SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 173
Health Education
หลักการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน
หลักการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน

     1   ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน
หลักการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน

     1   ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน




     2      การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา
หลักการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน

     1   ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน




     2      การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา




     3       การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพในชุมชน
ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย
ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย
•   ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ
    ประชากร
ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย
•   ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ
    ประชากร
•   ด้านเศรษฐกิจและสังคม :- อาชีพ รายได้ รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก
ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย
•   ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ
    ประชากร
•   ด้านเศรษฐกิจและสังคม :- อาชีพ รายได้ รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก
•   สถิติสาธารณสุข :- การเกิด การตาย การเจ็บป่วย การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย
•   ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ
    ประชากร
•   ด้านเศรษฐกิจและสังคม :- อาชีพ รายได้ รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก
•   สถิติสาธารณสุข :- การเกิด การตาย การเจ็บป่วย การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
•   สิ่งแวดล้อม :- สภาพบ้าน แหล่งน้ําดื่ม น้ําใช้ การกําจัดขยะ
ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย
•   ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ
    ประชากร
•   ด้านเศรษฐกิจและสังคม :- อาชีพ รายได้ รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก
•   สถิติสาธารณสุข :- การเกิด การตาย การเจ็บป่วย การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
•   สิ่งแวดล้อม :- สภาพบ้าน แหล่งน้ําดื่ม น้ําใช้ การกําจัดขยะ
•   ความรู้ ทัศคติ การปฏิบัติตัว
ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย
•   ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ
    ประชากร
•   ด้านเศรษฐกิจและสังคม :- อาชีพ รายได้ รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก
•   สถิติสาธารณสุข :- การเกิด การตาย การเจ็บป่วย การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
•   สิ่งแวดล้อม :- สภาพบ้าน แหล่งน้ําดื่ม น้ําใช้ การกําจัดขยะ
•   ความรู้ ทัศคติ การปฏิบัติตัว
•   ด้านบริการสาธารณสุข :- จํานวนสถานบริการ การใช้บริการ ประเภทอาสาสมัคร
การให้สุขศึกษา
HEALTH EDUCATION
การให้สุขศึกษา
         HEALTH EDUCATION
ประสบการณ์ทั้งมวลทางด้านสุขภาพที่ทําให้บุคคลเกิดความรู้
เจตคติ การปฏิบัติที่ดีและถูกต้องต่อสุขภาพของตนเองและชุมชน
ทั้งยังผลให้บุคคลและชุมชนมีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและ
จิตใจ
จุดมุ่งหมายของการให้สุขศึกษา
จุดมุ่งหมายของการให้สุขศึกษา
•   สอนให้รู้จักรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง ให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็ง
    แรง มีความสุข และสามารถกระทําการใดๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อชีวิต
    ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
จุดมุ่งหมายของการให้สุขศึกษา
•   สอนให้รู้จักรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง ให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็ง
    แรง มีความสุข และสามารถกระทําการใดๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อชีวิต
    ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
•   ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจและเจตคติที่ดีต่อการรักษาและปรับปรุงสุขภาพ
    ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
จุดมุ่งหมายของการให้สุขศึกษา
•   สอนให้รู้จักรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง ให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็ง
    แรง มีความสุข และสามารถกระทําการใดๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อชีวิต
    ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
•   ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจและเจตคติที่ดีต่อการรักษาและปรับปรุงสุขภาพ
    ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
•   ปรับปรุงการดําเนินชีวิตของตนเองและชุมชน ให้เป็นบุคคลที่มีประสิทธิภาพ
    อยู่เสมอ ซึ่งเป็นการช่วยให้ประชากรของชาติมีสุขภาพดียิ่งขึ้น
จุดมุ่งหมายของการให้สุขศึกษา
•   สอนให้รู้จักรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง ให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็ง
    แรง มีความสุข และสามารถกระทําการใดๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อชีวิต
    ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
•   ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจและเจตคติที่ดีต่อการรักษาและปรับปรุงสุขภาพ
    ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
•   ปรับปรุงการดําเนินชีวิตของตนเองและชุมชน ให้เป็นบุคคลที่มีประสิทธิภาพ
    อยู่เสมอ ซึ่งเป็นการช่วยให้ประชากรของชาติมีสุขภาพดียิ่งขึ้น
•   ผลจากการมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ จะมีผลทําให้เด็กเกิดสัมฤทธิผลทาง
    ด้านการศึกษาและการดํารงชีวิตของตนเอง
ความสําคัญของการให้สุขศึกษาในชุมชน
ความสําคัญของการให้สุขศึกษาในชุมชน
 •   การให้สุขศึกษาในชุมชนเป็นวิธีการหรือกระบวนการที่เป็นระบบ
     ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มชน
ความสําคัญของการให้สุขศึกษาในชุมชน
 •   การให้สุขศึกษาในชุมชนเป็นวิธีการหรือกระบวนการที่เป็นระบบ
     ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มชน
 •   การให้สุขศึกษาในชุมชนมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดสาเหตุการเจ็บป่วย
     การตาย ลดปัญหาสาธารณสุข สร้างความกินดีอยู่ดี ปราศจาก
     โรคภัย
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
  ความรู้
Knowledge
การสอนสุขศึกษา
  ความรู้         ทัศนคติ
Knowledge        Attitude
การสอนสุขศึกษา
  ความรู้         ทัศนคติ    การปฏิบัติ
Knowledge        Attitude    Practice
การสอนสุขศึกษา
  ความรู้         ทัศนคติ    การปฏิบัติ
Knowledge        Attitude    Practice
การสอนสุขศึกษา
  ความรู้             ทัศนคติ          การปฏิบัติ
Knowledge            Attitude          Practice




              การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การพัฒนา KAP ตามช่วงชั้น
การพัฒนา KAP ตามช่วงชั้น

       ชั้น            ลําดับที่ 1   ลําดับที่ 2   ลําดับที่ 3

      ปฐมวัย           การปฏิบัติ     เจตคติ        ความรู้
 ประถมศึกษาตอนต้น       Practice      Attitude     Knowledge
                        เจตคติ       การปฏิบัติ     ความรู้
ประถมศึกษาตอนปลาย
                        Attitude      Practice     Knowledge
                        เจตคติ       การปฏิบัติ     ความรู้
 มัธยมศึกษาตอนต้น
                        Attitude      Practice     Knowledge
                        ความรู้       เจตคติ       การปฏิบัติ
มัธยมศึกษาตอนปลาย
                       Knowledge      Attitude      Practice
    อุดมศึกษา           ความรู้       เจตคติ       การปฏิบัติ
     วัยผู้ใหญ่        Knowledge      Attitude      Practice
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
แนวคิดการสอนสุขศึกษา

      การสอนโดยตรง
       Direct HE
แนวคิดการสอนสุขศึกษา

      การสอนโดยตรง
       Direct HE




                       การสอนแบบ
                      ประสานสัมพันธ์
                     Correlation HE
แนวคิดการสอนสุขศึกษา

                 การสอนโดยตรง
                  Direct HE




  การสอนแบบ                       การสอนแบบ
    บูรณาการ                     ประสานสัมพันธ์
Integration HE                  Correlation HE
แนวคิดการสอนสุขศึกษา

                 การสอนโดยตรง
                  Direct HE




  การสอนแบบ                       การสอนแบบ
    บูรณาการ                     ประสานสัมพันธ์
Integration HE                  Correlation HE
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
•   การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
•   การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน
•   การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
•   การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน
•   การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน
•   เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
•   การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน
•   การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน
•   เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้
•   การสอนควรอยู่ในลักษณะการเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือการห้าม
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
•   การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน
•   การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน
•   เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้
•   การสอนควรอยู่ในลักษณะการเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือการห้าม
•   กิจกรรมที่นํามาใช้ประกอบการสอนควรเหมาะสมและถูกต้องตามหลักการ
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
•   การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน
•   การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน
•   เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้
•   การสอนควรอยู่ในลักษณะการเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือการห้าม
•   กิจกรรมที่นํามาใช้ประกอบการสอนควรเหมาะสมและถูกต้องตามหลักการ
•   การเลือกและการใช้สื่อการสอน
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
•   การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน
•   การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน
•   เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้
•   การสอนควรอยู่ในลักษณะการเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือการห้าม
•   กิจกรรมที่นํามาใช้ประกอบการสอนควรเหมาะสมและถูกต้องตามหลักการ
•   การเลือกและการใช้สื่อการสอน
•   การสอนที่เป็นหลักการมากเกินไป
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
•   การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน
•   การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน
•   เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้
•   การสอนควรอยู่ในลักษณะการเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือการห้าม
•   กิจกรรมที่นํามาใช้ประกอบการสอนควรเหมาะสมและถูกต้องตามหลักการ
•   การเลือกและการใช้สื่อการสอน
•   การสอนที่เป็นหลักการมากเกินไป
•   การสอนเป็นสิ่งที่ยากเกินความสามารถของผู้เรียน
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน
•   การให้รางวัลหรือการยกโทษที่ขัดกับหลักสุขศึกษา
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน
•   การให้รางวัลหรือการยกโทษที่ขัดกับหลักสุขศึกษา
•   การเป็นตัวอย่างที่ดี
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน
•   การให้รางวัลหรือการยกโทษที่ขัดกับหลักสุขศึกษา
•   การเป็นตัวอย่างที่ดี
•   การมีอารมณ์ขัน
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน
•   การให้รางวัลหรือการยกโทษที่ขัดกับหลักสุขศึกษา
•   การเป็นตัวอย่างที่ดี
•   การมีอารมณ์ขัน
•   การสอนควรมีวิธีที่หลากหลาย
แนวคิดการสอนสุขศึกษา
•   การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน
•   การให้รางวัลหรือการยกโทษที่ขัดกับหลักสุขศึกษา
•   การเป็นตัวอย่างที่ดี
•   การมีอารมณ์ขัน
•   การสอนควรมีวิธีที่หลากหลาย
•   การสอนควรยึดนักเรียนปกติเป็นเกณฑ์
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
•   ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน
    ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
•   ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน
    ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน
•   พยายามทําให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จ เพื่อให้ผู้เรียนพอใจ มีความพยายาม และ
    สนใจสิ่งใหม่
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
•   ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน
    ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน
•   พยายามทําให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จ เพื่อให้ผู้เรียนพอใจ มีความพยายาม และ
    สนใจสิ่งใหม่
•   เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นจริง
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
•   ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน
    ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน
•   พยายามทําให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จ เพื่อให้ผู้เรียนพอใจ มีความพยายาม และ
    สนใจสิ่งใหม่
•   เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นจริง
•   บทบาทเบื้องต้นของผู้สอน คือ กระตุ้นและแนะผู้เรียนให้กระทํา มีเจตคติ และค่า
    นิยมที่ดี
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
•   ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน
    ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน
•   พยายามทําให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จ เพื่อให้ผู้เรียนพอใจ มีความพยายาม และ
    สนใจสิ่งใหม่
•   เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นจริง
•   บทบาทเบื้องต้นของผู้สอน คือ กระตุ้นและแนะผู้เรียนให้กระทํา มีเจตคติ และค่า
    นิยมที่ดี
•   จัดกลุ่มให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
•   ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน
    ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน
•   พยายามทําให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จ เพื่อให้ผู้เรียนพอใจ มีความพยายาม และ
    สนใจสิ่งใหม่
•   เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นจริง
•   บทบาทเบื้องต้นของผู้สอน คือ กระตุ้นและแนะผู้เรียนให้กระทํา มีเจตคติ และค่า
    นิยมที่ดี
•   จัดกลุ่มให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ
•   จัดบรรยากาศแบบกลุ่ม ไม่ชี้นํา แสดงความเป็นกันเอง กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้สึก
    ปลอดภัย และทําหน้าที่สมาชิกที่ดีของกลุ่ม
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
•   การสอนต้องช่วยให้ผู้เรียนค้นพบและพัฒนาสติปัญญาของตนเอง บทบาทของผู้
    สอน คือ ช่วยให้ผู้เรียนทําทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะทําและทําได้อย่างดี
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
•   การสอนต้องช่วยให้ผู้เรียนค้นพบและพัฒนาสติปัญญาของตนเอง บทบาทของผู้
    สอน คือ ช่วยให้ผู้เรียนทําทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะทําและทําได้อย่างดี
•   การเรียนจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีการสอนและการจูงใจ
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
•   การสอนต้องช่วยให้ผู้เรียนค้นพบและพัฒนาสติปัญญาของตนเอง บทบาทของผู้
    สอน คือ ช่วยให้ผู้เรียนทําทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะทําและทําได้อย่างดี
•   การเรียนจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีการสอนและการจูงใจ
•   ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักวิเคราะห์สิ่งที่ตนเองเรียนให้ดีที่สุด
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
•   การสอนต้องช่วยให้ผู้เรียนค้นพบและพัฒนาสติปัญญาของตนเอง บทบาทของผู้
    สอน คือ ช่วยให้ผู้เรียนทําทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะทําและทําได้อย่างดี
•   การเรียนจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีการสอนและการจูงใจ
•   ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักวิเคราะห์สิ่งที่ตนเองเรียนให้ดีที่สุด
•   ค้นหาสาเหตุที่ทําให้ผู้เรียนเรียนช้า หรือไม่อยากเรียน และพยายามพัฒนาวิธีการ
    พัฒนาการเรียนการสอนของตนเอง
หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา
•   การสอนต้องช่วยให้ผู้เรียนค้นพบและพัฒนาสติปัญญาของตนเอง บทบาทของผู้
    สอน คือ ช่วยให้ผู้เรียนทําทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะทําและทําได้อย่างดี
•   การเรียนจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีการสอนและการจูงใจ
•   ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักวิเคราะห์สิ่งที่ตนเองเรียนให้ดีที่สุด
•   ค้นหาสาเหตุที่ทําให้ผู้เรียนเรียนช้า หรือไม่อยากเรียน และพยายามพัฒนาวิธีการ
    พัฒนาการเรียนการสอนของตนเอง
•   ใช้สื่อให้เป็นประโยชน์ เพื่อให้เกิดการรับรู้ครบทุกด้าน
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)
•   การสุขศึกษา (Education: E)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)
•   การสุขศึกษา (Education: E)
•   การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา
    สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)
•   การสุขศึกษา (Education: E)
•   การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา
    สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
•   การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น
    (Surveillance for local disease control: S)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)
•   การสุขศึกษา (Education: E)
•   การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา
    สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
•   การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น
    (Surveillance for local disease control: S)
•   การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)
•   การสุขศึกษา (Education: E)
•   การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา
    สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
•   การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น
    (Surveillance for local disease control: S)
•   การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I)
•   การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple
    treatment: T)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)
•   การสุขศึกษา (Education: E)
•   การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา
    สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
•   การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น
    (Surveillance for local disease control: S)
•   การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I)
•   การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple
    treatment: T)
•   การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน
    (Essential drugs: E)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)
•   การสุขศึกษา (Education: E)
•   การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา
    สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
•   การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น
    (Surveillance for local disease control: S)
•   การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I)
•   การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple
    treatment: T)
•   การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน
    (Essential drugs: E)
•   การสุขภาพจิต (Mental health: M)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)                    •   การทันตสาธารณสุข (Dental health: D)
•   การสุขศึกษา (Education: E)
•   การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา
    สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
•   การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น
    (Surveillance for local disease control: S)
•   การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I)
•   การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple
    treatment: T)
•   การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน
    (Essential drugs: E)
•   การสุขภาพจิต (Mental health: M)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)                    •   การทันตสาธารณสุข (Dental health: D)
•   การสุขศึกษา (Education: E)                    •   การป้องกันและแกไข้มลภาวะและสิ่ง
                                                      แวดล้อมที่เป็นพิษเป็นภัย (Environment
•   การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา
                                                      health: E)
    สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
•   การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น
    (Surveillance for local disease control: S)
•   การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I)
•   การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple
    treatment: T)
•   การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน
    (Essential drugs: E)
•   การสุขภาพจิต (Mental health: M)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)                    •   การทันตสาธารณสุข (Dental health: D)
•   การสุขศึกษา (Education: E)                    •   การป้องกันและแกไข้มลภาวะและสิ่ง
                                                      แวดล้อมที่เป็นพิษเป็นภัย (Environment
•   การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา
                                                      health: E)
    สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
•   การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น                  •   การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer
                                                      protection: C)
    (Surveillance for local disease control: S)
•   การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I)
•   การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple
    treatment: T)
•   การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน
    (Essential drugs: E)
•   การสุขภาพจิต (Mental health: M)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)                    •   การทันตสาธารณสุข (Dental health: D)
•   การสุขศึกษา (Education: E)                    •   การป้องกันและแกไข้มลภาวะและสิ่ง
                                                      แวดล้อมที่เป็นพิษเป็นภัย (Environment
•   การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา
                                                      health: E)
    สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
•   การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น                  •   การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer
                                                      protection: C)
    (Surveillance for local disease control: S)
•   การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I)       •   การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ อุบัติภัย
                                                      และโรคไม่ติดต่อ (Accidental and non-
•   การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple                   communicable disease control: A)
    treatment: T)
•   การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน
    (Essential drugs: E)
•   การสุขภาพจิต (Mental health: M)
กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน
•   การโภชนาการ (Nutrition: N)                    •   การทันตสาธารณสุข (Dental health: D)
•   การสุขศึกษา (Education: E)                    •   การป้องกันและแกไข้มลภาวะและสิ่ง
                                                      แวดล้อมที่เป็นพิษเป็นภัย (Environment
•   การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา
                                                      health: E)
    สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
•   การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น                  •   การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer
                                                      protection: C)
    (Surveillance for local disease control: S)
•   การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I)       •   การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ อุบัติภัย
                                                      และโรคไม่ติดต่อ (Accidental and non-
•   การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple                   communicable disease control: A)
    treatment: T)
                                                  •   การป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ (AIDS:
•   การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน                 A)
    (Essential drugs: E)
•   การสุขภาพจิต (Mental health: M)
ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน
ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน

Promotion
ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน

Promotion   การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ
ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน

Promotion    การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ




Prevention
ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน

Promotion    การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ




Prevention    การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานป้องกันโรค
ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน

Promotion    การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ




Prevention    การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานป้องกันโรค



               การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านรักษา
ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน

Promotion    การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ




Prevention    การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานป้องกันโรค



               การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านรักษา



              การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานฟื้นฟูสภาพ
ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน

Promotion    การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ




Prevention    การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานป้องกันโรค




Treatment      การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านรักษา



              การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานฟื้นฟูสภาพ
ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน

 Promotion       การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ




 Prevention       การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานป้องกันโรค




 Treatment         การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านรักษา




Rehabilitation    การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานฟื้นฟูสภาพ
เทคนิคการให้สุขศึกษา
เทคนิคการให้สุขศึกษา



    ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการให้สุขศึกษา



                              ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง




ผู้เรียนมีส่วนร่วมมากที่สุด
เทคนิคการให้สุขศึกษา



                              ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง




ผู้เรียนมีส่วนร่วมมากที่สุด                           ผู้เรียนค้นพบด้วยตนเอง
เทคนิคการให้สุขศึกษา



                              ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง




ผู้เรียนมีส่วนร่วมมากที่สุด                           ผู้เรียนค้นพบด้วยตนเอง
วิธีการสอนสุขศึกษา
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา
•   การเล่าประสบการณ์
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา
•   การเล่าประสบการณ์
•   การสาธิต
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา
•   การเล่าประสบการณ์
•   การสาธิต
•   การดําเนินโครงการ
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา
•   การเล่าประสบการณ์
•   การสาธิต
•   การดําเนินโครงการ
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา
•   การเล่าประสบการณ์
•   การสาธิต
•   การดําเนินโครงการ
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา
•   การเล่าประสบการณ์
•   การสาธิต
•   การดําเนินโครงการ
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ
•   การบรรยาย
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา
•   การเล่าประสบการณ์
•   การสาธิต
•   การดําเนินโครงการ
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ
•   การบรรยาย
•   การสอนแบบสืบสวน
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา
•   การเล่าประสบการณ์
•   การสาธิต
•   การดําเนินโครงการ
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ
•   การบรรยาย
•   การสอนแบบสืบสวน
•   การแสดงบทบาทสมมติ
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา
•   การเล่าประสบการณ์
•   การสาธิต
•   การดําเนินโครงการ
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ
•   การบรรยาย
•   การสอนแบบสืบสวน
•   การแสดงบทบาทสมมติ
•   การใช้เกม
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา          •   การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม
•   การเล่าประสบการณ์
•   การสาธิต
•   การดําเนินโครงการ
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ
•   การบรรยาย
•   การสอนแบบสืบสวน
•   การแสดงบทบาทสมมติ
•   การใช้เกม
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา          •   การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม
•   การเล่าประสบการณ์           •   การใช้ทักษะชีวิต
•   การสาธิต
•   การดําเนินโครงการ
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ
•   การบรรยาย
•   การสอนแบบสืบสวน
•   การแสดงบทบาทสมมติ
•   การใช้เกม
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา          •   การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม
•   การเล่าประสบการณ์           •   การใช้ทักษะชีวิต
•   การสาธิต                    •   การอภิปราย
•   การดําเนินโครงการ
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ
•   การบรรยาย
•   การสอนแบบสืบสวน
•   การแสดงบทบาทสมมติ
•   การใช้เกม
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา          •   การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม
•   การเล่าประสบการณ์           •   การใช้ทักษะชีวิต
•   การสาธิต                    •   การอภิปราย
•   การดําเนินโครงการ           •   การโต้วาที
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ
•   การบรรยาย
•   การสอนแบบสืบสวน
•   การแสดงบทบาทสมมติ
•   การใช้เกม
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา          •   การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม
•   การเล่าประสบการณ์           •   การใช้ทักษะชีวิต
•   การสาธิต                    •   การอภิปราย
•   การดําเนินโครงการ           •   การโต้วาที
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา       •   การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ
•   การบรรยาย
•   การสอนแบบสืบสวน
•   การแสดงบทบาทสมมติ
•   การใช้เกม
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา          •   การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม
•   การเล่าประสบการณ์           •   การใช้ทักษะชีวิต
•   การสาธิต                    •   การอภิปราย
•   การดําเนินโครงการ           •   การโต้วาที
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา       •   การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ     •   การฝึกปฏิบัติ
•   การบรรยาย
•   การสอนแบบสืบสวน
•   การแสดงบทบาทสมมติ
•   การใช้เกม
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา          •   การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม
•   การเล่าประสบการณ์           •   การใช้ทักษะชีวิต
•   การสาธิต                    •   การอภิปราย
•   การดําเนินโครงการ           •   การโต้วาที
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา       •   การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ     •   การฝึกปฏิบัติ
•   การบรรยาย                   •   การสอนโดยใช้พื้นฐานการวิจัย
•   การสอนแบบสืบสวน
•   การแสดงบทบาทสมมติ
•   การใช้เกม
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา          •   การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม
•   การเล่าประสบการณ์           •   การใช้ทักษะชีวิต
•   การสาธิต                    •   การอภิปราย
•   การดําเนินโครงการ           •   การโต้วาที
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา       •   การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ     •   การฝึกปฏิบัติ
•   การบรรยาย                   •   การสอนโดยใช้พื้นฐานการวิจัย
•   การสอนแบบสืบสวน             •   การใช้อุปกรณ์หรือสื่อต่างๆ
•   การแสดงบทบาทสมมติ
•   การใช้เกม
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา          •   การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม
•   การเล่าประสบการณ์           •   การใช้ทักษะชีวิต
•   การสาธิต                    •   การอภิปราย
•   การดําเนินโครงการ           •   การโต้วาที
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา       •   การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ     •   การฝึกปฏิบัติ
•   การบรรยาย                   •   การสอนโดยใช้พื้นฐานการวิจัย
•   การสอนแบบสืบสวน             •   การใช้อุปกรณ์หรือสื่อต่างๆ
•   การแสดงบทบาทสมมติ           •   การใช้แบบประเมินหรือแบบสอบถาม
•   การใช้เกม
วิธีการสอนสุขศึกษา
•   การพูดคุยหรือสนทนา          •   การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม
•   การเล่าประสบการณ์           •   การใช้ทักษะชีวิต
•   การสาธิต                    •   การอภิปราย
•   การดําเนินโครงการ           •   การโต้วาที
•   การใช้วิธีการแก้ปัญหา       •   การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง
•   การใช้กระบวนการตัดสินใจ     •   การฝึกปฏิบัติ
•   การบรรยาย                   •   การสอนโดยใช้พื้นฐานการวิจัย
•   การสอนแบบสืบสวน             •   การใช้อุปกรณ์หรือสื่อต่างๆ
•   การแสดงบทบาทสมมติ           •   การใช้แบบประเมินหรือแบบสอบถาม
•   การใช้เกม                   •   การใช้ Why technique
เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา
เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา




3
    C
    C
    C
เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา




3
    C
                            Clarify
            การกําหนดปัญหาหรืิอสิ่งที่ต้องตัดสินใจให้ชัดเจน



    C
    C
เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา




3
    C
                             Clarify
             การกําหนดปัญหาหรืิอสิ่งที่ต้องตัดสินใจให้ชัดเจน



    C
                            Consider
        การพิจารณาทางเลือกหลายๆ ทางและคาดเดาผลที่อาจเกิดขึ้น



    C
เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา




3
    C
                             Clarify
             การกําหนดปัญหาหรืิอสิ่งที่ต้องตัดสินใจให้ชัดเจน



    C
                            Consider
        การพิจารณาทางเลือกหลายๆ ทางและคาดเดาผลที่อาจเกิดขึ้น



    C
                               Choose
                       การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด
เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา




3
    C
                             Clarify
             การกําหนดปัญหาหรืิอสิ่งที่ต้องตัดสินใจให้ชัดเจน



    C
                            Consider
        การพิจารณาทางเลือกหลายๆ ทางและคาดเดาผลที่อาจเกิดขึ้น



    C
                               Choose
                       การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด
เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา




3
       C
                                  Clarify
                  การกําหนดปัญหาหรืิอสิ่งที่ต้องตัดสินใจให้ชัดเจน



       C
                                 Consider
             การพิจารณาทางเลือกหลายๆ ทางและคาดเดาผลที่อาจเกิดขึ้น



       C
                                    Choose
                            การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด




ผู้สอนสุขศึกษาจะให้สถานการณ์แล้วให้ผู้เรียนคิดตัดสินใจ
Situation:.........................................
 Problem:........................................................

                Alternative                                                  Expected result
  1................................................                 1................................................
  2................................................                 2................................................
  3................................................                 3................................................


                                                     Choose
.........................................................................................................................
เทคนิคทําไม (Why technique)
เทคนิคทําไม (Why technique)
•   กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์
เทคนิคทําไม (Why technique)
•   กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์
•   ใช้คําถามทําไม
เทคนิคทําไม (Why technique)
•   กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์
•   ใช้คําถามทําไม
•   ยอมรับคําตอบ
เทคนิคทําไม (Why technique)
•   กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์
•   ใช้คําถามทําไม
•   ยอมรับคําตอบ
•   เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น”
เทคนิคทําไม (Why technique)
•   กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์
•   ใช้คําถามทําไม
•   ยอมรับคําตอบ
•   เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น”
•   ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่
เทคนิคทําไม (Why technique)
•   กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์
•   ใช้คําถามทําไม
•   ยอมรับคําตอบ
•   เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น”
•   ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่


             Full
เทคนิคทําไม (Why technique)
•   กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์
•   ใช้คําถามทําไม
•   ยอมรับคําตอบ
•   เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น”
•   ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่


          Full
       Knowledge
เทคนิคทําไม (Why technique)
•   กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์
•   ใช้คําถามทําไม
•   ยอมรับคําตอบ
•   เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น”
•   ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่


          Full
       Knowledge
เทคนิคทําไม (Why technique)
•   กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์
•   ใช้คําถามทําไม
•   ยอมรับคําตอบ
•   เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น”
•   ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่


          Full                                                  Zero
       Knowledge
เทคนิคทําไม (Why technique)
•   กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์
•   ใช้คําถามทําไม
•   ยอมรับคําตอบ
•   เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น”
•   ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่


          Full                                              Zero
       Knowledge                                          Knowledge
การประเมินผล
การประเมินผล
 เป็นการวัดภาวะความเจริญก้าวหน้าของสิ่งที่เรากระทําหรือ
  ปฏิบัติ รวมทั้งเป็นวิธีการที่จะค้นหาว่าเราสามารถทําสิ่งที่
ตนเองต้องการได้หรือไม่ และยังเป็นขบวนการที่ช่วยค้นหาวิธี
  การที่ดี และใหม่สําหรับการก้าวไปสู่เป้าหมายที่กําหนดไว้
การประเมินผล
 เป็นการวัดภาวะความเจริญก้าวหน้าของสิ่งที่เรากระทําหรือ
  ปฏิบัติ รวมทั้งเป็นวิธีการที่จะค้นหาว่าเราสามารถทําสิ่งที่
ตนเองต้องการได้หรือไม่ และยังเป็นขบวนการที่ช่วยค้นหาวิธี
  การที่ดี และใหม่สําหรับการก้าวไปสู่เป้าหมายที่กําหนดไว้

การประเมินผลเป็นการตัดสินว่าโครงการนั้นๆ
         ประสบผลสําเร็จหรือไม่
ประเมินอะไร?
ประเมินอะไร?
 ประเมินค่านิยมของผู้เรียน
ประเมินอะไร?
 ประเมินค่านิยมของผู้เรียน
  ประเมินเนื้อหาการสอน
ประเมินอะไร?
 ประเมินค่านิยมของผู้เรียน
  ประเมินเนื้อหาการสอน
  ประเมินผลวิธีการสอน
ประเมินอะไร?
 ประเมินค่านิยมของผู้เรียน
  ประเมินเนื้อหาการสอน
  ประเมินผลวิธีการสอน
    ประเมินสิ่งแวดล้อม
ประเมินอะไร?
 ประเมินค่านิยมของผู้เรียน
  ประเมินเนื้อหาการสอน
  ประเมินผลวิธีการสอน
    ประเมินสิ่งแวดล้อม
   ประเมินวิธีการวัดผล
ประเมินเมื่อไหร่
ประเมินเมื่อไหร่
ระยะก่อนการสอน
ประเมินเมื่อไหร่
      ระยะก่อนการสอน




 ประเมินความต้องการ ความ
สนใจ ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับ
 สุขภาพของผู้เรียน ตลอดจน
   สุขภาพอนามัยของนักเรียน
   เพื่อนําข้อมูลมาวางแผนการ
สอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนมาก
ที่สุด และกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ
            ในการเรียน
ประเมินเมื่อไหร่
      ระยะก่อนการสอน                   ระยะระหว่างการสอน




 ประเมินความต้องการ ความ
สนใจ ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับ
 สุขภาพของผู้เรียน ตลอดจน
   สุขภาพอนามัยของนักเรียน
   เพื่อนําข้อมูลมาวางแผนการ
สอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนมาก
ที่สุด และกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ
            ในการเรียน
ประเมินเมื่อไหร่
      ระยะก่อนการสอน                      ระยะระหว่างการสอน




 ประเมินความต้องการ ความ
สนใจ ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับ
                                      เป็นการประเมินผลว่าการสอน
 สุขภาพของผู้เรียน ตลอดจน
                                     บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กําหนด
   สุขภาพอนามัยของนักเรียน
                                         ไว้หรือไม่ ผู้เรียนเกิดการ
   เพื่อนําข้อมูลมาวางแผนการ
                                       เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมาก
สอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนมาก
                                                น้อยเพียงใด
ที่สุด และกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ
            ในการเรียน
ประเมินเมื่อไหร่
      ระยะก่อนการสอน                      ระยะระหว่างการสอน           ระยะสุดท้ายของการสอน




 ประเมินความต้องการ ความ
สนใจ ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับ
                                      เป็นการประเมินผลว่าการสอน
 สุขภาพของผู้เรียน ตลอดจน
                                     บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กําหนด
   สุขภาพอนามัยของนักเรียน
                                         ไว้หรือไม่ ผู้เรียนเกิดการ
   เพื่อนําข้อมูลมาวางแผนการ
                                       เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมาก
สอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนมาก
                                                น้อยเพียงใด
ที่สุด และกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ
            ในการเรียน
ประเมินเมื่อไหร่
      ระยะก่อนการสอน                      ระยะระหว่างการสอน             ระยะสุดท้ายของการสอน




 ประเมินความต้องการ ความ
                                                                        เป็นการประเมินเพื่อให้ทราบ
สนใจ ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับ
                                      เป็นการประเมินผลว่าการสอน          ว่าการสอนสุขศึกษาบรรลุ
 สุขภาพของผู้เรียน ตลอดจน
                                     บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กําหนด    วัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้หรือไม่
   สุขภาพอนามัยของนักเรียน
                                         ไว้หรือไม่ ผู้เรียนเกิดการ    สนองตอบความต้องการ และ
   เพื่อนําข้อมูลมาวางแผนการ
                                       เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมาก         ความสนใจของผู้เรียนมากน้อย
สอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนมาก
                                                น้อยเพียงใด           เพียงใด การสอนช่วยให้ผู้เรียน
ที่สุด และกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ
                                                                      มีสัมฤทธิผลทางสุขภาพหรือไม่
            ในการเรียน
ประเมินอย่างไร?
ประเมินอย่างไร?

วิธีการประเมินแบบอัตนัย
ประเมินอย่างไร?

วิธีการประเมินแบบอัตนัย
       Subjective
ประเมินอย่างไร?

วิธีการประเมินแบบอัตนัย             วิธีการประเมินแบบปรนัย
       Subjective
ประเมินอย่างไร?

วิธีการประเมินแบบอัตนัย             วิธีการประเมินแบบปรนัย
       Subjective                          Objective
ประเมินอย่างไร?

         วิธีการประเมินแบบอัตนัย             วิธีการประเมินแบบปรนัย
                Subjective                          Objective

•การสังเกต (Observation)
ประเมินอย่างไร?

         วิธีการประเมินแบบอัตนัย                วิธีการประเมินแบบปรนัย
                Subjective                             Objective

•การสังเกต (Observation)
•การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check
lists)
ประเมินอย่างไร?

        วิธีการประเมินแบบอัตนัย                 วิธีการประเมินแบบปรนัย
               Subjective                              Objective

•การสังเกต (Observation)
•การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check
lists)
•การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record)
ประเมินอย่างไร?

        วิธีการประเมินแบบอัตนัย                 วิธีการประเมินแบบปรนัย
               Subjective                              Objective

•การสังเกต (Observation)
•การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check
lists)
•การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record)
•การสัมภาษณ์ (Interview)
ประเมินอย่างไร?

        วิธีการประเมินแบบอัตนัย                 วิธีการประเมินแบบปรนัย
               Subjective                              Objective

•การสังเกต (Observation)
•การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check
lists)
•การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record)
•การสัมภาษณ์ (Interview)
•การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ
(Questionnaires and surveys)
ประเมินอย่างไร?

        วิธีการประเมินแบบอัตนัย                 วิธีการประเมินแบบปรนัย
               Subjective                              Objective

•การสังเกต (Observation)
•การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check
lists)
•การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record)
•การสัมภาษณ์ (Interview)
•การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ
(Questionnaires and surveys)
•การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical
ประเมินอย่างไร?

         วิธีการประเมินแบบอัตนัย                วิธีการประเมินแบบปรนัย
                Subjective                             Objective

•การสังเกต (Observation)
•การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check
lists)
•การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record)
•การสัมภาษณ์ (Interview)
•การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ
(Questionnaires and surveys)
•การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical
•การศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี (Case study)
ประเมินอย่างไร?

         วิธีการประเมินแบบอัตนัย                  วิธีการประเมินแบบปรนัย
                Subjective                               Objective

•การสังเกต (Observation)
•การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check
lists)
•การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record)
•การสัมภาษณ์ (Interview)
•การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ
(Questionnaires and surveys)
•การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical
•การศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี (Case study)
•การอภิปรายกลุ่มเล็ก (Small group discussion)
ประเมินอย่างไร?

         วิธีการประเมินแบบอัตนัย                  วิธีการประเมินแบบปรนัย
                Subjective                               Objective

•การสังเกต (Observation)
•การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check
lists)
•การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record)
•การสัมภาษณ์ (Interview)
•การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ
(Questionnaires and surveys)
•การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical
•การศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี (Case study)
•การอภิปรายกลุ่มเล็ก (Small group discussion)
•การแสดงบทบาทสมมติ (Role-playing)
ประเมินอย่างไร?

         วิธีการประเมินแบบอัตนัย                          วิธีการประเมินแบบปรนัย
                Subjective                                       Objective

•การสังเกต (Observation)                        •ข้อสอบที่ครูสร้างขึ้น (Teacher-made-tests)
•การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check
lists)
•การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record)
•การสัมภาษณ์ (Interview)
•การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ
(Questionnaires and surveys)
•การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical
•การศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี (Case study)
•การอภิปรายกลุ่มเล็ก (Small group discussion)
•การแสดงบทบาทสมมติ (Role-playing)
ประเมินอย่างไร?

         วิธีการประเมินแบบอัตนัย                          วิธีการประเมินแบบปรนัย
                Subjective                                       Objective

•การสังเกต (Observation)                        •ข้อสอบที่ครูสร้างขึ้น (Teacher-made-tests)
•การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check      •ข้อสอบมาตรฐาน (Standardized tests)
lists)
•การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record)
•การสัมภาษณ์ (Interview)
•การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ
(Questionnaires and surveys)
•การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical
•การศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี (Case study)
•การอภิปรายกลุ่มเล็ก (Small group discussion)
•การแสดงบทบาทสมมติ (Role-playing)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนPa'rig Prig
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 

Was ist angesagt? (20)

ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีน
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 

Ähnlich wie 9 การให้สุขศึกษา

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔weskaew yodmongkol
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3Nok Tiwung
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาAuamporn Junthong
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53Yumisnow Manoratch
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)sonsukda
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 
Participatory action research2
Participatory action research2Participatory action research2
Participatory action research2Ultraman Taro
 
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)Watcharin Chongkonsatit
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 

Ähnlich wie 9 การให้สุขศึกษา (20)

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
 
DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนา
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่  4จุดเน้นที่  4
จุดเน้นที่ 4
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 
Participatory action research2
Participatory action research2Participatory action research2
Participatory action research2
 
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Focus4
Focus4Focus4
Focus4
 

Mehr von Watcharin Chongkonsatit

บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyบทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyWatcharin Chongkonsatit
 
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนรูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนWatcharin Chongkonsatit
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 

Mehr von Watcharin Chongkonsatit (12)

2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry
 
2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry
 
2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry
 
2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
Introduction dgd641
Introduction dgd641Introduction dgd641
Introduction dgd641
 
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyบทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
 
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนรูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
รูปแบบการบริหารความเสี่ยงในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
บทที่ 4 staffing; hrm
บทที่ 4 staffing; hrmบทที่ 4 staffing; hrm
บทที่ 4 staffing; hrm
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่ 3 organizing
บทที่ 3 organizingบทที่ 3 organizing
บทที่ 3 organizing
 

9 การให้สุขศึกษา

  • 1.
  • 3.
  • 4.
  • 6. หลักการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน 1 ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน
  • 7. หลักการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน 1 ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน 2 การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา
  • 8. หลักการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน 1 ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน 2 การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา 3 การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพในชุมชน
  • 10. ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย • ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ ประชากร
  • 11. ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย • ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ ประชากร • ด้านเศรษฐกิจและสังคม :- อาชีพ รายได้ รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก
  • 12. ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย • ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ ประชากร • ด้านเศรษฐกิจและสังคม :- อาชีพ รายได้ รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก • สถิติสาธารณสุข :- การเกิด การตาย การเจ็บป่วย การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
  • 13. ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย • ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ ประชากร • ด้านเศรษฐกิจและสังคม :- อาชีพ รายได้ รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก • สถิติสาธารณสุข :- การเกิด การตาย การเจ็บป่วย การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน • สิ่งแวดล้อม :- สภาพบ้าน แหล่งน้ําดื่ม น้ําใช้ การกําจัดขยะ
  • 14. ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย • ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ ประชากร • ด้านเศรษฐกิจและสังคม :- อาชีพ รายได้ รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก • สถิติสาธารณสุข :- การเกิด การตาย การเจ็บป่วย การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน • สิ่งแวดล้อม :- สภาพบ้าน แหล่งน้ําดื่ม น้ําใช้ การกําจัดขยะ • ความรู้ ทัศคติ การปฏิบัติตัว
  • 15. ข้อมูลที่ใช้วินิจฉัย • ด้านประชากรศาสตร์ :- ลักษณะประชากร การย้ายเข้าออก การกระจายของ ประชากร • ด้านเศรษฐกิจและสังคม :- อาชีพ รายได้ รายจ่าย การติดต่อกับสังคมภายนอก • สถิติสาธารณสุข :- การเกิด การตาย การเจ็บป่วย การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน • สิ่งแวดล้อม :- สภาพบ้าน แหล่งน้ําดื่ม น้ําใช้ การกําจัดขยะ • ความรู้ ทัศคติ การปฏิบัติตัว • ด้านบริการสาธารณสุข :- จํานวนสถานบริการ การใช้บริการ ประเภทอาสาสมัคร
  • 17. การให้สุขศึกษา HEALTH EDUCATION ประสบการณ์ทั้งมวลทางด้านสุขภาพที่ทําให้บุคคลเกิดความรู้ เจตคติ การปฏิบัติที่ดีและถูกต้องต่อสุขภาพของตนเองและชุมชน ทั้งยังผลให้บุคคลและชุมชนมีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและ จิตใจ
  • 19. จุดมุ่งหมายของการให้สุขศึกษา • สอนให้รู้จักรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง ให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็ง แรง มีความสุข และสามารถกระทําการใดๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อชีวิต ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
  • 20. จุดมุ่งหมายของการให้สุขศึกษา • สอนให้รู้จักรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง ให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็ง แรง มีความสุข และสามารถกระทําการใดๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อชีวิต ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน • ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจและเจตคติที่ดีต่อการรักษาและปรับปรุงสุขภาพ ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
  • 21. จุดมุ่งหมายของการให้สุขศึกษา • สอนให้รู้จักรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง ให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็ง แรง มีความสุข และสามารถกระทําการใดๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อชีวิต ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน • ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจและเจตคติที่ดีต่อการรักษาและปรับปรุงสุขภาพ ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน • ปรับปรุงการดําเนินชีวิตของตนเองและชุมชน ให้เป็นบุคคลที่มีประสิทธิภาพ อยู่เสมอ ซึ่งเป็นการช่วยให้ประชากรของชาติมีสุขภาพดียิ่งขึ้น
  • 22. จุดมุ่งหมายของการให้สุขศึกษา • สอนให้รู้จักรักษาและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง ให้มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็ง แรง มีความสุข และสามารถกระทําการใดๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อชีวิต ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน • ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจและเจตคติที่ดีต่อการรักษาและปรับปรุงสุขภาพ ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน • ปรับปรุงการดําเนินชีวิตของตนเองและชุมชน ให้เป็นบุคคลที่มีประสิทธิภาพ อยู่เสมอ ซึ่งเป็นการช่วยให้ประชากรของชาติมีสุขภาพดียิ่งขึ้น • ผลจากการมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ จะมีผลทําให้เด็กเกิดสัมฤทธิผลทาง ด้านการศึกษาและการดํารงชีวิตของตนเอง
  • 24. ความสําคัญของการให้สุขศึกษาในชุมชน • การให้สุขศึกษาในชุมชนเป็นวิธีการหรือกระบวนการที่เป็นระบบ ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มชน
  • 25. ความสําคัญของการให้สุขศึกษาในชุมชน • การให้สุขศึกษาในชุมชนเป็นวิธีการหรือกระบวนการที่เป็นระบบ ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มชน • การให้สุขศึกษาในชุมชนมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดสาเหตุการเจ็บป่วย การตาย ลดปัญหาสาธารณสุข สร้างความกินดีอยู่ดี ปราศจาก โรคภัย
  • 28. การสอนสุขศึกษา ความรู้ ทัศนคติ Knowledge Attitude
  • 29. การสอนสุขศึกษา ความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ Knowledge Attitude Practice
  • 30. การสอนสุขศึกษา ความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ Knowledge Attitude Practice
  • 31. การสอนสุขศึกษา ความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ Knowledge Attitude Practice การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
  • 33. การพัฒนา KAP ตามช่วงชั้น ชั้น ลําดับที่ 1 ลําดับที่ 2 ลําดับที่ 3 ปฐมวัย การปฏิบัติ เจตคติ ความรู้ ประถมศึกษาตอนต้น Practice Attitude Knowledge เจตคติ การปฏิบัติ ความรู้ ประถมศึกษาตอนปลาย Attitude Practice Knowledge เจตคติ การปฏิบัติ ความรู้ มัธยมศึกษาตอนต้น Attitude Practice Knowledge ความรู้ เจตคติ การปฏิบัติ มัธยมศึกษาตอนปลาย Knowledge Attitude Practice อุดมศึกษา ความรู้ เจตคติ การปฏิบัติ วัยผู้ใหญ่ Knowledge Attitude Practice
  • 35. แนวคิดการสอนสุขศึกษา การสอนโดยตรง Direct HE
  • 36. แนวคิดการสอนสุขศึกษา การสอนโดยตรง Direct HE การสอนแบบ ประสานสัมพันธ์ Correlation HE
  • 37. แนวคิดการสอนสุขศึกษา การสอนโดยตรง Direct HE การสอนแบบ การสอนแบบ บูรณาการ ประสานสัมพันธ์ Integration HE Correlation HE
  • 38. แนวคิดการสอนสุขศึกษา การสอนโดยตรง Direct HE การสอนแบบ การสอนแบบ บูรณาการ ประสานสัมพันธ์ Integration HE Correlation HE
  • 40. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
  • 41. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน • การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน
  • 42. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน • การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน • การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน
  • 43. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน • การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน • การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน • เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้
  • 44. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน • การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน • การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน • เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้ • การสอนควรอยู่ในลักษณะการเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือการห้าม
  • 45. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน • การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน • การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน • เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้ • การสอนควรอยู่ในลักษณะการเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือการห้าม • กิจกรรมที่นํามาใช้ประกอบการสอนควรเหมาะสมและถูกต้องตามหลักการ
  • 46. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน • การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน • การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน • เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้ • การสอนควรอยู่ในลักษณะการเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือการห้าม • กิจกรรมที่นํามาใช้ประกอบการสอนควรเหมาะสมและถูกต้องตามหลักการ • การเลือกและการใช้สื่อการสอน
  • 47. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน • การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน • การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน • เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้ • การสอนควรอยู่ในลักษณะการเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือการห้าม • กิจกรรมที่นํามาใช้ประกอบการสอนควรเหมาะสมและถูกต้องตามหลักการ • การเลือกและการใช้สื่อการสอน • การสอนที่เป็นหลักการมากเกินไป
  • 48. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การสอนสุขศึกษาเป็นขบวนการที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน • การสอนควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสุขภาพทุกด้าน • การสอนควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน • เนื้อหาความรู้ที่สอนควรมีหลักฐานเชื่อถือได้ • การสอนควรอยู่ในลักษณะการเสนอแนะมากกว่าการบอกหรือการห้าม • กิจกรรมที่นํามาใช้ประกอบการสอนควรเหมาะสมและถูกต้องตามหลักการ • การเลือกและการใช้สื่อการสอน • การสอนที่เป็นหลักการมากเกินไป • การสอนเป็นสิ่งที่ยากเกินความสามารถของผู้เรียน
  • 50. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน
  • 51. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน • การให้รางวัลหรือการยกโทษที่ขัดกับหลักสุขศึกษา
  • 52. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน • การให้รางวัลหรือการยกโทษที่ขัดกับหลักสุขศึกษา • การเป็นตัวอย่างที่ดี
  • 53. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน • การให้รางวัลหรือการยกโทษที่ขัดกับหลักสุขศึกษา • การเป็นตัวอย่างที่ดี • การมีอารมณ์ขัน
  • 54. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน • การให้รางวัลหรือการยกโทษที่ขัดกับหลักสุขศึกษา • การเป็นตัวอย่างที่ดี • การมีอารมณ์ขัน • การสอนควรมีวิธีที่หลากหลาย
  • 55. แนวคิดการสอนสุขศึกษา • การยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นปมด้อยของผู้เรียน • การให้รางวัลหรือการยกโทษที่ขัดกับหลักสุขศึกษา • การเป็นตัวอย่างที่ดี • การมีอารมณ์ขัน • การสอนควรมีวิธีที่หลากหลาย • การสอนควรยึดนักเรียนปกติเป็นเกณฑ์
  • 57. หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา • ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน
  • 58. หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา • ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน • พยายามทําให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จ เพื่อให้ผู้เรียนพอใจ มีความพยายาม และ สนใจสิ่งใหม่
  • 59. หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา • ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน • พยายามทําให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จ เพื่อให้ผู้เรียนพอใจ มีความพยายาม และ สนใจสิ่งใหม่ • เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นจริง
  • 60. หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา • ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน • พยายามทําให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จ เพื่อให้ผู้เรียนพอใจ มีความพยายาม และ สนใจสิ่งใหม่ • เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นจริง • บทบาทเบื้องต้นของผู้สอน คือ กระตุ้นและแนะผู้เรียนให้กระทํา มีเจตคติ และค่า นิยมที่ดี
  • 61. หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา • ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน • พยายามทําให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จ เพื่อให้ผู้เรียนพอใจ มีความพยายาม และ สนใจสิ่งใหม่ • เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นจริง • บทบาทเบื้องต้นของผู้สอน คือ กระตุ้นและแนะผู้เรียนให้กระทํา มีเจตคติ และค่า นิยมที่ดี • จัดกลุ่มให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ
  • 62. หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา • ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันวางจุดมุ่งหมาย วางแผนการสอน แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และประเมินผลการเรียนการสอนร่วมกัน • พยายามทําให้ผู้เรียนประสบความสําเร็จ เพื่อให้ผู้เรียนพอใจ มีความพยายาม และ สนใจสิ่งใหม่ • เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นจริง • บทบาทเบื้องต้นของผู้สอน คือ กระตุ้นและแนะผู้เรียนให้กระทํา มีเจตคติ และค่า นิยมที่ดี • จัดกลุ่มให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ • จัดบรรยากาศแบบกลุ่ม ไม่ชี้นํา แสดงความเป็นกันเอง กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้สึก ปลอดภัย และทําหน้าที่สมาชิกที่ดีของกลุ่ม
  • 64. หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา • การสอนต้องช่วยให้ผู้เรียนค้นพบและพัฒนาสติปัญญาของตนเอง บทบาทของผู้ สอน คือ ช่วยให้ผู้เรียนทําทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะทําและทําได้อย่างดี
  • 65. หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา • การสอนต้องช่วยให้ผู้เรียนค้นพบและพัฒนาสติปัญญาของตนเอง บทบาทของผู้ สอน คือ ช่วยให้ผู้เรียนทําทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะทําและทําได้อย่างดี • การเรียนจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีการสอนและการจูงใจ
  • 66. หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา • การสอนต้องช่วยให้ผู้เรียนค้นพบและพัฒนาสติปัญญาของตนเอง บทบาทของผู้ สอน คือ ช่วยให้ผู้เรียนทําทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะทําและทําได้อย่างดี • การเรียนจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีการสอนและการจูงใจ • ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักวิเคราะห์สิ่งที่ตนเองเรียนให้ดีที่สุด
  • 67. หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา • การสอนต้องช่วยให้ผู้เรียนค้นพบและพัฒนาสติปัญญาของตนเอง บทบาทของผู้ สอน คือ ช่วยให้ผู้เรียนทําทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะทําและทําได้อย่างดี • การเรียนจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีการสอนและการจูงใจ • ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักวิเคราะห์สิ่งที่ตนเองเรียนให้ดีที่สุด • ค้นหาสาเหตุที่ทําให้ผู้เรียนเรียนช้า หรือไม่อยากเรียน และพยายามพัฒนาวิธีการ พัฒนาการเรียนการสอนของตนเอง
  • 68. หลักการพื้นฐานในการให้สุขศึกษา • การสอนต้องช่วยให้ผู้เรียนค้นพบและพัฒนาสติปัญญาของตนเอง บทบาทของผู้ สอน คือ ช่วยให้ผู้เรียนทําทุกสิ่งทุกอย่างที่เขาสามารถจะทําและทําได้อย่างดี • การเรียนจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มีการสอนและการจูงใจ • ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักวิเคราะห์สิ่งที่ตนเองเรียนให้ดีที่สุด • ค้นหาสาเหตุที่ทําให้ผู้เรียนเรียนช้า หรือไม่อยากเรียน และพยายามพัฒนาวิธีการ พัฒนาการเรียนการสอนของตนเอง • ใช้สื่อให้เป็นประโยชน์ เพื่อให้เกิดการรับรู้ครบทุกด้าน
  • 69.
  • 70.
  • 71.
  • 72.
  • 74. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N)
  • 75. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การสุขศึกษา (Education: E)
  • 76. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การสุขศึกษา (Education: E) • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา สะอาด (Water supply and Sanitation: W)
  • 77. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การสุขศึกษา (Education: E) • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา สะอาด (Water supply and Sanitation: W) • การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น (Surveillance for local disease control: S)
  • 78. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การสุขศึกษา (Education: E) • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา สะอาด (Water supply and Sanitation: W) • การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น (Surveillance for local disease control: S) • การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I)
  • 79. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การสุขศึกษา (Education: E) • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา สะอาด (Water supply and Sanitation: W) • การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น (Surveillance for local disease control: S) • การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I) • การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple treatment: T)
  • 80. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การสุขศึกษา (Education: E) • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา สะอาด (Water supply and Sanitation: W) • การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น (Surveillance for local disease control: S) • การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I) • การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple treatment: T) • การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน (Essential drugs: E)
  • 81. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การสุขศึกษา (Education: E) • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา สะอาด (Water supply and Sanitation: W) • การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น (Surveillance for local disease control: S) • การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I) • การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple treatment: T) • การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน (Essential drugs: E) • การสุขภาพจิต (Mental health: M)
  • 82. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การทันตสาธารณสุข (Dental health: D) • การสุขศึกษา (Education: E) • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา สะอาด (Water supply and Sanitation: W) • การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น (Surveillance for local disease control: S) • การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I) • การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple treatment: T) • การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน (Essential drugs: E) • การสุขภาพจิต (Mental health: M)
  • 83. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การทันตสาธารณสุข (Dental health: D) • การสุขศึกษา (Education: E) • การป้องกันและแกไข้มลภาวะและสิ่ง แวดล้อมที่เป็นพิษเป็นภัย (Environment • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา health: E) สะอาด (Water supply and Sanitation: W) • การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น (Surveillance for local disease control: S) • การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I) • การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple treatment: T) • การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน (Essential drugs: E) • การสุขภาพจิต (Mental health: M)
  • 84. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การทันตสาธารณสุข (Dental health: D) • การสุขศึกษา (Education: E) • การป้องกันและแกไข้มลภาวะและสิ่ง แวดล้อมที่เป็นพิษเป็นภัย (Environment • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา health: E) สะอาด (Water supply and Sanitation: W) • การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น • การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer protection: C) (Surveillance for local disease control: S) • การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I) • การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple treatment: T) • การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน (Essential drugs: E) • การสุขภาพจิต (Mental health: M)
  • 85. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การทันตสาธารณสุข (Dental health: D) • การสุขศึกษา (Education: E) • การป้องกันและแกไข้มลภาวะและสิ่ง แวดล้อมที่เป็นพิษเป็นภัย (Environment • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา health: E) สะอาด (Water supply and Sanitation: W) • การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น • การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer protection: C) (Surveillance for local disease control: S) • การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I) • การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ อุบัติภัย และโรคไม่ติดต่อ (Accidental and non- • การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple communicable disease control: A) treatment: T) • การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน (Essential drugs: E) • การสุขภาพจิต (Mental health: M)
  • 86. กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน • การโภชนาการ (Nutrition: N) • การทันตสาธารณสุข (Dental health: D) • การสุขศึกษา (Education: E) • การป้องกันและแกไข้มลภาวะและสิ่ง แวดล้อมที่เป็นพิษเป็นภัย (Environment • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและจัดหาน้ํา health: E) สะอาด (Water supply and Sanitation: W) • การควบคุมโรคติดต่อประจําถิ่น • การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer protection: C) (Surveillance for local disease control: S) • การสร้างภูมิคุมกันโรค (Immunization: I) • การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ อุบัติภัย และโรคไม่ติดต่อ (Accidental and non- • การรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple communicable disease control: A) treatment: T) • การป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ (AIDS: • การจัดหายาที่จําเป็นไว้ใช้ในชุมชน A) (Essential drugs: E) • การสุขภาพจิต (Mental health: M)
  • 89. ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน Promotion การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ
  • 90. ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน Promotion การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ Prevention
  • 91. ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน Promotion การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ Prevention การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานป้องกันโรค
  • 92. ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน Promotion การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ Prevention การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานป้องกันโรค การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านรักษา
  • 93. ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน Promotion การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ Prevention การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานป้องกันโรค การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านรักษา การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานฟื้นฟูสภาพ
  • 94. ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน Promotion การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ Prevention การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานป้องกันโรค Treatment การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านรักษา การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานฟื้นฟูสภาพ
  • 95. ลักษณะงานสุขศึกษาในชุมชน Promotion การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ Prevention การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานป้องกันโรค Treatment การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานด้านรักษา Rehabilitation การให้สุขศึกษาขณะปฏิบัติงานฟื้นฟูสภาพ
  • 96.
  • 98. เทคนิคการให้สุขศึกษา ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
  • 99. เทคนิคการให้สุขศึกษา ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้เรียนมีส่วนร่วมมากที่สุด
  • 100. เทคนิคการให้สุขศึกษา ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้เรียนมีส่วนร่วมมากที่สุด ผู้เรียนค้นพบด้วยตนเอง
  • 101. เทคนิคการให้สุขศึกษา ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้เรียนมีส่วนร่วมมากที่สุด ผู้เรียนค้นพบด้วยตนเอง
  • 103. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา
  • 104. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การเล่าประสบการณ์
  • 105. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การเล่าประสบการณ์ • การสาธิต
  • 106. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การเล่าประสบการณ์ • การสาธิต • การดําเนินโครงการ
  • 107. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การเล่าประสบการณ์ • การสาธิต • การดําเนินโครงการ • การใช้วิธีการแก้ปัญหา
  • 108. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การเล่าประสบการณ์ • การสาธิต • การดําเนินโครงการ • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การใช้กระบวนการตัดสินใจ
  • 109. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การเล่าประสบการณ์ • การสาธิต • การดําเนินโครงการ • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การบรรยาย
  • 110. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การเล่าประสบการณ์ • การสาธิต • การดําเนินโครงการ • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การบรรยาย • การสอนแบบสืบสวน
  • 111. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การเล่าประสบการณ์ • การสาธิต • การดําเนินโครงการ • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การบรรยาย • การสอนแบบสืบสวน • การแสดงบทบาทสมมติ
  • 112. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การเล่าประสบการณ์ • การสาธิต • การดําเนินโครงการ • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การบรรยาย • การสอนแบบสืบสวน • การแสดงบทบาทสมมติ • การใช้เกม
  • 113. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม • การเล่าประสบการณ์ • การสาธิต • การดําเนินโครงการ • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การบรรยาย • การสอนแบบสืบสวน • การแสดงบทบาทสมมติ • การใช้เกม
  • 114. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม • การเล่าประสบการณ์ • การใช้ทักษะชีวิต • การสาธิต • การดําเนินโครงการ • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การบรรยาย • การสอนแบบสืบสวน • การแสดงบทบาทสมมติ • การใช้เกม
  • 115. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม • การเล่าประสบการณ์ • การใช้ทักษะชีวิต • การสาธิต • การอภิปราย • การดําเนินโครงการ • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การบรรยาย • การสอนแบบสืบสวน • การแสดงบทบาทสมมติ • การใช้เกม
  • 116. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม • การเล่าประสบการณ์ • การใช้ทักษะชีวิต • การสาธิต • การอภิปราย • การดําเนินโครงการ • การโต้วาที • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การบรรยาย • การสอนแบบสืบสวน • การแสดงบทบาทสมมติ • การใช้เกม
  • 117. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม • การเล่าประสบการณ์ • การใช้ทักษะชีวิต • การสาธิต • การอภิปราย • การดําเนินโครงการ • การโต้วาที • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การบรรยาย • การสอนแบบสืบสวน • การแสดงบทบาทสมมติ • การใช้เกม
  • 118. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม • การเล่าประสบการณ์ • การใช้ทักษะชีวิต • การสาธิต • การอภิปราย • การดําเนินโครงการ • การโต้วาที • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การฝึกปฏิบัติ • การบรรยาย • การสอนแบบสืบสวน • การแสดงบทบาทสมมติ • การใช้เกม
  • 119. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม • การเล่าประสบการณ์ • การใช้ทักษะชีวิต • การสาธิต • การอภิปราย • การดําเนินโครงการ • การโต้วาที • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การฝึกปฏิบัติ • การบรรยาย • การสอนโดยใช้พื้นฐานการวิจัย • การสอนแบบสืบสวน • การแสดงบทบาทสมมติ • การใช้เกม
  • 120. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม • การเล่าประสบการณ์ • การใช้ทักษะชีวิต • การสาธิต • การอภิปราย • การดําเนินโครงการ • การโต้วาที • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การฝึกปฏิบัติ • การบรรยาย • การสอนโดยใช้พื้นฐานการวิจัย • การสอนแบบสืบสวน • การใช้อุปกรณ์หรือสื่อต่างๆ • การแสดงบทบาทสมมติ • การใช้เกม
  • 121. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม • การเล่าประสบการณ์ • การใช้ทักษะชีวิต • การสาธิต • การอภิปราย • การดําเนินโครงการ • การโต้วาที • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การฝึกปฏิบัติ • การบรรยาย • การสอนโดยใช้พื้นฐานการวิจัย • การสอนแบบสืบสวน • การใช้อุปกรณ์หรือสื่อต่างๆ • การแสดงบทบาทสมมติ • การใช้แบบประเมินหรือแบบสอบถาม • การใช้เกม
  • 122. วิธีการสอนสุขศึกษา • การพูดคุยหรือสนทนา • การซักถามหรือการให้ตั้งคําถาม • การเล่าประสบการณ์ • การใช้ทักษะชีวิต • การสาธิต • การอภิปราย • การดําเนินโครงการ • การโต้วาที • การใช้วิธีการแก้ปัญหา • การสอนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง • การใช้กระบวนการตัดสินใจ • การฝึกปฏิบัติ • การบรรยาย • การสอนโดยใช้พื้นฐานการวิจัย • การสอนแบบสืบสวน • การใช้อุปกรณ์หรือสื่อต่างๆ • การแสดงบทบาทสมมติ • การใช้แบบประเมินหรือแบบสอบถาม • การใช้เกม • การใช้ Why technique
  • 125. เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา 3 C Clarify การกําหนดปัญหาหรืิอสิ่งที่ต้องตัดสินใจให้ชัดเจน C C
  • 126. เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา 3 C Clarify การกําหนดปัญหาหรืิอสิ่งที่ต้องตัดสินใจให้ชัดเจน C Consider การพิจารณาทางเลือกหลายๆ ทางและคาดเดาผลที่อาจเกิดขึ้น C
  • 127. เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา 3 C Clarify การกําหนดปัญหาหรืิอสิ่งที่ต้องตัดสินใจให้ชัดเจน C Consider การพิจารณาทางเลือกหลายๆ ทางและคาดเดาผลที่อาจเกิดขึ้น C Choose การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด
  • 128. เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา 3 C Clarify การกําหนดปัญหาหรืิอสิ่งที่ต้องตัดสินใจให้ชัดเจน C Consider การพิจารณาทางเลือกหลายๆ ทางและคาดเดาผลที่อาจเกิดขึ้น C Choose การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด
  • 129. เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา 3 C Clarify การกําหนดปัญหาหรืิอสิ่งที่ต้องตัดสินใจให้ชัดเจน C Consider การพิจารณาทางเลือกหลายๆ ทางและคาดเดาผลที่อาจเกิดขึ้น C Choose การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ผู้สอนสุขศึกษาจะให้สถานการณ์แล้วให้ผู้เรียนคิดตัดสินใจ
  • 130. Situation:......................................... Problem:........................................................ Alternative Expected result 1................................................ 1................................................ 2................................................ 2................................................ 3................................................ 3................................................ Choose .........................................................................................................................
  • 132. เทคนิคทําไม (Why technique) • กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์
  • 133. เทคนิคทําไม (Why technique) • กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์ • ใช้คําถามทําไม
  • 134. เทคนิคทําไม (Why technique) • กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์ • ใช้คําถามทําไม • ยอมรับคําตอบ
  • 135. เทคนิคทําไม (Why technique) • กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์ • ใช้คําถามทําไม • ยอมรับคําตอบ • เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น”
  • 136. เทคนิคทําไม (Why technique) • กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์ • ใช้คําถามทําไม • ยอมรับคําตอบ • เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น” • ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่
  • 137. เทคนิคทําไม (Why technique) • กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์ • ใช้คําถามทําไม • ยอมรับคําตอบ • เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น” • ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่ Full
  • 138. เทคนิคทําไม (Why technique) • กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์ • ใช้คําถามทําไม • ยอมรับคําตอบ • เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น” • ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่ Full Knowledge
  • 139. เทคนิคทําไม (Why technique) • กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์ • ใช้คําถามทําไม • ยอมรับคําตอบ • เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น” • ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่ Full Knowledge
  • 140. เทคนิคทําไม (Why technique) • กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์ • ใช้คําถามทําไม • ยอมรับคําตอบ • เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น” • ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่ Full Zero Knowledge
  • 141. เทคนิคทําไม (Why technique) • กําหนดสถานการณ์/ข้อเท็จจริง/เหตุการณ์ • ใช้คําถามทําไม • ยอมรับคําตอบ • เริ่มถามต่อ “ทําไมจึงเป็นเช่นนั้น” • ทําเรื่อยๆ ไป...จนไม่มีคําตอบ หรือหวนกลับมาที่จุดเดิมใหม่ Full Zero Knowledge Knowledge
  • 143. การประเมินผล เป็นการวัดภาวะความเจริญก้าวหน้าของสิ่งที่เรากระทําหรือ ปฏิบัติ รวมทั้งเป็นวิธีการที่จะค้นหาว่าเราสามารถทําสิ่งที่ ตนเองต้องการได้หรือไม่ และยังเป็นขบวนการที่ช่วยค้นหาวิธี การที่ดี และใหม่สําหรับการก้าวไปสู่เป้าหมายที่กําหนดไว้
  • 144. การประเมินผล เป็นการวัดภาวะความเจริญก้าวหน้าของสิ่งที่เรากระทําหรือ ปฏิบัติ รวมทั้งเป็นวิธีการที่จะค้นหาว่าเราสามารถทําสิ่งที่ ตนเองต้องการได้หรือไม่ และยังเป็นขบวนการที่ช่วยค้นหาวิธี การที่ดี และใหม่สําหรับการก้าวไปสู่เป้าหมายที่กําหนดไว้ การประเมินผลเป็นการตัดสินว่าโครงการนั้นๆ ประสบผลสําเร็จหรือไม่
  • 148. ประเมินอะไร? ประเมินค่านิยมของผู้เรียน ประเมินเนื้อหาการสอน ประเมินผลวิธีการสอน
  • 149. ประเมินอะไร? ประเมินค่านิยมของผู้เรียน ประเมินเนื้อหาการสอน ประเมินผลวิธีการสอน ประเมินสิ่งแวดล้อม
  • 150. ประเมินอะไร? ประเมินค่านิยมของผู้เรียน ประเมินเนื้อหาการสอน ประเมินผลวิธีการสอน ประเมินสิ่งแวดล้อม ประเมินวิธีการวัดผล
  • 153. ประเมินเมื่อไหร่ ระยะก่อนการสอน ประเมินความต้องการ ความ สนใจ ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับ สุขภาพของผู้เรียน ตลอดจน สุขภาพอนามัยของนักเรียน เพื่อนําข้อมูลมาวางแผนการ สอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนมาก ที่สุด และกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ ในการเรียน
  • 154. ประเมินเมื่อไหร่ ระยะก่อนการสอน ระยะระหว่างการสอน ประเมินความต้องการ ความ สนใจ ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับ สุขภาพของผู้เรียน ตลอดจน สุขภาพอนามัยของนักเรียน เพื่อนําข้อมูลมาวางแผนการ สอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนมาก ที่สุด และกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ ในการเรียน
  • 155. ประเมินเมื่อไหร่ ระยะก่อนการสอน ระยะระหว่างการสอน ประเมินความต้องการ ความ สนใจ ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับ เป็นการประเมินผลว่าการสอน สุขภาพของผู้เรียน ตลอดจน บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กําหนด สุขภาพอนามัยของนักเรียน ไว้หรือไม่ ผู้เรียนเกิดการ เพื่อนําข้อมูลมาวางแผนการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมาก สอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนมาก น้อยเพียงใด ที่สุด และกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ ในการเรียน
  • 156. ประเมินเมื่อไหร่ ระยะก่อนการสอน ระยะระหว่างการสอน ระยะสุดท้ายของการสอน ประเมินความต้องการ ความ สนใจ ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับ เป็นการประเมินผลว่าการสอน สุขภาพของผู้เรียน ตลอดจน บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กําหนด สุขภาพอนามัยของนักเรียน ไว้หรือไม่ ผู้เรียนเกิดการ เพื่อนําข้อมูลมาวางแผนการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมาก สอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนมาก น้อยเพียงใด ที่สุด และกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ ในการเรียน
  • 157. ประเมินเมื่อไหร่ ระยะก่อนการสอน ระยะระหว่างการสอน ระยะสุดท้ายของการสอน ประเมินความต้องการ ความ เป็นการประเมินเพื่อให้ทราบ สนใจ ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับ เป็นการประเมินผลว่าการสอน ว่าการสอนสุขศึกษาบรรลุ สุขภาพของผู้เรียน ตลอดจน บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กําหนด วัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้หรือไม่ สุขภาพอนามัยของนักเรียน ไว้หรือไม่ ผู้เรียนเกิดการ สนองตอบความต้องการ และ เพื่อนําข้อมูลมาวางแผนการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมาก ความสนใจของผู้เรียนมากน้อย สอนให้สอดคล้องกับผู้เรียนมาก น้อยเพียงใด เพียงใด การสอนช่วยให้ผู้เรียน ที่สุด และกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ มีสัมฤทธิผลทางสุขภาพหรือไม่ ในการเรียน
  • 161. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective
  • 162. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective
  • 163. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective •การสังเกต (Observation)
  • 164. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective •การสังเกต (Observation) •การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check lists)
  • 165. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective •การสังเกต (Observation) •การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check lists) •การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record)
  • 166. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective •การสังเกต (Observation) •การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check lists) •การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record) •การสัมภาษณ์ (Interview)
  • 167. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective •การสังเกต (Observation) •การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check lists) •การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record) •การสัมภาษณ์ (Interview) •การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ (Questionnaires and surveys)
  • 168. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective •การสังเกต (Observation) •การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check lists) •การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record) •การสัมภาษณ์ (Interview) •การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ (Questionnaires and surveys) •การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical
  • 169. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective •การสังเกต (Observation) •การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check lists) •การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record) •การสัมภาษณ์ (Interview) •การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ (Questionnaires and surveys) •การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical •การศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี (Case study)
  • 170. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective •การสังเกต (Observation) •การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check lists) •การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record) •การสัมภาษณ์ (Interview) •การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ (Questionnaires and surveys) •การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical •การศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี (Case study) •การอภิปรายกลุ่มเล็ก (Small group discussion)
  • 171. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective •การสังเกต (Observation) •การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check lists) •การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record) •การสัมภาษณ์ (Interview) •การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ (Questionnaires and surveys) •การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical •การศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี (Case study) •การอภิปรายกลุ่มเล็ก (Small group discussion) •การแสดงบทบาทสมมติ (Role-playing)
  • 172. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective •การสังเกต (Observation) •ข้อสอบที่ครูสร้างขึ้น (Teacher-made-tests) •การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check lists) •การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record) •การสัมภาษณ์ (Interview) •การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ (Questionnaires and surveys) •การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical •การศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี (Case study) •การอภิปรายกลุ่มเล็ก (Small group discussion) •การแสดงบทบาทสมมติ (Role-playing)
  • 173. ประเมินอย่างไร? วิธีการประเมินแบบอัตนัย วิธีการประเมินแบบปรนัย Subjective Objective •การสังเกต (Observation) •ข้อสอบที่ครูสร้างขึ้น (Teacher-made-tests) •การทําเครื่องหมายในแบบที่กําหนดไว้ (Check •ข้อสอบมาตรฐาน (Standardized tests) lists) •การบันทึกพฤติกรรม (Anecdotal record) •การสัมภาษณ์ (Interview) •การตอบแบบสอบถาม และแบบสํารวจ (Questionnaires and surveys) •การเขียนประวัติส่วนตัว (Historical •การศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี (Case study) •การอภิปรายกลุ่มเล็ก (Small group discussion) •การแสดงบทบาทสมมติ (Role-playing)

Hinweis der Redaktion

  1. \n
  2. \n
  3. \n
  4. \n
  5. \n
  6. \n
  7. \n
  8. \n
  9. \n
  10. \n
  11. \n
  12. \n
  13. \n
  14. \n
  15. \n
  16. \n
  17. \n
  18. \n
  19. \n
  20. \n
  21. \n
  22. \n
  23. \n
  24. \n
  25. \n
  26. \n
  27. \n
  28. \n
  29. \n
  30. \n
  31. \n
  32. \n
  33. \n
  34. \n
  35. \n
  36. \n
  37. \n
  38. \n
  39. \n
  40. \n
  41. \n
  42. \n
  43. \n
  44. \n
  45. \n
  46. \n
  47. \n
  48. \n
  49. \n
  50. \n
  51. \n
  52. \n
  53. \n
  54. \n
  55. \n
  56. \n
  57. \n
  58. \n
  59. \n
  60. \n
  61. \n
  62. \n
  63. \n
  64. \n
  65. \n
  66. \n
  67. \n
  68. \n
  69. \n
  70. \n
  71. \n
  72. \n
  73. \n
  74. \n
  75. \n
  76. \n
  77. \n
  78. \n
  79. \n
  80. \n
  81. \n
  82. \n
  83. \n
  84. \n
  85. \n
  86. \n
  87. \n
  88. \n
  89. \n
  90. \n
  91. \n
  92. \n
  93. \n
  94. \n
  95. \n
  96. \n
  97. \n
  98. \n
  99. \n
  100. \n
  101. \n
  102. \n
  103. \n
  104. \n
  105. \n
  106. \n
  107. \n
  108. \n
  109. \n
  110. \n
  111. \n
  112. \n
  113. \n
  114. \n
  115. \n
  116. \n
  117. \n
  118. \n
  119. \n
  120. \n
  121. \n
  122. \n
  123. \n
  124. \n
  125. \n
  126. \n
  127. \n
  128. \n
  129. \n
  130. \n
  131. \n
  132. \n
  133. \n
  134. \n
  135. \n
  136. \n
  137. \n
  138. \n
  139. \n
  140. \n
  141. \n
  142. \n
  143. \n
  144. \n
  145. \n
  146. \n
  147. \n