SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
วิทยาศาสตร์ เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
ตัวชี้วัด
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
• บรรยำยโครงสร้ำงและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมำะสมกับกำรดำรงชีวิตซึ่งเป็นผลมำจำกกำรปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่
• อธิบำยควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต เพื่อประโยชน์ต่อกำรดำรงชีวิต
• เขียนโซ่อำหำรและระบุบทบำทหน้ำที่ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซ่อำหำร
• ตระหนักในคุณค่ำของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อกำรดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โดยมีส่วนร่วมในกำรดูแลรักษำสิ่งแวดล้อม
• อธิบำยลักษณะทำงพันธุกรรมที่มีกำรถ่ำยทอดจำกพ่อแม่สู่ลูกของพืช สัตว์ และมนุษย์
• แสดงควำมอยำกรู้อยำกเห็น โดยกำรถำมคำถำมเกี่ยวกับลักษณะที่คล้ำยคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
โครงสร้างของพืชที่เหมาะสมต่อการดารงชีวิตในแหล่งที่อยู่
โกงกาง
ขึ้นตำมป่ำชำยเลน
มีรำกค้ำจุนต้นเพื่อป้องกันไม่ให้ลำต้น
โค่นล้มได้ง่ำย เมื่อมีน้ำทะเลซัดชำยฝัง
หรือเมื่อน้ำทะเลขึ้น-ลง
ชีวิตสัมพันธ์ โครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่
ผักตบชวา
ขึ้นในน้ำ
มีโคนก้ำนพองออก ภำยในมีโพรงอำกำศมำก
ลำต้นมีน้ำหนักเบำ
ลอยน้ำได้ดี
กระบองเพชร
ขึ้นตำมทะเลทรำย
มีลำต้นหนำเพื่อกักเก็บน้ำ
เปลี่ยนใบเป็นหนำมเพื่อลดกำรคำยน้ำ
มีรำกแผ่กระจำยไปไกลเพื่อดูดซึมน้ำได้มำก
บัว
เป็นพืชน้ำที่ขึ้นได้ดีในดินเหนียวและ
มีน้ำท่วมขังตลอดเวลำ
มีลำต้นเป็นโพรงอำกำศ เพื่อให้ลำต้นเบำ
และลอยน้ำได้
ชีวิตสัมพันธ์ โครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่
ตั๊กแตนใบไม้
เป็นแมลงที่อำศัยอยู่บนต้นไม้และใบไม้
ลำตัวมีสีเขียวหรือมีรูปร่ำงเหมือนใบไม้
ที่เกำะอยู่
ปลา
เป็นสัตว์ที่อำศัยอยู่ในน้ำ มีทั้งปลำน้ำจืด
และปลำน้ำเค็ม
มีรูปร่ำงเรียวยำว ลำตัวแบน เพื่อให้เหมำะสม
กับกำรเคลื่อนที่ในน้ำ
ใช้ครีบและกล้ำมเนื้อลำตัวเพื่อเคลื่อนที่ในน้ำ
หมีขั้วโลก
เป็นสัตว์ที่อำศัยอยู่บริเวณขั้วโลกเหนือ
มีขนหนำฟู
มีอุ้งเท้ำหนำ
มีไขมันสะสมอยู่ใต้ชั้นผิวหนังมำก
ทำให้ทนทำนต่อสภำพอำกำศหนำวเย็น
อูฐ
เป็นสัตว์ที่อำศัยในบริเวณทะเลทรำย
มีขนตำยำวทำให้ทรำยเข้ำตำได้ยำก
มีหนอกสะสมไขมันไว้สำหรับดึงมำใช้ได้
มีขำยำวสูงและกีบเท้ำแบนไว้เดินบนทรำย
มีขนเกรียนทำให้ระบำยควำมร้อนได้ดี
โครงสร้างของสัตว์ที่เหมาะสมต่อการดารงชีวิตในแหล่งที่อยู่
ชีวิตสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ในสิ่งแวดล้อม
ช้างอาศัยอยู่ในป่า
ผึ้งทารังอยู่บนต้นไม้
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ด้านแหล่งที่อยู่อาศัย
เสืออาศัยอยู่ในป่า
นกอาศัยอยู่บนต้นไม้
ชีวิตสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ในสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ด้านแหล่งอาหาร
เสือกินกวางเป็นอาหาร
นกกินปลาเป็นอาหาร
กบกินตั๊กแตนเป็นอาหาร
ชีวิตสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ในสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ด้านแหล่งสืบพันธุ์และเลี้ยงดูลูกอ่อน
นกทารังบนต้นไม้เพื่อเลี้ยงดูลูกอ่อน
ชีวิตสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ในสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ด้านแหล่งหลบภัย
ปลาการ์ตูนซ่อนตัวในดอกไม้ทะเล ป่ารกทึบเป็นที่หลบภัยของสัตว์ป่า
ปะการังเป็นที่หลบภัยของสัตว์น้า
ชีวิตสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ในสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
1. แสง เป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างอาหารของพืช
2. อากาศ เป็นปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
เช่น สิ่งมีชีวิตใช้แก๊สออกซิเจนในการหายใจ
3. อุณหภูมิ เป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและมีผล
ต่อโครงสร้างหรือลักษณะของสิ่งมีชีวิต เช่น หมีขั้วโลก
ปรับตัวให้เหมาะสมกับแหล่งที่อยู่
ในการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตจาเป็นต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่เป็นสิ่งไม่มีชีวิตเพื่อการดารงชีวิต เช่น
ชีวิตสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ในสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
4. น้า เป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย
เป็นแหล่งอาหารให้กับสิ่งมีชีวิตต่างๆ
5. ดินและแร่ธาตุเป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช
เพราะเป็นแหล่งแร่ธาตุที่สาคัญของพืช เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย
และแหล่งอาหารของสัตว์บางชนิด เช่น มด
ชีวิตสัมพันธ์ การถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิต โซ่อาหาร
โซ่อาหาร คือ ควำมสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีกำรกินต่อกันเป็นทอดๆ จำกผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคทำให้
มีกำรถ่ำยทอดพลังงำนในอำหำรต่อเนื่องกันเป็นลำดับ จำกกำรกินต่อกัน
กระต่าย
(ผู้บริโภคลาดับที่ 1)
สุนัขจิ้งจอก
(ผู้บริโภคลาดับที่ 2)
สิงโต
(ผู้บริโภคลาดับสุดท้าย)
ผู้ผลิต คือ สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้เอง ผู้บริโภค คือ สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้
จึงต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร
แคร์รอต
(ผู้ผลิต)
ตัวอย่าง โซ่อาหาร
ชีวิตสัมพันธ์ การถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิต โซ่อาหาร
ข้าวโพด
(ผู้ผลิต)
ตั๊กแตน
(ผู้บริโภคลาดับที่ 1)
กบ
(ผู้บริโภคลาดับที่ 2)
งู
(ผู้บริโภคลาดับที่ 3)
เหยี่ยว
(ผู้บริโภคลาดับสุดท้าย)
ตัวอย่าง โซ่อาหาร
ชีวิตสัมพันธ์ ความสาคัญของสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง การทาลายทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
โรงงานปล่อยควันพิษ
ทิ้งขยะในแหล่งน้า
ตัวอย่าง การรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ปลูกต้นไม้
ช่วยกันรณรงค์
ให้รักษาสิ่งแวดล้อม
มนุษย์และสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติต่างๆเพื่อการดารงชีวิต หากเราใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
โดยไม่ระวัง อาจเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆได้ เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติบางประเภท
เช่น ป่าไม้ หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ได้อีก แต่ต้องใช้ระยะเวลานาน ดังนั้น เราจึงต้องช่วยกันรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
ลักษณะทางพันธุกรรม หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ถ่ำยทอดจำกพ่อแม่ไปสู่ลูกได้
และถ่ำยทอดจำกรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งต่อไปเรื่อยๆเช่น
ลักษณะสีผมของมนุษย์
ลักษณะสีดอกของพืช
ลักษณะสีขนของสัตว์
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์
T T t t
TT tt
รุ่นลูก
เซลล์สืบพันธุ์
รุ่นพ่อแม่
T แทน แอลลีลของมนุษย์ที่มีผมหยักศก
t แทน แอลลีลของมนุษย์ที่มีผมตรง
Tt Tt Tt Tt
×
ตัวอย่าง
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสัตว์
Aa Aa
รุ่นลูก
เซลล์สืบพันธุ์
รุ่นหลาน
A a A a
ปลารุ่นหลานจะปรากฏเป็นสัดส่วนของลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อย = 3 : 1
เซลล์สืบพันธุ์ A A a a
รุ่นพ่อแม่ ×
AA Aa
Aa aa
A แทน แอลลีลของปลาสีดา
a แทน แอลลีลของปลาสีขาว
สัตว์แต่ละชนิดย่อมเกิดมำจำกสัตว์ชนิดเดียวกัน และลูกของสัตว์เหล่ำนั้น จะมี
ลักษณะหลำยๆอย่ำงที่คล้ำยคลึงกับพ่อและแม่ของมัน เช่น ลักษณะขน สีผิว
Aa
Aa
AA aa
ตัวอย่าง
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของพืช
ลูกรุ่นที่ 1
เซลล์สืบพันธุ์
ลูกรุ่นที่ 2
A a A a
ต้นพืชรุ่นที่ 2 จะปรากฏเป็นสัดส่วนของลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อย = 3 : 1
เซลล์สืบพันธุ์ A A a a
รุ่นพ่อแม่ × A แทน แอลลีลความสูงของพืช
a แทน แอลลีลความเตี้ยของพืช
ลักษณะทำงพันธุกรรมของพืชแต่ละชนิดที่ได้รับถ่ำยทอด
มำจำกรุ่นบรรพบุรุษ เช่น สีของดอก ควำมสูงของต้น
Aa Aa Aa Aa
AA Aa Aa aa
AA aa
ตัวอย่าง
วิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdf

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
Rapheephan Phola
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
rumpin
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
website22556
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 

Was ist angesagt? (20)

1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
จังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดจังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกด
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 

Ähnlich wie วิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdf

หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ให้รัก นำทาง
 
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศหน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
ให้รัก นำทาง
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Tar Bt
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
Jiraporn Chaimongkol
 

Ähnlich wie วิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdf (20)

หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptxหน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
 
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศหน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
 
หน่วย2_การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายด้วย Scratch.pptx
หน่วย2_การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายด้วย Scratch.pptxหน่วย2_การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายด้วย Scratch.pptx
หน่วย2_การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายด้วย Scratch.pptx
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
Lb service
Lb serviceLb service
Lb service
 
Lb service
Lb serviceLb service
Lb service
 
Lb service
Lb serviceLb service
Lb service
 
ย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดล
 
Plan e book
Plan e bookPlan e book
Plan e book
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
241203_chapter01
241203_chapter01241203_chapter01
241203_chapter01
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
จดหมายข่าวสำนักหอสมุด ม.รังสิต ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 เม.ย.55
จดหมายข่าวสำนักหอสมุด ม.รังสิต ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 เม.ย.55จดหมายข่าวสำนักหอสมุด ม.รังสิต ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 เม.ย.55
จดหมายข่าวสำนักหอสมุด ม.รังสิต ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 เม.ย.55
 
Pcusarn1
Pcusarn1Pcusarn1
Pcusarn1
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 

วิทยาศาสตร์ ป.5 หน่วย2_สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.pdf