครงการ
23
ภาพเว็บไซด์โครงการ
24

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”  10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
Peerasak C.
 
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Amarin Uttama
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
sivapong klongpanich
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
dtschool
 

Was ist angesagt? (18)

โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”  10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
 
S1
S1S1
S1
 
Clinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oilClinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oil
 
Quntity sulin
Quntity sulinQuntity sulin
Quntity sulin
 
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
 
ความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็งความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็ง
 
S1
S1S1
S1
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
 
007
007007
007
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
 
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
 
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
 

Andere mochten auch

Leaflet effectief mentorschap 2014
Leaflet effectief mentorschap 2014Leaflet effectief mentorschap 2014
Leaflet effectief mentorschap 2014
OpportunityinBedrijf
 
UAP Inc interview questions and answers
UAP Inc interview questions and answersUAP Inc interview questions and answers
UAP Inc interview questions and answers
llaisabe
 
Tartufi, your favorite truffles
Tartufi, your favorite trufflesTartufi, your favorite truffles
Tartufi, your favorite truffles
serelopez
 

Andere mochten auch (20)

房地產
房地產房地產
房地產
 
Leaflet effectief mentorschap 2014
Leaflet effectief mentorschap 2014Leaflet effectief mentorschap 2014
Leaflet effectief mentorschap 2014
 
M型社會
M型社會M型社會
M型社會
 
Presentacion sennova a.a
Presentacion sennova a.aPresentacion sennova a.a
Presentacion sennova a.a
 
Workload-Based Prediction of CPU Temperature and Usage for Small-Scale Distri...
Workload-Based Prediction of CPU Temperature and Usage for Small-Scale Distri...Workload-Based Prediction of CPU Temperature and Usage for Small-Scale Distri...
Workload-Based Prediction of CPU Temperature and Usage for Small-Scale Distri...
 
UAP Inc interview questions and answers
UAP Inc interview questions and answersUAP Inc interview questions and answers
UAP Inc interview questions and answers
 
uReporter, an open public reporting system(SD)
uReporter, an open public reporting system(SD)uReporter, an open public reporting system(SD)
uReporter, an open public reporting system(SD)
 
Presentación1desarrollo
Presentación1desarrolloPresentación1desarrollo
Presentación1desarrollo
 
Usage of salt in agriculture and livestock
Usage of salt in agriculture and livestockUsage of salt in agriculture and livestock
Usage of salt in agriculture and livestock
 
Análisis de los tratados de los cambios climáticos
Análisis de los tratados de los cambios climáticosAnálisis de los tratados de los cambios climáticos
Análisis de los tratados de los cambios climáticos
 
跳板學
跳板學跳板學
跳板學
 
Infosa, salinera company
Infosa, salinera companyInfosa, salinera company
Infosa, salinera company
 
Tugas 1-rpl
Tugas 1-rplTugas 1-rpl
Tugas 1-rpl
 
Rug Designs - Zorba Textile Sourcing
Rug Designs - Zorba Textile SourcingRug Designs - Zorba Textile Sourcing
Rug Designs - Zorba Textile Sourcing
 
大小說家如何唬了你?
大小說家如何唬了你?大小說家如何唬了你?
大小說家如何唬了你?
 
Tartufi, your favorite truffles
Tartufi, your favorite trufflesTartufi, your favorite truffles
Tartufi, your favorite truffles
 
字型散步2
字型散步2字型散步2
字型散步2
 
垃圾男孩
垃圾男孩垃圾男孩
垃圾男孩
 
沉默某特教學校集體性侵事件
沉默某特教學校集體性侵事件沉默某特教學校集體性侵事件
沉默某特教學校集體性侵事件
 
何謂歷史
何謂歷史何謂歷史
何謂歷史
 

Ähnlich wie ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้

โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
jeabjeabloei
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
taem
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
taem
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
taem
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
Nithimar Or
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnited
hrmsmc
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
Met Namchu
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
taem
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระ
tongsuchart
 
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
Kamolchanok Thocharee
 

Ähnlich wie ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ (20)

โครงการปันน้ำใจให้ผู้ป่วย
โครงการปันน้ำใจให้ผู้ป่วยโครงการปันน้ำใจให้ผู้ป่วย
โครงการปันน้ำใจให้ผู้ป่วย
 
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่มรายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnited
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระ
 
Dm 2557
Dm 2557Dm 2557
Dm 2557
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
 
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โครการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
 

Mehr von Kannicha Ponjidasin (10)

Ju 22
Ju 22Ju 22
Ju 22
 
Siripron28
Siripron28Siripron28
Siripron28
 
It news
It newsIt news
It news
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
โครงการปันน้ำใจให้ผู้ป่วย ([บทที่ 1-3)
โครงการปันน้ำใจให้ผู้ป่วย ([บทที่ 1-3)โครงการปันน้ำใจให้ผู้ป่วย ([บทที่ 1-3)
โครงการปันน้ำใจให้ผู้ป่วย ([บทที่ 1-3)
 
It news
It newsIt news
It news
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 
It news
It newsIt news
It news
 
It news
It newsIt news
It news
 

ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้

  • 1. โครงการ เรื่อง ปันน้าใจให้ผู้ป่วย จัดทาโดย นายชัยวัฒน์ พลอยงาม เลขที่ 2 นายปิยเชษฐ์ มีความเจริญ เลขที่ 4 นางสาวจุติมา ประชาฉาย เลขที่ 22 นางสาวกัญณิฌา พรจิดาศิล เลขที่ 25 นางสาวภิญาดา เพ็ชรชาลี เลขที่ 27 นางสาวสิรีธร ขวัญอ่อน เลขที่ 29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา วิชา IS3(I30903) โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2558
  • 2. เกี่ยวกับโครงการ เรื่องโครงการปันน้าใจให้ผู้ป่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ IS3 ผู้จัดทา 1.นายชัยวัฒน์ พลอยงาม เลขที่ 2 2.นายปิยเชษฐ์ มีความเจริญ เลขที่ 4 3.นางสาวจุติมา ประชาฉาย เลขที่ 22 4.นางสาวกัญณิฌา พรจิดาศิล เลขที่ 25 5.นางสาวภิญาดา เพ็ชรชาลี เลขที่ 27 6.นางสาวสิรีธร ขวัญอ่อน เลขที่ 29 ครูที่ปรึกษา ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม สถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ปีการศึกษา 2558
  • 3. ก คานา ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น ปั จ จุ บั น นี้ มี ป ร ะ ช า ก ร อ ยู่ เ ป็ น จ า น ว น ม า ก การใ ช้ชีวิตใน แต่ละ วัน นั้ น ก็คลุกคลีอยู่กับมลภ าวะ ที่อาจก่อให้ เกิดโรคต่างๆ ตามมา ท า ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ข อ ง เ ร า มี ผู้ ที่ ป่ ว ย เ ป็ น โ ร ค ต่ า ง ๆ อ ยู่ ม า ก ซึ่ ง ก็ มี ผู้ ป่ ว ย ส่ ว น ห นึ่ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ก า ร รั บ ก า ร รั ก ษ า พ ย า บ า ล อ ยู่ เนื่ อ ง จ า ก ข าด แ ค ล น ทุ น ท รั พ ย์ แ ล ะ ยัง มีภ าร ะ ห น้ าที่ อื่ น ๆ ที่ ต้ อ ง รั บ ผิ ด ช อ บ บางโรคก็ต้องใช้เงิน ใน การรักษาเป็ น จาน วน มาก ทาให้ผู้ป่ วยขาดโอกาสใน การรักษาไป จึงมีหน่วยงานต่างๆทั้งของภาครัฐและเอกชนที่จัดตั้งโครงการและกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยยากไร้เหล่านี้ ให้ได้รับการรักษา กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้จัดทาโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือผู้อื่นที่มีความเดือดร้อนและเ พื่ อ ใ ช้ เว ล าใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด ก ลุ่ม ข อ ง ข้ า พ เ จ้า ห วัง ว่า โ ค ร ง ก า ร นี้ คงจะมีประโยชน์ให้กับสังคมไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 4. ข กิตติกรรมประกาศ ในการจัดทาโครงการปันน้าใจให้ผู้ป่วยฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่าน ซึ่งไม่อาจจะน ามากล่าวได้ทั้งหมด ซึ่งผู้มีพระ คุณที่คณะผู้จัดทาใคร่ขอกราบพ ระคุณคือ ท่านผู้อานวยการโอภาส เจริญเชื้อ ที่ช่วยอานวยสถานที่ในการรับเงินบริจาค คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผู้สอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่ อ ใ ห้ ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก าร ฉ บั บ นี้ ส ม บู ร ณ์ ที่ สุ ด คุ ณ ค รู อั ม พ ร ห ว า น ใ จ ที่ช่วยใ ห้คาแน ะ น าใ น ส่วน ของรูป แบบการทาโครง การให้ มีความสมบูรณ์มากยิ่ง ขึ้ น โ ร ง พ ย า บ า ล พ ห ล พ ล พ ยุ ห เ ส น า ที่จัดตั้งกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจนนี้ขึ้นมาทาให้คณะผู้จัดทาได้ร่วมสมทบทุนกองทุน นี้ คุ ณ พ่ อ จ อ ม พ ล เ พ็ ช ร ช า ลี แ ล ะ คุ ณ แ ม่ ว า ส น า เ พ็ ช ร ช า ลี ที่ช่วยสนับสนุนในด้านการติดต่อและจัดหาสถานที่ในการทาโครงการเป็นอย่างดี คุณน้าทิพย์ นาคพยนต์ เ จ้ า ห น้ า ที่ ข อ ง โ ร ง พ ย า บ า ล ที่ดาเนินการรับเงินบริจาคจากโครงการไปสมทบทุนกับกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจนใน โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา คณะผู้จัดทาใคร่ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่าสูง ไว้ณ โอกาส นี้ นอกจากนี้ คณะผู้จัดทาใคร่ขอขอบคุณผู้ปกครองของสามชิกในกลุ่มทุกคน รวมทั้งคณะครู บุคลากร และ นั กเรียน โรงเรียน เฉลิมพ ระ เกียรติสมเด็จพ ระ ศรี น คริ น ทร์ กาญ จน บุ รี ทุ ก ค น ที่ ร่ ว ม บ ริ จ า ค เ งิ น ส ม ท บ ทุ น โ ค ร ง ก า ร ปั น น้ า ใ จ ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย จึงทาให้โครงการฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดทา
  • 5.
  • 6. สารบัญ คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่1 โครงการ 1 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี 3 สถานการณ์และแนวโน้มของปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ 4 ประวัติโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา 12 บทที่3 วิธีการดาเนินงาน 13 ขั้นตอนการวางแผน 13 ขั้นดาเนินงาน 13 บทที่4 ผลการดาเนินงาน 14 บทที่5 สรุปผลและอภิปรายผล 15 สรุปผลการดาเนินงาน 15 อภิปรายผลการดาเนินงาน 15 บรรณานุกรม 16 ภาคผนวก 17
  • 7. สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 2.1 ความเชื่อมโยงและพลวัตที่เกี่ยวกับสุขภาพ 4 ภาพที่2.2 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยของประเทศไทย 5 ภาพที่2.3 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศไทยเฉลี่ยต่อหัว พ.ศ.2503 – พ.ศ.2552 (ราคาตลาด) 6 ภาพที่ 2.4 สัดส่วนของเศรษฐกิจ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ พ.ศ.2503-พ.ศ. 2552 7 ภาพที่ 2.5 สัดส่วนความยากจนของประเทศไทยวัดจากรายจ่าย พ.ศ.2505-พ.ศ.2552 8 ภาพที่ 2.6 ตารางสัดส่วนคนจนวัดจากรายจ่าย จาแนกตามพิ้นที่ พ.ศ.2505-พ.ศ.2552 9 ภาพที่ 2.7 ส่วนแบ่งรายได้ของประชาชนชาวไทย แยกเป็น 5กลุ่มดังนี้ 10
  • 8. สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงจานวนเงินที่ได้รับบริจาคในแต่ละวัน 14
  • 9. 1 บทที่ 1 โครงการ 1. หลักการและเหตุผล เราทุกคนต่างทราบว่าเรื่องเกี่ยวกับด้านสาธารณสุขหรือชีวิตความเป็นอยู่ด้านสุขภาพของมนุษย์มี ค ว า มจ า เป็ น เช่ น เมื่ อ เ ร า เจ็ บ ไ ข้ ไ ด้ ป่ ว ย ไ ม่ส บ า ย เ กิ ด อุ บั ติ เ ห ตุ ห รื อ อื่ น ๆ เราจาเป็นที่จะต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์เพื่อให้รอดพ้นจากโรคภัยนั้นๆและอยู่อย่างมีสุขภาพที่ดี และจากที่มีผู้ปกครองของสมาชิกในกลุ่มได้ทางานอยู่ที่โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาได้เห็นถึงว่ามีผู้ที่ขัดส น ใ น เรื่ องของค่ารักษาพ ยาบาลอยู่จาน วน ไม่น้ อย ทาใ ห้ขาดโอกาสใน กา รรักษาเช่น ช า ว บ้ า น บ า ง ร า ย ไ ม่ไ ด้ มี ร า ย ไ ด้ สู ง แ ล ะ จ า เป็ น ต้ อ ง ใ ช้ เ งิ น ใ น เรื่ อ ง อื่ น ๆ บ้างต้องส่งลูกเรียน ห รือบ้างมีบ้าน อยู่ไกลต้องใช้เงิน ในการเดิน ทางห รือเดิน ทางลาบาก จึงเลี่ยงที่จะนาเงินมารักษาตนไปใช้สอยกับบุคคลรอบข้าง จึงขาดโอกาสในการรับการรักษาไป ทางโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาก็มีการจัดตั้งกองทุนสังคมสงเคราะห์ขึ้นทาให้คณะผู้จัดทาอยา กมีส่วน ร่วมเป็ นห นึ่ งใน โครงการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อช่วยเห ลือผู้ป่ วยที่ขัดสน ค่ารักษาพ ยาบาล จึงได้ทากิจกรรมร่วมรับบริจาคจากผู้ที่สนใจและอยากร่วมช่วยเหลือโดยการนาเสนอข้อมูลของโครงการสัง คมสงเคราะห์ 2. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่โครงการ 1. ความพอประมาณ คือ การเลือกช่วยผู้ป่วยเป็นบางรายที่เราสามารถช่วยเหลือได้ 2.ความมีเหตุผล คือการร่วมรับบริจาคในครั้งนี้ เราเลือกรับบริจาคให้กับโรงพยาบาลประจาจังหวัด ซึ่งมีผู้ป่วยเข้ารับการศึกษาเป็นจานวนมาก 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีคือไม่ตั้งเป้าหมายจานวนผู้ป่วยที่จะช่วยเหลือเกินกาลังที่เราจะช่วยได้ เงื่อนไข 1 . เ งื่ อ น ไ ข ค ว า ม รู้ ใช้ความรู้ความสามารถในการโน้มน้าวจิตใจให้ผู้คนทั่วไปร่วมกันบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ป่วยที่ขาดแคลนค่า รักษาพยาบาล
  • 10. 2 2 . เงื่อนไขคุณธรรมให้สมาชิกในกลุ่มรู้จักช่วยเหลือผู้อื่นและได้ตระหนักว่าเงินจานวนเล็กน้อยที่เรารับบริจาค มาสามารถช่วยเหลือคนอื่นให้บรรเทาความเดือดร้อนได้ 3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อนาเงินที่ได้รับบริจาคไปช่วยสมทบทุนกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน 2. เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือผู้ป่วยยากไร้ 4. สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา 5. วิธีการดาเนินการ 1. ปรึกษาการทาโครงการกันภายในกลุ่ม 2. หาข้อมูลเลือกสถานที่ที่จะลงมือปฏิบัติ 3. ติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่-สถานที่ 4. จัดเตรียมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการลงมือปฏิบัติ และลงมือปฏิบัติ 5. ติดตามการบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ป่วย 6. สรุปโครงการ 7. จัดทาเว็บไซด์เผยแพร่ข้อมูล 6. ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกันยายน พ.ศ.2558 7. รายละเอียดงบประมาณของโครงการ ค่าเดินทางไปโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา 120 บาท 8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
  • 11. 3 1. ได้มีส่วนช่วยเหลือผู้ที่มีความเดือดร้อน 2. ทาให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ 3. รู้จักวางแผนการทางานเป็นกลุ่ม บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี หลักการและเหตุผล ใ น ว โร ก าส ที่ ส มเด็ จ พ ร ะ เท พ รัต น ร า ช สุ ด า ฯ ส ย าม บ ร มร าช กุ มา รี เ ส ด็ จ พ ร ะ ร า ช ด า เ นิ น ท ร ง เ ยี่ ย ม โ ค ร ง ก า ร ต า ม พ ร ะ ร า ช ด า ริ ฯ และทรงเยี่ยมราษฎรในท้องถิ่นทุรกันดารห่างไกลการคมนาคม มีคณะแพทย์จากโรงพยาบาลต่างๆ ซึ่ ง อ ยู่ ใ น พื้ น ที่ ใ ก ล้ เ คี ย ง ไ ด้ ร่ ว ม อ อ ก ห น่ ว ย แ พ ท ย์ พ ร ะ ร า ช ท า น เพื่ อ ป ริ ก ารต ร วจ รัก ษ าใ ห้ กับ ราษ ฎ ร ที่ เจ็บ ป่ ว ยเห ล่านี้ ได้ห ายจ าก โรค ภั ยต่าง ๆ ส่วนหนึ่งได้รับเข้าไว้เป็นคนไข้ในพระราชานุเคราะห์ แต่ยังมีราษฎรอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งไม่มีโอกาสดังกล่าว จึ ง ไ ด้ พ ร ะ ร า ช ท า น เ งิ น ใ ห้ โ ร ง พ ย า บ า ล เ ห ล่ า นั้ น ไ ว้ ส า ห รั บ จั ด ตั้ ง "กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี" ขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อให้โรงพยาบาลมีเงินทุนพอเพียงที่จะสงเคราะห์คนไข้ที่ยากจนได้ การดาเนินงาน
  • 12. 4 1. สมเด็จพ ระ เทพ รัตน ราช สุ ดาฯสยามบรมราช กุมารี พ ระ ราช ทาน เงิ น ทุ น จาน วน ห นึ่ ง ใ น การเริ่ มก่อตั้ง " กอง ทุ น พ ระ ราช ท าน เพื่ อส ง เคราะ ห์ คน ไข้ยาก จน ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี" แก่ผู้แทนโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้อง 2. โรงพยาบาลดาเนินการจัดตั้ง "กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ใ น ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รั ต น ร า ช สุ ด า ฯ ส ย า ม บ ร ม ร า ช กุ ม า รี " โดยอนุ โลมตามระ เบียบราช การพ ร้อมทั้งกาห น ดระเบียบ วิธี การใ ช้จ่ายเงิ น และ อื่น ๆ เพื่อให้บรรลุตามพระราชประสงค์ 3. ส่งเสริมให้ราษฎร และผู้มีจิตศรัทธาร่วมสมทบในกองทุนดังกล่าว ผลที่คาดว่าจะได้รับ ให้การสงเคราะห์ผู้ป่วยที่ยากจน ได้อย่างถูกต้องและทันการ สถานการณ์และแนวโน้มของปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ สุ ข ภ า พ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ เ ชื่ อ ม โ ย ง กั บ ปั จ จั ย ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย ดั ง นั้ น การวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มปัญหาสุขภาพของไทยจึงต้องวิเคราะห์และสังเคราะห์จากการเปลี่ยน แปลงของปัจจัยต่างๆ ทั้งด้านปัจเจกบุคคล และทางด้านสภาพแวดล้อมทุกมิติที่จะกระทบต่อปัญหาสุขภาพ รวมทั้งตัวระบบบริการสุขภาพเอง
  • 13. 5 ภาพที่ 2.1 ความเชื่อมโยงและพลวัตที่เกี่ยวกับสุขภาพ 1.สถานการณ์และแนวโน้มด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ 1.1 การเติบโตทางเศรษฐกิจ ในช่วง 3 ทศวรรษก่อน พ.ศ.2540 ที่ผ่านมา เศรษฐกิจของไทยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยกว่าร้อยละ 7 ต่ อ ปี มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม ว ล ร ว ม ป ร ะ ช า ช า ติ ต่ อ หั ว เ พิ่ ม ขึ้ น ถึ ง 2 8 เ ท่ า โดยเฉพาะมีการเพิ่มอย่างรวดเร็วมากตั้งแต่ช่วง พ.ศ.2529 เป็นต้นมา แต่นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจใน พ.ศ.2540ทาให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่เคยเติบโตเฉลี่ยกว่าร้อยละ 7 กลับเป็นติดลบร้อยละ 1.7ใน พ.ศ.2540 และติดลบร้อยละ 10.8ใน พ.ศ.2541 (ภาพที่4.2) ซึ่งส่งผลกระทบต่อผลผลิตมวลรวมต่อหัว (ภาพ 4.3) ดังนั้ น ประ เทศไทยได้แก้ไขปั ญห าเศรษฐกิจด้วยมาตรการทางการเงิน และ การคลัง ส่งผลให้เศรษฐกิจเริ่มมีการฟื้นตัวเป็นบวกด้วยอัตราร้อยละ 4.2 ใน พ.ศ.2542เป็นร้อยละ7.1 ใน พ.ศ.2546 และต่อมาเกิดวิกฤตเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลกใน พ.ศ.2551ทาให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจติดลบร้อยละ 2.2 ใน พ.ศ.2552 และจะฟื้นตัวเป็น 7.0 ใน พ.ศ.2553 อันเนื่องจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ภาพที่ 2.2 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยของประเทศไทย ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
  • 14. 6 หมายเหตุ : เป็นข้อมูลประมาณการ ภาพที่ 2.3 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศไทยเฉลี่ยต่อหัว พ.ศ.2503 –พ.ศ.2552 (ราคาตลาด) ที่มา :สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หมายเหตุ :1.เป็นข้อมูลเบื้องต้น เป็นข้อมูลประมาณการ 2.ตั้งแต่พ.ศ.2537 เป็นต้นมามีการปรับข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศใหม่ 1.2 โครงสร้างทางเศรษฐกิจ โครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่สัดส่วนของเศรษฐกิจในภาค อุตสาหกรรมและบริการเติบโตเร็วกว่าภาคเกษตรกรรม (ภาพที่ 4.4) โดยตั้งแต่พ.ศ.2533 เป็ นต้นมา โค ร ง ส ร้า ง ก าร ผ ลิ ต ใ น ภ าค เก ษ ต ร ก ร ร ม ภ าค อุ ต ส า ห ก ร รม แ ล ะ ภ าค บ ริ ก า ร จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนมากนัก
  • 15. 7 ภาพที่ 2.4 สัดส่วนของเศรษฐกิจ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ พ.ศ.2503-พ.ศ. 2552 ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หมายเหตุ : เป็นข้อมูลเบื้องต้น 1.3 การกระจายรายได้และความยากจน สถานการณ์ความยากจนของประเทศไทยได้มีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ 5.70ใน พ.ศ.2505 เป็นร้อยละ14.7 ในพ.ศ.2539 อันเนื่องมาจาก การขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยอย่างรวดเร็วในช่วงเวลาดังกล่าว แต่หลังจากวิกฤตเศรษฐกินในปีพ.ศ.2540 ทาให้สัดส่วนความยากจนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ14.7ในพ.ศ.2539 เป็ น ร้อยละ 20.9 ใน พ.ศ.2543 และ กลับมีแน วโน้มลดลงเห ลือเพียงร้อยละ 8.1 ในพ .ศ. 2552 อันเนื่องมาจากการฟิ้ นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศและถึงแม้ว่าความยากจนจะลดลงเป็ นลาดับ แต่สัดส่วนคนจนในชนบทมากกว่าในเขตเมืองถึง 3 เท่า
  • 16. 8 ภาพที่ 2.5 สัดส่วนความยากจนของประเทศไทยวัดจากรายจ่าย พ.ศ.2505-พ.ศ.2552 ที่มา : พ .ศ.2505/ พ .ศ.2506 - พ .ศ.2518/พ .ศ.2519 ได้จาก เอื่อย มีสุ ข ,Income,Consumption and Povertyin Thailand,1962/63 to 1975/76. พ .ศ .2531 -พ .ศ .2552 ไ ด้จ าก ก าร ส า รว จ ภ าวะ เศ ร ษ ฐ กิจ แ ล ะ สั ง ค ม ข อ ง ค รั วเ รื อ น ป ร ะ ม ว ล ผ ล โ ด ย ส า นั ก พั ฒ น า ข้ อ มู ล แ ล ะ ตั ว ชี้ ภ า ว ะ สั ง ค ม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ห ม า ย เ ห ตุ : การศึกษาความภาะวะความยากจนของประเทศในแต่ละช่วงมีความแตกต่างในสมมติฐานของการศึกษา
  • 17. 9 ภาพที่ 2.6 ตารางสัดส่วนคนจนวัดจากรายจ่าย จาแนกตามพิ้นที่ พ.ศ.2505-พ.ศ.2552 ที่มา: พ.ศ.2505/พ.ศ.2506- พ.ศ.2518/ พ.ศ.2519 ได้จาก เอื้อย มีสุข ,Income,Consumption and Poverty in Thailand,1962/63 to1975/76 พ .ศ .2531- พ .ศ .2552 ได้จากก ารส ารว จส ภ าวะ เศร ษ ฐ กิจ แล ะ สั ง ค มครัว เรื อ น ป ร ะ ม ว ล ผ ล โ ด ย ส า นั ก พั ฒ น า ฐ า น ข้ อ มู ล แ ล ะ ตั ว ชี้ วัด ภ า ว ะ สั ง ค ม สานักคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส า ห รั บ ก า ร ก ร ะ จ า ย ร า ย ไ ด้ ข อ ง ไ ท ย พ บ ว่ า ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนกลับขยายกว้างขึ้นมาโดยตลอดและเมื่อวิกฤตเศรษฐกิจทาให้การกระจายร ายได้มีความเหลื่อมล้ามากขึ้น กล่าวคือ กลุ่มคนที่จนที่สุด 20%มีสัดส่วนรายได้ลดลงจากร้อยละ 4.2 ใน พ.ศ.2539 เป็นร้อยละ 3.9ใน พ.ศ.2543 ในขณะที่คนรวยสุด20% สุดท้ามีรายได้สูงขึ้นจาก56.7เป็น 57.6 ในช่วงเดียวกัน ส่วนใน พ.ศ.2544-พ.ศ.2552 การกระจายรายได้มีแนวโน้มดีขึ้นเล็กน้อย
  • 18. 10 ภาพที่ 2.7 ส่วนแบ่งรายได้ของประชาชนชาวไทย แยกเป็น 5กลุ่มดังนี้ ที่ ม า : พ .ศ . 2505-พ .ศ . 2535 ได้จากสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไ ทย พ .ศ . 2537-พ .ศ . 2552 ได้จากการสารวจภ าวะ เศรษฐกิจและ สังคมของครัวเรื อน ของสานักงาน สถิติแห่ง ช าติ ประมวลผลโดยสานักประเมินผลและเผยแพร่การพัฒนาและสานักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม สานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 1.4 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับโลกและภูมิภาค กระแสโลกาภิวัตน์ ทาให้โลกก้าวเข้าสู่การค้าเสรีและมีการรวมตัวกันเป็ นกลุ่มการค้าภูมิภาค เ พื่ อ ส ร้ า ง อ า น า จ ต่ อ ร อ ง เ ข้ า ด้ ว ย กั น จึงมีความเคลื่อนไหวในเรื่องความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคที่ไทเข้าร่วมอยู่ด้วยเช่น AFTA ( ASEAN Free Trade Area) ,APEC( Asia Pacific Economic Cooperation) , ASEM( Asia-Europe Meeting)
  • 19. 11 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจสามเหลี่ยมใต้ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา แม่โขง ด้านความร่วมมือในภูมิภาคอื่น ได้แก่NAFTA(North America Free Trade Area )น อกจากนี้ ยังมีความร่วมมือระดับโลกก็เป็ น เรื่ องข้อตกลง ทาง การค้าระ ห ว่าง ประเทศ ซึ่ ง มี อ ง ค์ ก า ร ก า ร ค้ า โ ล ก ( WTO) เ ป็ น ผู้ ดู แ ล อ ยู่ ทาให้เกิดการเปิ ดตลาดการค้าเสรีขึ้ นและการแข่งขัน ทางการค้าจะทวีความรุน แรงมากขึ้ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช้ภาษีเป็นเครื่องมือกีดกันทางก ารค้ากับประเทศที่กาลังพัฒนา การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบสุขภาพไทย ดังนี้ 1.ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ3.8ของGDP ใน พ.ศ.2523 เป็นร้อยละ6.48ของGPD ใน พ.ศ.2551 2. บทบ าท ทั้ง ภ าครัฐ /เอกช น ใน การจัดบ ริก ารสุ ขภ าพ พ บว่าตั้ งแต่ พ .ศ .2544 ที่รัฐบาลได้ดาเนินนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าส่งผลให้ผู้ป่วยนอกออกมาใช้บริการภาครั ฐเพิ่มขึ้น3เท่า ในขณะที่ผู้ป่วยในใช้บริการภาครัฐแทบจะไม่มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง 3 . ก า ร ก ร ะ จ า ย ร า ย ไ ด้ ที่ เ ห ลื่ อ ม ล้ า ร ะ ห ว่า ง ค น ร ว ย แ ล ะ ค น จ น ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ไ ม่เ ท่ า เ ที ย ม กั น ใ น ก า ร ก ร ะ จ า ย ท รั พ ย า ก ร สุ ข ภ า พ แ ม้ว่า ท รั พ ย า ก ร แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น ใ น ก า ร จั ด บ ริ ก า ร จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น แ ต่ ปั ญ ห า ค ว า ม เ ห ลื่ อ ม ล้ า ใ น ก า ร ก ร ะ จ า ย ท รั พ ย า ก ร ยั ง มี สู ง ม า ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคเอกชนที่เติบโตอย่างรวดเร็ว ได้ดูดทรัพยากรบุคคลจากชนบทเข้าสู่เมือง แ ล ะ จ า ก ค น จ น ไ ป สู่ ค น ร ว ย ซึ่ ง ค ว า ม ไ ม่ เ ท่ า เ ที ย ม ดั ง ก ล่ า ว ทาให้กลุ่มด้อยโอกาสในชนบทที่ห่างไกลความเจริญและคนที่อยู่ในชุมชนแออัดมีโอกาสได้รับการดูแล สุขภาพจากรัฐไม่ทั่วถึง 4.ปั ญ ห าสุ ข ภ าพ จิต มีแ น วโน้ มเพิ่ ม ขึ้ น แ ม้ว่าจะ ผ่าน วิก ฤต เศรษ ฐ กิจไป แ ล้ว แต่ปัญหาสุขภาพจิตก็ยังมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ 5.ง บ ป ร ะ ม า ณ ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง รั ฐ มี แ น ว โ น้ ม เ พิ่ ม ขึ้ น ง บ ป ร ะ มา ณ ด้าน สุ ข ภ าพ ข อ ง รั ฐ ผัน แ ป ร ไป ต า มภ าว ะ เศ ร ษ ฐ กิจ ก ล่าว คื อ ใน ช่วง เศรษ ฐกิจฟ อง ส บู่ง บ ประ มาณ ด้าน สุ ขภ าพ ขอ งรัฐ จะ มีแ น วโน้ มสู ง ขึ้ น
  • 20. 12 โดยกระทรวงสาธารณสุขได้รับงบประมาณเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ7.7ของงบประมาณประเทศ ขณะที่ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจกระทรวงสาธารณสุขได้รับงบประมาณลดลง จนกระทั่ง ตั้งแต่พ.ศ.2544 เป็ น ต้ น ม า รั ฐ บ า ล มี น โ ย บ า ย ส ร้ า ง ห ลั ก ป ร ะ กัน สุ ข ภ า พ ถ้ ว น ห น้ า ส่ ง ผ ล ใ ห้ มี ก า ร จั ด ส ร ร ง บ ป ร ะ ม า ณ ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง รั ฐ เ พิ่ ม ขึ้ น โดยเฉพาะงบดาเนินการจึงทาให้งบประมาณกระทรวงสาธารณสุข เพิ่มขึ้น 6.ก า ร เปิ ด เ ส รี ก าร ค้า แ ล ะ ค ว า มร่ว มมื อ ท า ง เศ ร ษ ฐ กิ จ ร ะ ห ว่าง ป ร ะ เท ศ ท าใ ห้ มี ก าร แ ข่ง ขัน ท าง ก าร ค้า ต ล อ ด จ น มีก าร กีด กัน ท าง ก า ร ค้า ม าก ขึ้ น ส่ง ผ ลกระ ท บต่ออุ ตส าห กรรมเกี่ยวกับผ ลิต ภัณ ฑ์ แล ะ บ ริ การสุ ข ภ าพ บ าง ส่วน นอกจากนี้ จะส่งผลให้เกิดการยกระดับความร่วมมือในมิติด้านสังคมและสาธารณสุขมากขึ้น เช่น การร่วมมือแก้ไขปั ญ ห าการป้ อง กัน และ ค วบคุมโรค ติดต่อ ใน คน และ สัต ว์ ซึ่งหากไม่มีการเตรียมการรองรับที่ดีก็จะส่งผลกระทบให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคระหว่างประเทศ ประวัติโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาจังหวัดกาญจนบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 572 ถนนแสงชูโตใต้ ตาบลปากแพรก อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่ 60 ไร่ 2 งาน และห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 129 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ที่ดินเลขที่ 60 ทิศใต้ ติดต่อกับ ทางหลวงแผ่นดินสายแสงชูโต อ.เมือง - อ.ท่าม่วง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ทางส่วนบุคคล , ศาลากลางจังหวัดกาญจนบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ทางสาธารณะประโยชน์ โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา สร้างขึ้น โดยกระทรวงมหาดไทย ตามมติของคณะรัฐมนตรี และได้ แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการเรี่ยไร เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2493 โดยเชิญชวนข้าราชการ และประชาชนทั่วประเทศ ให้มีส่วนร่วมบริจาคเงินสมทบเพื่อจัดสร้างโรงพย าบาลและอนุสาวรีย์ ของพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ไว้เป็นอนุสรณ์แห่งคุณงามความดีของท่านที่มีต่อประเทศชาติขึ้นที่จังหวัดกาญจนบุรี โดยใช้ชื่อว่า " โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา " ซึ่งได้ก่อสร้างแล้วเสร็จ ทาพิธีเปิดฉลอง เมื่อวันที่ 3 - 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 เดิมโรงพยาบาลมีพื้นที่เป็นหลุมเป็นบ่อ เพราะเคยเป็นที่ตั้งของทหารญี่ปุ่น เมื่อครั้งสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งโรงพยาบาลปรับปรุงตกแต่งจนราบเรียบและสวยงาม
  • 21. 13 โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2494 และได้เริ่มเปิดดาเนินการและให้บริการแก่ผู้ป่วย เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 ขณะนี้เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 440 เตียง เมื่อเริ่มเปิดให้บริการนั้นมีอาคารเพียง 4หลัง คือ 1. ตึกอานวยการ จานวน 1 หลัง 2. ตึกผ่าตัด จานวน 1 หลัง 3. ตึกเอ็กซเรย์ จานวน 1 หลัง 4. ตึกคนไข้ จานวน 2 หลัง บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน ขั้นตอนการวางแผน 1.ประชุมสมาชิกเพื่อเลือกหัวข้อโครงการ 2.เลือกสถานที่ ที่จะดาเนินโครงการ 3.ติดต่อสถานที่ ขั้นดาเนินงาน 1.เตรียมอุปกรณ์ทากล่องรับบริจาค 2.ทากล่องรับบริจาค โดยเริ่มจาก - นาลังเบียร์ 1ลัง มาหุ้มด้วยกระดาษสี - เขียนรายระเอียดโครงการแปะลงบนกล่องรับบริจาค 3.ทาการรับบริจาคจากบุคคลากรใน โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ที่มีความสนใจที่จะร่วมบริจาค 4.รวบรวมเงินที่ได้จากการร่วมบริจาค ให้หน่วยงานสังคมสงเคราะห์ของโรงพยาบาล พหลพยุหเสนา
  • 22. 14 5.สรุปผลการดาเนินงาน บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน จากการรับบริจาคเงินจากคณะครู บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในโครงการปันน้าใจให้ผู้ป่วยเพื่อสมทบทุนกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงจานวนเงินที่ได้รับบริจาคในแต่ละวัน วันที่ จานวนเงินที่ได้รับบริจาค (บาท) 7 ก.ย. 58 138 8 ก.ย. 58 215 9 ก.ย. 58 109 10 ก.ย. 58 183 11 ก.ย. 58 355 รวม 1000
  • 23. 15 บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผล สรุปผลการดาเนินงาน จากการดาเนินงานโครงการปันน้าใจให้ผู้ป่วยเพื่อหาเงินบริจาคสมทบทุนกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะ ห์คนไข้ยากจน ณ โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาได้เงินบริจาครวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1000 บาท อภิปรายผลการดาเนินงาน จากการทาโครงการปันน้าใจให้ผู้ป่วยโดยเริ่มจากการสนใจปัญหาของผู้ป่วยที่มีความขาดแคลนเงินในการรั ก ษ า พ ย า บ า ล กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับกองทุนที่ให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีความขาดแคลนนี้ แ ล ะ พ บ ว่ามี ก อ ง ทุ น ที่ ใ ห้ ค ว า ม ช่ว ย เ ห ลื อ ผู้ ป่ ว ย ที่ ย า ก ไ ร้ เป็ น จ า น ว น ม า ก เ ร า จึ ง ไ ด้ เ ลื อ ก ก อ ง ทุ น ที่ มี อ ยู่ ใ น จั ง ห วั ด ก า ญ จ น บุ รี ซึ่งคือกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจนในโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาซึ่งก็เป็นโรงพยาบา ล ป ร ะ จ า จั ง ห วั ด ที่ มี ผู้ ม า เ ข้ า ม า รั บ ก า ร รั ก ษ า เ ป็ น จ า น ว น ม า ก ก ลุ่ม ข อ ง ข้ า พ เจ้ าไ ด้ ท าก า ร ท า ก ล่อ ง รั บ บ ริ จ าค เงิ น จ า ก ค ณ ะ ค รู บุ ค ล าก ร
  • 24. 16 และนักเรียนในโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี เป็นระยะเวลา 5 วัน นั บ ตั้ ง แ ต่ วั น ที่ 7 กั น ย า ย น ถึ ง วั น ที่ 1 1 กั น ย า ย น พ .ศ .2 5 5 8 ซึ่ ง ร ว ม จ า น ว น เ งิ น ที่ ไ ด้ รั บ บ ริ จ า ค ม า ทั้ ง ห ม ด เ ป็ น จ า น ว น 1 0 0 0 บ า ท กลุ่มของข้าพเจ้าจึงนาเงินส่วนนี้ ทั้งหมดไปร่วมสมทบทุนในกองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจ น ณ โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา บรรณานุกรม สถานการณ์และแนวโน้มต่างๆที่เกี่ยวกับสุขภาพ.(ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/THF2010T/ThailandHealthProfile5.pdf. 11 กันยายน 2558 กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจนในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี.(ออน ไลน์). แหล่งที่มา: http://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/THF2010T/ThailandHealthProfile5.pdf. 11 กันยายน 2558 ประวัติโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา. (ออนไลน์).
  • 26. 18 ภาพที่ 2 นาเสนอโครงการ ภาพที่ 3 ดาเนินโครงการ เตรียมอุปกรณ์สาหรับทากล่องรับบริจาค ภาพที่ 4 ทากล่องรับบริจาค
  • 27. 19 ภาพที่ 5 รับบริจาคเงินจากนักเรียน ภาพที่ 6 รับบริจาคเงินจากคณะครู ภาพที่ 7 รวบรวมเงินทั้งหมดที่ได้รับบริจาคมา
  • 29. 21
  • 32. 24