SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เวที Online PLC Coaching
โรงเรียนรุ่งอรุณ
โครงการครูเพื่อศิษย์ สร้างการเรียนรู้ระดับเชื่อมโยงออนไลน์
23 มิถุนายน 2563 เวลา 9.00-12.00 น.
Zoom meeting
ถอดบทเรียนจากประสบการณ์การสอนในห้องเรียนเชื่อมโยง
กับหนังสือ ครูเพื่อศิษย์ สอนสู่รู้เชื่อมโยง
การออกแบบและ
เป้าหมายในการจัดการ
เรียนรู้
• ความรู้ Knowledge
• ทักษะ Skills
• ทัศนคติ เจตคติ Attitudes
บทบาทและคาแรคเตอร์
ของครูที่ส่งเสริมการ
เรียนรู้ของเด็ก
• ผู้ทรงคุณวุฒิชวนครูวิเคราะห์ถึง
บทบาทของตัวเอง เพืRอถอด
บทเรียนเพืRอส่งต่อวิธีการให้ครู
ท่านอืRน ๆ
• ผู้ทรงคุณวุฒิและอาจารย์ท่าน
อืRน ๆ ช่วยเสริมประเด็นทีR
น่าสนใจ
ข้อเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัด
กระบวนการ PLC ในครั้ง
ต่อไป, ข้อความจากครูถึงครู
• เบื_องหลังการออกแบบชั_นเรียน,
ขยายความให้เห็นภาพระบบ
สนับสนุนครู จากทั_งทีมครูและ
โรงเรียน ทีRอยู่เบื_องหลังความสําเร็จ
ในห้องเรียนนี_
• ความรู้สึกและข้อความจากครู
ตัวอย่าง ถึงครูท่านอืRน
• ข้อเสนอแนะสําหรับการจัด PLC
ออนไลน์ครั_งต่อไป
โรงเรียนรุ่งอรุณ
ครูแบงค์
ภิญโญ เสาร์วันดี
สอนระดับมัธยมศึกษาปีทีR h
วิชาภาษาไทย, วิชาบูรณาการ,วิชา
สังคม,วิชา IT
ครูกลอย
เกศรัตน์ มาศรี
สอนระดับชั_นประถมศึกษาปีทีR 6
วิชาภาษาไทย , วิชาสังคมศึกษา
ครูเก๋
ครูนิษฐา มิ8งมงคลรัศมี
สอนระดับชั_นประถมศึกษาปีทีR l
วิชาภาษาไทย , วิชาบูรณาการ
!
"
"
ครูแกนนําทีRมานําเสนอเรืRอง
สิ่งที่ครูได้เรียนรู้
ครูภิญโญ เสารวันดี (ครูแบงค์)
สอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3
วิชาภาษาไทย, วิชาบูรณาการ,วิชาสังคม,วิชา IT
พาเด็กไปลงพื้นที่เพื่อเรียนรู้เรื่องพื้นที่ต้นนํ้าบ้านสามขา
อ.แม่ทา จ.ลําปาง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว
ในการจัดการนํ้า แต่เมื่อไปถึงกลับเจอโจทย์ไฟป่า
! 1
ครูภิญโญ เสารวันดี (ครูแบงค์)
สอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3
วิชาภาษาไทย, วิชาบูรณาการ,วิชาสังคม,วิชา IT
พาเด็กไปลงพื้นที่เพื่อเรียนรู้เรื่องพื้นที่ต้นนํ้าบ้านสามขา
อ.แม่ทา จ.ลําปาง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว
ในการจัดการนํ้า แต่เมื่อไปถึงกลับเจอโจทย์ไฟป่า
เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้
Knowledge
1. เพืRอให้เด็กได้เห็นสภาพจริงของแหล่งต้นนํ_า ซึRงเป็นแหล่งผลิตชาวบ้านใช้ดืRม/
ใช้ ดูวิธีการจัดการและวิธีการดูแลรักษาแหล่งต้นนํ_า
Skills
1. สร้างทักษะการปรับตัวเข้ากับผู้อืRน และความเข้าอกเข้าใจ (empathy)
2. ฝึกทักษะการสัมภาษณ์และเก็บข้อมูล เพืRอให้รู้ลึกรู้จริง
Attitudes
1. เห็นวิถีชีวิตของชาวบ้าน (Empathize) เห็นอกเห็นใจคนอืRน
case 1
! การออกแบบกระบวนการจัดการเรียน
การลงภาคสนาม
ก่อนลงสนาม
• วางแผน ตั_งเป้าหมาย เพืRอตั_งหมุดให้เด็ก “ให้เด็กตั_งประเด็นว่าทําไม
ถึงอยากทํา”
ระหว่าง
• นําประเด็นทีRเด็กได้จากการพูดคุยกับชาวบ้านมาร้อยเรียง
• มี KM ตั_งวงแชร์ประเด็นกัน ให้เด็กๆ ช่วยกันเติมข้อมูล ตรวจสอบ
ช่วยเหลือกัน แนะนํากัน โดยมีครูเป็น facilitator
หลัง
• นําข้อมูลจากภาคสนามมาทํารายงานเป็นสมุดภาพ
• รวมกลุ่มกับเพืRอนทีRมีข้อมูลคล้ายกัน แล้วหาข้อมูลเพิRมเติม
• สรุปเป็นโปรเจกต์ท้ายเทอม โดยออกแบบว่าโปรจกต์นี_จะสืRอสาร
อย่างไรต่อสาธารณะชน มีประเด็นใดบ้างทีRจะเป็นประโยชน์ต่อสังคม
• เมืRอทําเสร็จแล้ว ใช้ระบบเพืRอนแนะนําติชมเพืRอน
ถาม-ตอบ
Q: ทําอย่างไรให้เด็กมีใจนึกถึงชุมชน และทํางาน ครูตัLงโจทย์อย่างไร
A: ให้เด็กได้เจอสถานการณ์จริง ได้คุยกับชาวบ้าน เพืRอเก็บข้อมูล
Q: เพราะอะไรเด็กถึงไม่หนีเมื8อประเด็นเปลี8ยน ทําไมเด็กถึงมีทักษะใน
การคุย กับชาวบ้าน ได้มีการสอนอย่างไร
A: หนึRง สิRงทีRเขาเจอต่างจากสิRงทีRเขารู้จากอินเตอร์เนท สอง เขาได้ลองคุยกับ
ชาวบ้าน ทําให้เขาเห็นวิถีชีวิต เห็นว่าเรืRองทีRชาวบ้านเล่าคือเรืRองทีRเกิดขึ_นจริง
เชืRอมโยงกับสิRงทีRเขาตรงหน้า แล้งจริง ไม่มีการทํานา ไม่นํ_าใช้ มีไฟป่า เด็กจึงเกิด
ความรู้สึกร่วม เกิดความเห็นอกเห็นใจ และอยากหาความรู้เพิRมในประเด็นนี_
Q: มีการแบ่งงานอย่างไร ตัLงคําถามอย่างไร
A: เด็กแบ่งกลุ่มเอง เป็น 4-5 กลุ่ม เริRมจากให้โจทย์ทําแผนผังชุมชน ให้เข้าไปคุย
กับคน โดยมีเครืRองมือในการเก็บข้อมูลทีRเรียนมาจากเทอมแรก เช่น ถามว่าทํา
อาชีพอะไร ใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง เป็นคําถามพื_นฐาน แล้วค่อยๆ ถามต่อ ว่า
ทําเพราะอะไร เกิดปัญหาอะไรไหม เป็นการสร้างไทม์ไลน์ของชุมชน
Q: กระบวนการก่อนลงพืLนที8เป็นอย่างไร เด็กเตรียมตัวอย่างไร
A: หาข้อมูลเชิงจํานวนเป็นความรู้พื_นฐาน เช่น มีสภาพภูมิประเทศอย่างไร มีกีR
ครัวเรือน เมืRอลงพื_นทีRก็จะรีเช็ค จุดเปลีRยนคือ สิRงทีRเด็กหาข้อมูลเตรียมไว้ต่างจาก
สิRงทีRเกิดขึ_นจริง ไปเรียนรู้จากหน้างาน
• Q: วิธีการที8ครูเรียนพร้อมเด็ก ทําอย่างไร
A: มีการโทรเช็คข้อมูลล่วงหน้า และเมืRอไปถึงทีRคุยกับชาวบ้าน ทํากระบวนการเดียวกันกับ
เด็ก เพืRอนํามาสรุปงานกับเด็กท้ายวันว่าสิRงทีRเด็กได้รู้เท่ากับทีRเราเจอไหม หรือเจอทีRต่างกัน
อย่างไร แล้วเอามาคุยกัน
• Q: เมื8อไปถึงแล้วเจอสิ8งที8ต่างกัน เราเปลี8ยนโจทย์ไหม แล้วปฏิกิริยาของเด็กเป็น
อย่างไร
A: เปลีRยน ตอนแรกตั_งโจทย์เรืRองต้นนํ_าแล้ว เปลีRยนมาเป็นเรืRองไฟป่า จากทีRตั_งใจจะไปเรียน
แง่ดีแง่งาม เปลีRยนมาเป็นทําความเข้าใจปัญหา โดยโยนโจทย์ว่า “ป่าต้นนํ_าทีRเราตั_งใจมา
ศึกษาเมืRอเกิดแบบนี_ขึ_น จะยังเป็นป่าต้นนํ_าไหม แล้วควรแก้ปัญหานี_อย่างไร” ครูเรียนรู้ไป
พร้อมกับเด็ก
• Q: คิดว่าสถานการณ์ระหว่าง เป็นไปดังที8ตัLงใจได้เรียนเรื8องต้นนํLา กับการไปเจอเรื8อง
ไฟป่าซึ8งต่างจากที8ตัLงใจ แบบไหนได้เรียนรู้มากกว่า
A: สถานณ์การตรงหน้า และการเปลีRยนโจทย์ทําให้ได้เรียนรู้มากกว่า เพราะถ้าตามโจทย์จะ
เหมือนเด็กเรียนตามสัRง แต่พอเป็นโจทย์ใหม่ ทําให้เด็กรู้สึกเป็นเจ้าของความรู้นั_น เขาได้
เรียนรู้ไปกับครู อินกว่า อยากรู้ลึกมากขึ_น
case 1 : ครูภิญโญ เสารวันดี (ครูแบงค์)
สิ่งที่ครูได้เรียนรู้
เชื่อมโยงกับ บทที่ 7: เรียนรู้ระดับเชื่อมโยง ค้นคว้าและผลิต
1. การทํางานแบบ PBL ทําให้ได้กลับมาทบทวนว่าครูมีทักษะคิดเชืCอมโยงและพา
นักเรียนเรียนรู้เพียงพอหรือยัง
2. กระตุ้นความอยากเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยคําถาม
“เดิมบางครัOงเด็กอยากได้คําตอบสุดท้ายเลย แต่ถ้าให้แบบนัOนจะไม่เกิดการ
เรียนรู้ จึงเปลีCยนตัวเองมาใช้วิธี เมืCอเด็กถาม ครูจะถามกลับเพืCอชวนคิด ทําเพืCอ
อะไร จะทําได้อย่างไร และให้คิดถึงผู้อืCนด้วย ไม่ใช่แค่ทําตามใจตัวเอง หรือครู
สัCง”
ตัวอย่างคําถามกระตุ้น เช่น ในการผลิตชิOนงาน:
2.1 งานทีCผลิตชิOนนีOคนอืCนจะอยากหยิบจับขึOนมาอ่านไหม? คําถามนีOถามเพืCอให้
เด็กคิดสร้างสรรค์งานออกมาในรูปแบบทีCสวยงาม น่าอ่าน
2.2 งานชิOนนีOจะไม่ทําให้คนผิดหวังใช่ไหม? เพืCอให้เด็กคิดต่อว่า ไม่ผิดหวังเรืCอง
อะไร นอกจากความสวยงามแล้วยังต้องใส่ใจในเรืCองใดอีก ต้องมีเนืOอหาทีCดีด้วย
3. การลงพืOนทีCช่วยสร้างความเชืCอมโยงกับชุมชน ทําให้เด็กสามารถตัOงโจทย์ได้ด้วย
ตัวเอง สิCงทีCเขาเจอต่างจากสิCงทีCเขาเห็นหรือสืบค้นข้อมูลมาจากอินเตอร์เน็ต เช่น
เรืCองความแล้ง เรืCองไฟป่า สิCงนีOจะเป็นจุดเริCมต้นให้เขาลงไปตามต่อ หาความรู้ใน
เชิงลึกขึOน
4. การมีความยืดหยุ่น ในการปรับโจทย์การเรียนรู้ ทําให้เด็กรู้สึกเป็นเจ้าของความรู้
และอยากเรียนรู้ให้ลึกขึOน
5. การลงพืOนทีCเป็นครูทีดี
บทบาทและคาแรคเตอร์
ของครูที่ส่งเสริมการ
เรียนรู้ของเด็ก
1. ใช้คําถามนํา
2. ก่อนลงพืOนทีCให้หาข้อมูลก่อน ให้
เครืCองมือเด็กด้วยการทําไทม์ไลน์
mapping ชุมชน
3. เป็น Facilitator ในการพาเด็กเรียนรู้
ระดับ Transfer คือรู้เชืCอมโยงเพืCอ
นําไปใช้ในสถานการณ์อืCนได้
4. มีอิสระในการสอน และให้อิสระเด็กใน
การเรียนรู้กับประเด็น
ข้อความจากครูถึงครู
• ถอดคําว่าครูออกจากหัว แล้วสวมบทเป็น facilitator
”ผมไม่เอาคําว่าครูมาครอบ แต่เป็นโค้ชที:คอยชี<นํา
เรียนไปพร้อมกับเด็กก็ได้ ครูไม่จําเป็นต้องรู้ก่อนเด็ก
ทุกเรื:องเสมอไป”
หน้าที่ของครูในฐานะ
facilitator การเรียนรู้
1. เป็นผู้ถามนํา ไม่ใช้การบอกสอน
2. เรืCองทีCนํามาถกในห้องเรียนไม่
เป็นประเด็นลอย ๆ แต่นํามา
เขียนสรุปไว้บนกระดาน และครู
ช่วยชีOความเชืCอมโยงของแต่ละ
เรืCองเพืCอให้เด็กเห็นภาพรวม
ครูเกศรัตน์ มาศรี (ครูกลอย)
สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิชาภาษาไทย , วิชาสังคมศึกษา
"Kids ช่วยโลก ตอน ตามรอยบุคคลต้นแบบที่ดูแลสิ่งแวดล้อม” ลง
ภาคสนามที่จ.ชัยภูมิ เพื่อตามรอยพระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ที่ดูแลผืน
ป่าภูหลง เด็กๆ ได้ร่วมกันวางแผนออกแบบกระบวนการ และสืบค้น
บุคคลตัวอย่างด้วยตนเอง โดยมีครูช่วยสนับสนุน
" 2
ครูเกศรัตน์ มาศรี (ครูกลอย)
สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิชาภาษาไทย , วิชาสังคมศึกษา
"Kids ช่วยโลก ตอน ตามรอยบุคคลต้นแบบที่ดูแลสิ่งแวดล้อม" ลง
ภาคสนามที่จ.ชัยภูมิ เพื่อตามรอยพระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ที่ดูแลผืน
ป่าภูหลง เด็กๆ ได้ร่วมกันวางแผนออกแบบกระบวนการ และสืบค้น
บุคคลตัวอย่างด้วยตนเอง โดยมีครูช่วยสนับสนุน
เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้
Knowledge
1. การดูแลรักษาสิRงแวดล้อม เรียนรู้จากบุคคลต้นแบบ
Skills
1. ฝึกออกแบบกระบวนการเรีบนรู้ด้วยตัวเอง
2. ฝึกทักษะการสัมภาษณ์และเก็บข้อมูล เพืRอให้รู้ลึกรู้จริง
3. เขียนโครงการ การตั_งเป้าหมายให้โครงการและสิRงทีRทํา
4. ติดต่อประสานงาน
Attitudes
1. เพืRอให้เด็กเห็นความยากลําบากในการทําอะไรสักอย่าง โดยครูคอยตั_ง
คําถามแนะว่าไปแล้วจะคุ้มไหม เพืRอกระตุ้นให้เด็กมีเป้าหมายทีRชัด
case 2
การออกแบบกระบวนการจัดการเรียน
การลงภาคสนาม
ก่อนลงสนาม
• ครูตั_งเป้าหมายไว้ว่า เมืRอกลับจากภาคสนามจะให้เอาข้อมูลทีRได้
กลับมาทําโปรเจกต์ และเขียนสะท้อนเป็นรายงานให้โจทย์ว่า “โลก
ป่วยแล้วใครช่วยได้ ?” โดยให้เด็กสืบค้นข้อมูลบุคคลต้นแบบ จากนั_น
ถามต่อว่า “จากทีRสืบค้นมา สิRงทีRคนต้นแบบทําแล้วเพียงพอหรือยัง”
“อยากรู้อะไรเพิRมเติม แล้วเราทําอะไรเพิRมได้บ้าง” จากนั_นนํามาเลือก
โครงการทีRเด็กๆ อยากลงภาคสนาม
• เด็กต้องเขียนร่างโครงการ ติดต่อประสานงานเองทุกกระบวนการ โดย
ครูเป็นผู้ตั_งคําถามและแนะนํา
ระหว่าง
• ครูคอยสนับสนุนและอยู่กับเด็กตลอดเวลา
หลัง
• เกิดไฟไหม้ เด็กมาคิดต่อยอดว่าจะทํากิจกรรมอะไรเพืRอช่วยเหลือ
นากจากเงินบริจาค เด็กๆ มีไอเดียทีRน่าสนใจ เช่น เขียนข้อความส่ง
กําลังใจ
• ครูให้โจทย์การทําตลาดนัดเพืRอระดมทุน
"
สิ่งที่ครูได้เรียนรู้
เชื่อมโยงกับ บทที่ 7: เรียนรู้สู่ระดับเชื่อมโยง - กําหนดเงื่อนไขเพื่อ
เรียนรู้สู่การเชื่อมโยง
• เมืRอมีอิสระในการเลือกประเด็นเอง ทําให้เด็กๆ อยากเรียนรู้ อยากรู้ลึกรู้จริง
ความน่าสนใจคือ เคสนี_ระยะทางไกลกว่าทีRกระทรวงกําหนด และบุคคลทีRไป
เรียนรู้ร่วมเป็นพระซึRงปกติเป็นบุคคลทีRวัยรุ่นมักไม่ค่อยมีปฏิสัมพันธ์ด้วย
• ความสนใจของเด็กๆ เริRมต้นจากความคิดทีRว่า “คนธรรมดายังไม่ทํา(ดูแล
สิRงแวดล้อม)เลย แล้วท่านเป็นพระ ทําไมถึงลุกขึ_นมาทํา?”
• ระยะทางเป็นความท้าทายสําหรับเด็ก โดยครูเปลีRยนความท้าทายให้เป็น
ความยาก ซึRงโจทย์สําหรับเด็กในเคสนี_คือ “จะทํายังไงให้ครูใหญ่อนุญาต” ซึRง
ช่วยให้เด็กเห็นความสําคัญของการทําโครงการนี_มากยิRงขึ_น
• เด็กๆ พยายามทําโครงการเพืRอให้ผ่านครูใหญ่ โดยเริRมจากวางแผน พิจารณา
ว่ามีเหตุผลใดบ้างทีRครูใหญ่จะไม่อนุญาต เช่น ระยะทางไกลต้องใช้เวลาไป
นานกว่าอาจส่งผลต่อการเรียนวิชาอืRนๆ เด็กๆ จึงเก็บข้อมูลและทําแผนเสนอ
ว่าจะทําอย่างไรให้เรียนได้ครบชัRวโมงและไม่กระทบเวลาในการเรียนวิชาอืRนๆ
และทําการบ้านกับครูกลอยว่า ถ้าไปแล้วจะคุ้มค่าอย่างไร มีเป้าหมายทีRชัด
มาก จะแก้ปัญหาอย่างไร ติดต่อเจ้าหน้าที สถานทีRเอง โดยให้เด็กทําจดหมาย
ขออนุญาตครูใหญ่และผู้ปกครองเอง โดยมีครูสนับสนุนอยู่เบื_องหลัง
• ความยากและความท้าทาย ทําให้เด็กเกิดฉันทะ ในการเรียนรู้
บทบาทและคาแรคเตอร์ของครูที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก
1. กระตุ้นความอยากเรียนรู้ของเด็กด้วยการตั_งคําถาม
2. เป็นผู้สนับสนุนเมืRอเด็กเจอความยาก คอยตั_งคําถามชี_ทางให้เด็กแก้ปัญหา โดยพูด
ในเชิงบวก เพืRอสืRอให้เด็กรู้ว่าไม่ว่าจะเจอปัญหาอะไรครูอยู่ตรงนี_เสมอ
3. รู้จักเด็ก สร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ทําความเข้าใจกับเด็กบางคนทีRอาจไม่ชอบความ
ลําบาก เข้าใจความแตกต่างของเด็ก และรู้ว่าเด็กมีศักยภาพแค่ไหน
4. คอยให้กําลังใจ เช่น “ถ้าหนูทําสําเร็จ ครูใหญ่ให้ไป โครงการนี_จะเป็นประโยชน์ต่อรุ่น
น้องมากเลยนะ”
5. ทําให้เด็กเรียนรุ้อย่างประจักษ์ชัด กล้าทีRจะพาเด็กออกไป
6. เรียนรู้จากหน้างาน โดยมีแผนทีRคร่าวๆ ในหัวเพืRอช่วยไกด์เด็ก คอยยํ_ากับเด็กว่า ต้อง
มีกําหนดการแต่กําหนดการเปลีRยนแปลงได้เสมอ
7. ให้อิสระกับเด็กในการเลือกพื_นทีRทีRอยากไปเรียนรู้
8. ไม่ชี_นําแต่ชี_แนะ ไว้ใจและเชืRอมัRนในตัวเด็ก
9. สร้างความท้าทายในการเรียนให้เด็ก และคอยเปลีRยนแรงท้อเป็นแรงฮึด
10. ให้นักเรียนสะท้อนสิRงทีRครูทําอยู่เสมอ เปิดใจรับฟังเสียงจากเด็ก เพืRอนํามา
พัฒนาการสอน
case 2 : ครูเกศรัตน์ มาศรี (ครูกลอย) สอนชั้นป. 6
การสร้างความท้าทายในการเรียนรู้ให้เด็ก
1. ตัOงคําถามชีOแนะ
2. ไว้ใจ เชืCอใจเด็ก ให้เด็กได้เป็นผู้เลือกโจทย์เอง
3. ทํา Reflection กับเด็กอยู่ตลอดเวลา
case 2 : ครูเกศรัตน์ มาศรี (ครูกลอย) สอนชั้นป. 6
ข้อเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการ PLC ในครั้งต่อไป,
ข้อความจากครูถึงครู
• ชวนคิดจากอ.หมอ :เราจะสื8อสารเรื8องนีL ส่งต่อให้ครูในพืLนที8ได้อย่างไร ?
• ความสําเร็จนี_เกิดขึ_นได้ เพราะระบบซัพพอร์ทของโรงเรียน การวางแผนหลักสูตร เช่น ป.6 ถูก
ออกแบบให้เรียนเรืRองนํ_า ห้องเรียนจะบรรลุเป้าหมาย KSA ได้ ต้องมีทีมครูในการวางแผนภาค
เรียน วางเนื_อหามาเป็นลําดับ พอมาถึงภาคเรียนทีR 3 เด็กจะได้โจทย์ว่า ตัวเองจะทําอะไรเพืRอ
สิRงแวดล้อมได้บ้าง? ซึRงจะตอบได้นั_นส่วนหนึRงมาจากการเก็บสะสมความรู้มาจากภาคเรียนก่อน
หน้า
• บทบาทของครูใหญ่ มีผลอย่างมากต่อความท้าทายทีRเด็กเจอ ซึRงส่งผลดีต่อตัวเด็ก และสะท้อนให้
เห็นกระบวนการทํางานเป็นทีมของครู
ข้อความจากครูถึงครู
• “มองจากตัวเด็กเป็นหลัก ไม่ใช้ความรู้ชุดไหนทีRเขาจะได้รับ แต่เป็นทักษะไหนทีRเด็กจะได้พัฒนา
วางกระบวนการเป็น road map แล้วยืดหยุ่น เมืRอมองทีRตัวเด็กเป็นหลักแล้วความคิดเราจะ
เปลีRยนไปเอง”
• “ตัวเองเปลีRยนแปลงวิธีการสอนได้ เพราะเห็นผลผลิต เห็นเด็กทีRจบไป ความตั_งใจอยากให้เด็กได้
ทักษะได้พัฒนาตัวเอง เลยพยายามหาความรู้เพิRมเติม เรียนรู้จากครูคนอืRน เพืRอนํามาพัฒนาทักษะ
การสอนของตัวเอง”
เพิ่มเติมจากผู้ทรงคุณวุฒิ
• สอดคล้องกับจิตวิทยาวัยรุ่นทีCชอบความท้าทาย
ใช้ความท้าทายมากระตุ้นให้เด็กอยากเรียนรู้
• การเอาเป้าหมายมาเป็นโจทย์ในการเรียนรู้ มี
สองระดับ ๑ เอาเป้าหมายมาเป็นโจทย์ในการ
สร้างการเรียนรู้ให้เด็ก ๒ การทําให้บรรลุ
เป้าหมาย
• การทํางานร่วมกันของครูกลอยและครูใหญ่ เพืCอ
สร้างโจทย์ความท้าทายให้กับเด็ก
ครูนิษฐา มิ่งมงคลรัศมี (ครูเก๋)
สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
วิชาภาษาไทย , วิชาบูรณาการ
"ป.1 ทําของเล่นในฤดูหนาว” เด็กได้สังเกตและเข้าใจ
ธรรมชาติรอบตัวเอง เห็นความเปลี่ยนแปลงในแต่ละ
ฤดู และต่อยอดมาเป็นของเล่นจากธรรมชาติ
" 3
ครูนิษฐา มิ่งมงคลรัศมี (ครูเก๋)
สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
วิชาภาษาไทย , วิชาบูรณาการ
"ป.1 ทําของเล่นในฤดูหนาว” เด็กได้สังเกตและเข้าใจ
ธรรมชาติรอบตัวเอง เห็นความเปลี่ยนแปลงในแต่ละ
ฤดู และต่อยอดมาเป็นของเล่นจากธรรมชาติ
การออกแบบและเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้
หลังจากทําของเล่นแล้ว ให้เด็กเขียน reflection 3 เรืRอง คือ วัสดุทีRใช้ สิRงทีRได้เรียน
ความรู้สึก ชวนเด็กคุยว่าอุปกรณ์ธรรมชาติทีRเลือกมาส่วนใหญ่คืออะไร เพราะอะไร
เช่น ส่วนใหญ่เป็นไม้ ดูความแข็ง ความเปราะ แล้วเชืRอมโยงกับการเปลีRยนฤดูกาล
Knowledge
1. ต้นไม้ในฤดูหนาว
2. การเลือกวัสดุเพืRอมาทําของเล่น
3. ภาษา
Skills
1. ทักษะ การเชืRอมโยงการเปลีRยนแปลงทางฤดูผ่าน นํ_า ดิน ต้นไม้
2. การรู้จักคุณสมบัติของวัสดุ
3. การคิดวางแผน
Attitudes
1. เห็นประโยชน์ของวัสดุในธรรมชาติรอบตัวทีRเอามาเล่นได้
สิ่งที่ครูได้เรียนรู้
สอดคล้องบทที่ 3.ปูพื้นฐานสู่การเรียนระดับสูง (หน้า10) หัวข้อ ความ
ท้าทาย (challenge)
• การสัมผัสของจริง พาสังเกตดิน ใบไม้ นํารูปมาเปรียบเทียบ กระตุ้นให้เด็ก
สังเกตความแตกต่างระหว่างฤดู
• จากทีRเด็กสะท้อนได้เป็นคําๆ เมืRอนําม่านวงแลกเปลีRยน เห็นว่าเด็กเริRม
เชืRอมโยงเป็นเรืRองได้ จากคําของเพืRอนๆด้วย
• ครูตั_งคําถามว่า “ทําไมต้นไม้มีสามสี แล้วสีไหนเป็นพีRสีไหนเป็นน้อง?” เพืRอ
เชืRอมโยงการเกิดก่อนหลัง ผลปรากฏว่าเด็กตอบได้ แม้จะเป็นเด็กเล็ก โดย
เด็กตอบว่าสีนํ_าตาลเป็นพีR สีเขียวเป็นน้องเล็ก พร้อมเหตุผลว่าดูจากสีของใบ
ทีRร่วง
• สิRงนี_สะท้อนว่าเด็กสามารถเชืRอมโยงเรืRองได้ด้วยตัวเอง โดยครูไม่ควรไปชี_นํา
แต่ควรชี_แนะ ปูทางเรืRองให้เด็กเรียนรู้ด้วยตัวเอง
• นําเรืRองการทําของเล่นมาเชืRอมกับการสอนเรืRองความแข็ง เปราะของวัสดุ(กิRง
ไม้) ทําให้เด็กสนุก เรียนรู้ตามความสนใจสมวัย
• ถ้าให้โจทย์ทีRท้าทายและให้พื_นทีRเด็กคิด แม้เด็กเล็ก เด็กก็จะสามารถ
สร้างสรรค์ผลงานออกมาได้
• เปิดพื_นทีRให้เด็กได้ใช้ความเป็นตัวของตัวเอง ใช้การสังเกตในห้องเรียน เช่น
คนนี_ชอบเชือก แล้วคอยแนะเพืRอดึงเอาศักยภาพเขาออกมา
• เมืRอเจอโจทย์ยาก ไม่มีเด็กคนไหนขอให้ทําให้ มีแต่เดินเข้ามาขอให้สอน แล้ว
เขาจะภูมิใจทีRเขาทําได้ และคนทีRทําได้แล้วก็จะไปสอนเพืRอนต่อด้วย
• เด็กทุกคนมีความสุขจากการเรียนและการเล่น
case 3"
case 3 ครูนิษฐา มิ่งมงคลรัศมี (ครูเก๋)
ข้อเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการ PLC ในครั้ง
ต่อไป, ข้อความจากครูถึงครู
• เมืRอเด็กได้ช่องทางเขาจะสามารถเชืRองโยงต่อไปได้เอง
• Making Space เป็นพื_นทีRสําหรับเด็กเล็กให้ได้เรียนทั_งทักษะและจินตนาการ
และครูได้รู้จักบุคลิกของเด็กเพิRม
• เบื_องหลัง คือ การออกแบบหลักสูตรสมรรถนะ เมืRอครูมองผ่านเลนส์นี_ทําให้
เห็นเด็กละเอียดขึ_น ดูบุคลิกและสิRงทีRเด็กได้เรียนรู้มากขึ_น ซึRงสิRงนี_เกิดจากการ
ออกแบบเป็นทีมของโรงเรียนด้วย
• กระบวนการนี_สะท้อนลําดับการเรียนรู้ตามในหนังสือ จากงานมาก งานยาก
งานซับซ้อน คือ การอ่านสถานการณ์ à เด็กเก็บมาเป็นภาษา และชุด
ความรู้, ฝึกแก้ปัญหา à เกิดจากการเรียนรูเรืRองคุณสมบัติวัสดุ
• การเรียนรู้เกิดขึ_นระหว่างกระบวนการ ไม่ใช่ปลายทาง
• เป็นการยกระดับการเรียนเป็นการเรียนแบบ Spiral
Maker Space
1. เป็นพื_นทีRให้เด็กได้ฝึกทั_งทักษะละจินตนาการ
2. ให้เด็กได้ใช้ศักยภาพและความถนัดของตัวเอง
3. ยังคงมีพื_นทีRนี_ไว้ในห้องเพืRอให้เด็กได้ทําต่อได้ แม้จบ
คาบเรียนหรือโปรเจกก์แล้ว
4. ครูคอยติดตามผล และให้ความช่วยเหลือในการ
ประดิษฐ์
5. สร้างความภูมิใจให้เด็ก
สรุปภาพรวม สิ่งที่ได้เรียนรู้จากโรงเรียนรุ่งอรุณ
• ระบบสนับสนุนครูจากโรงเรียนและทีมครูที6แข็งแรง เป็นสิ6งสําคัญมาก ความสําเร็จในห้องเรียนจะเกิดได้เมื6อมี
การออกแบบหลักสูตรและทํางานเป็นทีมครู à ถอดบทเรียนกระบวนการหลังบ้านเพื6อส่งต่อให้โรงเรียนอื6น
• เราต้องสร้างโอกาสในการเรียนรู้ให้เด็ก ซึ6งคือ ปัญหาและการแก้ปัญหาจากโจทย์จริง
• โจทย์จริง การลงสนาม คือครูที6ดีที6สุด
• บทบาทที6สําคัญของครู คือ สร้างความท้าทาย เพื6อกระตุ้นความอยากเรียนรู้ของเด็ก เป็น learning designer
• คาแรคเตอร์ที6สําคัญ คือ 1. ทํางานกับเพื6อนครู/ เป็นทีม 2. ครูไว้วางใจและเชื6อใจเด็ก 3. positive Approach 3.
ครูเข้าใจธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กในแต่ละช่วงวัย เช่น เด็กเล็กชอบเล่น วัยรุ่นชอบความท้าทาย 4. ครูมองเห็น
Learning visibility ของเด็ก
💖

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Beeby Bicky
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
Blade HurthurtHurt
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart ruller
Unity' Aing
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Chaya Kunnock
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
Kobwit Piriyawat
 

Was ist angesagt? (19)

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Coaching and mentoring
Coaching and mentoringCoaching and mentoring
Coaching and mentoring
 
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
Project-based Learning with Mentoring in Control system EngineeringProject-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
C and m
C and mC and m
C and m
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart ruller
 
Proteach moph 620123
Proteach moph 620123Proteach moph 620123
Proteach moph 620123
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Pre orientation
Pre orientationPre orientation
Pre orientation
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
 
Blog14may
Blog14mayBlog14may
Blog14may
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
 

Ähnlich wie Roongarun

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Vs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
Jiramet Ponyiam
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
Areerat Sangdao
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
Arm Watcharin
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
Vachii Ra
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
Ratchada Kaewwongta
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 

Ähnlich wie Roongarun (20)

ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
 
Blog24 nov
Blog24 novBlog24 nov
Blog24 nov
 
E2
E2E2
E2
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
Bbl ๘
Bbl ๘Bbl ๘
Bbl ๘
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
Ubon u 620215
Ubon u 620215Ubon u 620215
Ubon u 620215
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 

Mehr von Pattie Pattie

Mehr von Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Roongarun

  • 1. เวที Online PLC Coaching โรงเรียนรุ่งอรุณ โครงการครูเพื่อศิษย์ สร้างการเรียนรู้ระดับเชื่อมโยงออนไลน์ 23 มิถุนายน 2563 เวลา 9.00-12.00 น. Zoom meeting
  • 2. ถอดบทเรียนจากประสบการณ์การสอนในห้องเรียนเชื่อมโยง กับหนังสือ ครูเพื่อศิษย์ สอนสู่รู้เชื่อมโยง การออกแบบและ เป้าหมายในการจัดการ เรียนรู้ • ความรู้ Knowledge • ทักษะ Skills • ทัศนคติ เจตคติ Attitudes บทบาทและคาแรคเตอร์ ของครูที่ส่งเสริมการ เรียนรู้ของเด็ก • ผู้ทรงคุณวุฒิชวนครูวิเคราะห์ถึง บทบาทของตัวเอง เพืRอถอด บทเรียนเพืRอส่งต่อวิธีการให้ครู ท่านอืRน ๆ • ผู้ทรงคุณวุฒิและอาจารย์ท่าน อืRน ๆ ช่วยเสริมประเด็นทีR น่าสนใจ ข้อเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัด กระบวนการ PLC ในครั้ง ต่อไป, ข้อความจากครูถึงครู • เบื_องหลังการออกแบบชั_นเรียน, ขยายความให้เห็นภาพระบบ สนับสนุนครู จากทั_งทีมครูและ โรงเรียน ทีRอยู่เบื_องหลังความสําเร็จ ในห้องเรียนนี_ • ความรู้สึกและข้อความจากครู ตัวอย่าง ถึงครูท่านอืRน • ข้อเสนอแนะสําหรับการจัด PLC ออนไลน์ครั_งต่อไป โรงเรียนรุ่งอรุณ ครูแบงค์ ภิญโญ เสาร์วันดี สอนระดับมัธยมศึกษาปีทีR h วิชาภาษาไทย, วิชาบูรณาการ,วิชา สังคม,วิชา IT ครูกลอย เกศรัตน์ มาศรี สอนระดับชั_นประถมศึกษาปีทีR 6 วิชาภาษาไทย , วิชาสังคมศึกษา ครูเก๋ ครูนิษฐา มิ8งมงคลรัศมี สอนระดับชั_นประถมศึกษาปีทีR l วิชาภาษาไทย , วิชาบูรณาการ ! " " ครูแกนนําทีRมานําเสนอเรืRอง สิ่งที่ครูได้เรียนรู้
  • 3. ครูภิญโญ เสารวันดี (ครูแบงค์) สอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิชาภาษาไทย, วิชาบูรณาการ,วิชาสังคม,วิชา IT พาเด็กไปลงพื้นที่เพื่อเรียนรู้เรื่องพื้นที่ต้นนํ้าบ้านสามขา อ.แม่ทา จ.ลําปาง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว ในการจัดการนํ้า แต่เมื่อไปถึงกลับเจอโจทย์ไฟป่า ! 1
  • 4. ครูภิญโญ เสารวันดี (ครูแบงค์) สอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิชาภาษาไทย, วิชาบูรณาการ,วิชาสังคม,วิชา IT พาเด็กไปลงพื้นที่เพื่อเรียนรู้เรื่องพื้นที่ต้นนํ้าบ้านสามขา อ.แม่ทา จ.ลําปาง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว ในการจัดการนํ้า แต่เมื่อไปถึงกลับเจอโจทย์ไฟป่า เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ Knowledge 1. เพืRอให้เด็กได้เห็นสภาพจริงของแหล่งต้นนํ_า ซึRงเป็นแหล่งผลิตชาวบ้านใช้ดืRม/ ใช้ ดูวิธีการจัดการและวิธีการดูแลรักษาแหล่งต้นนํ_า Skills 1. สร้างทักษะการปรับตัวเข้ากับผู้อืRน และความเข้าอกเข้าใจ (empathy) 2. ฝึกทักษะการสัมภาษณ์และเก็บข้อมูล เพืRอให้รู้ลึกรู้จริง Attitudes 1. เห็นวิถีชีวิตของชาวบ้าน (Empathize) เห็นอกเห็นใจคนอืRน case 1 ! การออกแบบกระบวนการจัดการเรียน การลงภาคสนาม ก่อนลงสนาม • วางแผน ตั_งเป้าหมาย เพืRอตั_งหมุดให้เด็ก “ให้เด็กตั_งประเด็นว่าทําไม ถึงอยากทํา” ระหว่าง • นําประเด็นทีRเด็กได้จากการพูดคุยกับชาวบ้านมาร้อยเรียง • มี KM ตั_งวงแชร์ประเด็นกัน ให้เด็กๆ ช่วยกันเติมข้อมูล ตรวจสอบ ช่วยเหลือกัน แนะนํากัน โดยมีครูเป็น facilitator หลัง • นําข้อมูลจากภาคสนามมาทํารายงานเป็นสมุดภาพ • รวมกลุ่มกับเพืRอนทีRมีข้อมูลคล้ายกัน แล้วหาข้อมูลเพิRมเติม • สรุปเป็นโปรเจกต์ท้ายเทอม โดยออกแบบว่าโปรจกต์นี_จะสืRอสาร อย่างไรต่อสาธารณะชน มีประเด็นใดบ้างทีRจะเป็นประโยชน์ต่อสังคม • เมืRอทําเสร็จแล้ว ใช้ระบบเพืRอนแนะนําติชมเพืRอน
  • 5. ถาม-ตอบ Q: ทําอย่างไรให้เด็กมีใจนึกถึงชุมชน และทํางาน ครูตัLงโจทย์อย่างไร A: ให้เด็กได้เจอสถานการณ์จริง ได้คุยกับชาวบ้าน เพืRอเก็บข้อมูล Q: เพราะอะไรเด็กถึงไม่หนีเมื8อประเด็นเปลี8ยน ทําไมเด็กถึงมีทักษะใน การคุย กับชาวบ้าน ได้มีการสอนอย่างไร A: หนึRง สิRงทีRเขาเจอต่างจากสิRงทีRเขารู้จากอินเตอร์เนท สอง เขาได้ลองคุยกับ ชาวบ้าน ทําให้เขาเห็นวิถีชีวิต เห็นว่าเรืRองทีRชาวบ้านเล่าคือเรืRองทีRเกิดขึ_นจริง เชืRอมโยงกับสิRงทีRเขาตรงหน้า แล้งจริง ไม่มีการทํานา ไม่นํ_าใช้ มีไฟป่า เด็กจึงเกิด ความรู้สึกร่วม เกิดความเห็นอกเห็นใจ และอยากหาความรู้เพิRมในประเด็นนี_ Q: มีการแบ่งงานอย่างไร ตัLงคําถามอย่างไร A: เด็กแบ่งกลุ่มเอง เป็น 4-5 กลุ่ม เริRมจากให้โจทย์ทําแผนผังชุมชน ให้เข้าไปคุย กับคน โดยมีเครืRองมือในการเก็บข้อมูลทีRเรียนมาจากเทอมแรก เช่น ถามว่าทํา อาชีพอะไร ใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง เป็นคําถามพื_นฐาน แล้วค่อยๆ ถามต่อ ว่า ทําเพราะอะไร เกิดปัญหาอะไรไหม เป็นการสร้างไทม์ไลน์ของชุมชน Q: กระบวนการก่อนลงพืLนที8เป็นอย่างไร เด็กเตรียมตัวอย่างไร A: หาข้อมูลเชิงจํานวนเป็นความรู้พื_นฐาน เช่น มีสภาพภูมิประเทศอย่างไร มีกีR ครัวเรือน เมืRอลงพื_นทีRก็จะรีเช็ค จุดเปลีRยนคือ สิRงทีRเด็กหาข้อมูลเตรียมไว้ต่างจาก สิRงทีRเกิดขึ_นจริง ไปเรียนรู้จากหน้างาน • Q: วิธีการที8ครูเรียนพร้อมเด็ก ทําอย่างไร A: มีการโทรเช็คข้อมูลล่วงหน้า และเมืRอไปถึงทีRคุยกับชาวบ้าน ทํากระบวนการเดียวกันกับ เด็ก เพืRอนํามาสรุปงานกับเด็กท้ายวันว่าสิRงทีRเด็กได้รู้เท่ากับทีRเราเจอไหม หรือเจอทีRต่างกัน อย่างไร แล้วเอามาคุยกัน • Q: เมื8อไปถึงแล้วเจอสิ8งที8ต่างกัน เราเปลี8ยนโจทย์ไหม แล้วปฏิกิริยาของเด็กเป็น อย่างไร A: เปลีRยน ตอนแรกตั_งโจทย์เรืRองต้นนํ_าแล้ว เปลีRยนมาเป็นเรืRองไฟป่า จากทีRตั_งใจจะไปเรียน แง่ดีแง่งาม เปลีRยนมาเป็นทําความเข้าใจปัญหา โดยโยนโจทย์ว่า “ป่าต้นนํ_าทีRเราตั_งใจมา ศึกษาเมืRอเกิดแบบนี_ขึ_น จะยังเป็นป่าต้นนํ_าไหม แล้วควรแก้ปัญหานี_อย่างไร” ครูเรียนรู้ไป พร้อมกับเด็ก • Q: คิดว่าสถานการณ์ระหว่าง เป็นไปดังที8ตัLงใจได้เรียนเรื8องต้นนํLา กับการไปเจอเรื8อง ไฟป่าซึ8งต่างจากที8ตัLงใจ แบบไหนได้เรียนรู้มากกว่า A: สถานณ์การตรงหน้า และการเปลีRยนโจทย์ทําให้ได้เรียนรู้มากกว่า เพราะถ้าตามโจทย์จะ เหมือนเด็กเรียนตามสัRง แต่พอเป็นโจทย์ใหม่ ทําให้เด็กรู้สึกเป็นเจ้าของความรู้นั_น เขาได้ เรียนรู้ไปกับครู อินกว่า อยากรู้ลึกมากขึ_น
  • 6. case 1 : ครูภิญโญ เสารวันดี (ครูแบงค์) สิ่งที่ครูได้เรียนรู้ เชื่อมโยงกับ บทที่ 7: เรียนรู้ระดับเชื่อมโยง ค้นคว้าและผลิต 1. การทํางานแบบ PBL ทําให้ได้กลับมาทบทวนว่าครูมีทักษะคิดเชืCอมโยงและพา นักเรียนเรียนรู้เพียงพอหรือยัง 2. กระตุ้นความอยากเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยคําถาม “เดิมบางครัOงเด็กอยากได้คําตอบสุดท้ายเลย แต่ถ้าให้แบบนัOนจะไม่เกิดการ เรียนรู้ จึงเปลีCยนตัวเองมาใช้วิธี เมืCอเด็กถาม ครูจะถามกลับเพืCอชวนคิด ทําเพืCอ อะไร จะทําได้อย่างไร และให้คิดถึงผู้อืCนด้วย ไม่ใช่แค่ทําตามใจตัวเอง หรือครู สัCง” ตัวอย่างคําถามกระตุ้น เช่น ในการผลิตชิOนงาน: 2.1 งานทีCผลิตชิOนนีOคนอืCนจะอยากหยิบจับขึOนมาอ่านไหม? คําถามนีOถามเพืCอให้ เด็กคิดสร้างสรรค์งานออกมาในรูปแบบทีCสวยงาม น่าอ่าน 2.2 งานชิOนนีOจะไม่ทําให้คนผิดหวังใช่ไหม? เพืCอให้เด็กคิดต่อว่า ไม่ผิดหวังเรืCอง อะไร นอกจากความสวยงามแล้วยังต้องใส่ใจในเรืCองใดอีก ต้องมีเนืOอหาทีCดีด้วย 3. การลงพืOนทีCช่วยสร้างความเชืCอมโยงกับชุมชน ทําให้เด็กสามารถตัOงโจทย์ได้ด้วย ตัวเอง สิCงทีCเขาเจอต่างจากสิCงทีCเขาเห็นหรือสืบค้นข้อมูลมาจากอินเตอร์เน็ต เช่น เรืCองความแล้ง เรืCองไฟป่า สิCงนีOจะเป็นจุดเริCมต้นให้เขาลงไปตามต่อ หาความรู้ใน เชิงลึกขึOน 4. การมีความยืดหยุ่น ในการปรับโจทย์การเรียนรู้ ทําให้เด็กรู้สึกเป็นเจ้าของความรู้ และอยากเรียนรู้ให้ลึกขึOน 5. การลงพืOนทีCเป็นครูทีดี บทบาทและคาแรคเตอร์ ของครูที่ส่งเสริมการ เรียนรู้ของเด็ก 1. ใช้คําถามนํา 2. ก่อนลงพืOนทีCให้หาข้อมูลก่อน ให้ เครืCองมือเด็กด้วยการทําไทม์ไลน์ mapping ชุมชน 3. เป็น Facilitator ในการพาเด็กเรียนรู้ ระดับ Transfer คือรู้เชืCอมโยงเพืCอ นําไปใช้ในสถานการณ์อืCนได้ 4. มีอิสระในการสอน และให้อิสระเด็กใน การเรียนรู้กับประเด็น ข้อความจากครูถึงครู • ถอดคําว่าครูออกจากหัว แล้วสวมบทเป็น facilitator ”ผมไม่เอาคําว่าครูมาครอบ แต่เป็นโค้ชที:คอยชี<นํา เรียนไปพร้อมกับเด็กก็ได้ ครูไม่จําเป็นต้องรู้ก่อนเด็ก ทุกเรื:องเสมอไป” หน้าที่ของครูในฐานะ facilitator การเรียนรู้ 1. เป็นผู้ถามนํา ไม่ใช้การบอกสอน 2. เรืCองทีCนํามาถกในห้องเรียนไม่ เป็นประเด็นลอย ๆ แต่นํามา เขียนสรุปไว้บนกระดาน และครู ช่วยชีOความเชืCอมโยงของแต่ละ เรืCองเพืCอให้เด็กเห็นภาพรวม
  • 7. ครูเกศรัตน์ มาศรี (ครูกลอย) สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิชาภาษาไทย , วิชาสังคมศึกษา "Kids ช่วยโลก ตอน ตามรอยบุคคลต้นแบบที่ดูแลสิ่งแวดล้อม” ลง ภาคสนามที่จ.ชัยภูมิ เพื่อตามรอยพระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ที่ดูแลผืน ป่าภูหลง เด็กๆ ได้ร่วมกันวางแผนออกแบบกระบวนการ และสืบค้น บุคคลตัวอย่างด้วยตนเอง โดยมีครูช่วยสนับสนุน " 2
  • 8. ครูเกศรัตน์ มาศรี (ครูกลอย) สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิชาภาษาไทย , วิชาสังคมศึกษา "Kids ช่วยโลก ตอน ตามรอยบุคคลต้นแบบที่ดูแลสิ่งแวดล้อม" ลง ภาคสนามที่จ.ชัยภูมิ เพื่อตามรอยพระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ที่ดูแลผืน ป่าภูหลง เด็กๆ ได้ร่วมกันวางแผนออกแบบกระบวนการ และสืบค้น บุคคลตัวอย่างด้วยตนเอง โดยมีครูช่วยสนับสนุน เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ Knowledge 1. การดูแลรักษาสิRงแวดล้อม เรียนรู้จากบุคคลต้นแบบ Skills 1. ฝึกออกแบบกระบวนการเรีบนรู้ด้วยตัวเอง 2. ฝึกทักษะการสัมภาษณ์และเก็บข้อมูล เพืRอให้รู้ลึกรู้จริง 3. เขียนโครงการ การตั_งเป้าหมายให้โครงการและสิRงทีRทํา 4. ติดต่อประสานงาน Attitudes 1. เพืRอให้เด็กเห็นความยากลําบากในการทําอะไรสักอย่าง โดยครูคอยตั_ง คําถามแนะว่าไปแล้วจะคุ้มไหม เพืRอกระตุ้นให้เด็กมีเป้าหมายทีRชัด case 2 การออกแบบกระบวนการจัดการเรียน การลงภาคสนาม ก่อนลงสนาม • ครูตั_งเป้าหมายไว้ว่า เมืRอกลับจากภาคสนามจะให้เอาข้อมูลทีRได้ กลับมาทําโปรเจกต์ และเขียนสะท้อนเป็นรายงานให้โจทย์ว่า “โลก ป่วยแล้วใครช่วยได้ ?” โดยให้เด็กสืบค้นข้อมูลบุคคลต้นแบบ จากนั_น ถามต่อว่า “จากทีRสืบค้นมา สิRงทีRคนต้นแบบทําแล้วเพียงพอหรือยัง” “อยากรู้อะไรเพิRมเติม แล้วเราทําอะไรเพิRมได้บ้าง” จากนั_นนํามาเลือก โครงการทีRเด็กๆ อยากลงภาคสนาม • เด็กต้องเขียนร่างโครงการ ติดต่อประสานงานเองทุกกระบวนการ โดย ครูเป็นผู้ตั_งคําถามและแนะนํา ระหว่าง • ครูคอยสนับสนุนและอยู่กับเด็กตลอดเวลา หลัง • เกิดไฟไหม้ เด็กมาคิดต่อยอดว่าจะทํากิจกรรมอะไรเพืRอช่วยเหลือ นากจากเงินบริจาค เด็กๆ มีไอเดียทีRน่าสนใจ เช่น เขียนข้อความส่ง กําลังใจ • ครูให้โจทย์การทําตลาดนัดเพืRอระดมทุน "
  • 9. สิ่งที่ครูได้เรียนรู้ เชื่อมโยงกับ บทที่ 7: เรียนรู้สู่ระดับเชื่อมโยง - กําหนดเงื่อนไขเพื่อ เรียนรู้สู่การเชื่อมโยง • เมืRอมีอิสระในการเลือกประเด็นเอง ทําให้เด็กๆ อยากเรียนรู้ อยากรู้ลึกรู้จริง ความน่าสนใจคือ เคสนี_ระยะทางไกลกว่าทีRกระทรวงกําหนด และบุคคลทีRไป เรียนรู้ร่วมเป็นพระซึRงปกติเป็นบุคคลทีRวัยรุ่นมักไม่ค่อยมีปฏิสัมพันธ์ด้วย • ความสนใจของเด็กๆ เริRมต้นจากความคิดทีRว่า “คนธรรมดายังไม่ทํา(ดูแล สิRงแวดล้อม)เลย แล้วท่านเป็นพระ ทําไมถึงลุกขึ_นมาทํา?” • ระยะทางเป็นความท้าทายสําหรับเด็ก โดยครูเปลีRยนความท้าทายให้เป็น ความยาก ซึRงโจทย์สําหรับเด็กในเคสนี_คือ “จะทํายังไงให้ครูใหญ่อนุญาต” ซึRง ช่วยให้เด็กเห็นความสําคัญของการทําโครงการนี_มากยิRงขึ_น • เด็กๆ พยายามทําโครงการเพืRอให้ผ่านครูใหญ่ โดยเริRมจากวางแผน พิจารณา ว่ามีเหตุผลใดบ้างทีRครูใหญ่จะไม่อนุญาต เช่น ระยะทางไกลต้องใช้เวลาไป นานกว่าอาจส่งผลต่อการเรียนวิชาอืRนๆ เด็กๆ จึงเก็บข้อมูลและทําแผนเสนอ ว่าจะทําอย่างไรให้เรียนได้ครบชัRวโมงและไม่กระทบเวลาในการเรียนวิชาอืRนๆ และทําการบ้านกับครูกลอยว่า ถ้าไปแล้วจะคุ้มค่าอย่างไร มีเป้าหมายทีRชัด มาก จะแก้ปัญหาอย่างไร ติดต่อเจ้าหน้าที สถานทีRเอง โดยให้เด็กทําจดหมาย ขออนุญาตครูใหญ่และผู้ปกครองเอง โดยมีครูสนับสนุนอยู่เบื_องหลัง • ความยากและความท้าทาย ทําให้เด็กเกิดฉันทะ ในการเรียนรู้ บทบาทและคาแรคเตอร์ของครูที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก 1. กระตุ้นความอยากเรียนรู้ของเด็กด้วยการตั_งคําถาม 2. เป็นผู้สนับสนุนเมืRอเด็กเจอความยาก คอยตั_งคําถามชี_ทางให้เด็กแก้ปัญหา โดยพูด ในเชิงบวก เพืRอสืRอให้เด็กรู้ว่าไม่ว่าจะเจอปัญหาอะไรครูอยู่ตรงนี_เสมอ 3. รู้จักเด็ก สร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ทําความเข้าใจกับเด็กบางคนทีRอาจไม่ชอบความ ลําบาก เข้าใจความแตกต่างของเด็ก และรู้ว่าเด็กมีศักยภาพแค่ไหน 4. คอยให้กําลังใจ เช่น “ถ้าหนูทําสําเร็จ ครูใหญ่ให้ไป โครงการนี_จะเป็นประโยชน์ต่อรุ่น น้องมากเลยนะ” 5. ทําให้เด็กเรียนรุ้อย่างประจักษ์ชัด กล้าทีRจะพาเด็กออกไป 6. เรียนรู้จากหน้างาน โดยมีแผนทีRคร่าวๆ ในหัวเพืRอช่วยไกด์เด็ก คอยยํ_ากับเด็กว่า ต้อง มีกําหนดการแต่กําหนดการเปลีRยนแปลงได้เสมอ 7. ให้อิสระกับเด็กในการเลือกพื_นทีRทีRอยากไปเรียนรู้ 8. ไม่ชี_นําแต่ชี_แนะ ไว้ใจและเชืRอมัRนในตัวเด็ก 9. สร้างความท้าทายในการเรียนให้เด็ก และคอยเปลีRยนแรงท้อเป็นแรงฮึด 10. ให้นักเรียนสะท้อนสิRงทีRครูทําอยู่เสมอ เปิดใจรับฟังเสียงจากเด็ก เพืRอนํามา พัฒนาการสอน case 2 : ครูเกศรัตน์ มาศรี (ครูกลอย) สอนชั้นป. 6 การสร้างความท้าทายในการเรียนรู้ให้เด็ก 1. ตัOงคําถามชีOแนะ 2. ไว้ใจ เชืCอใจเด็ก ให้เด็กได้เป็นผู้เลือกโจทย์เอง 3. ทํา Reflection กับเด็กอยู่ตลอดเวลา
  • 10. case 2 : ครูเกศรัตน์ มาศรี (ครูกลอย) สอนชั้นป. 6 ข้อเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการ PLC ในครั้งต่อไป, ข้อความจากครูถึงครู • ชวนคิดจากอ.หมอ :เราจะสื8อสารเรื8องนีL ส่งต่อให้ครูในพืLนที8ได้อย่างไร ? • ความสําเร็จนี_เกิดขึ_นได้ เพราะระบบซัพพอร์ทของโรงเรียน การวางแผนหลักสูตร เช่น ป.6 ถูก ออกแบบให้เรียนเรืRองนํ_า ห้องเรียนจะบรรลุเป้าหมาย KSA ได้ ต้องมีทีมครูในการวางแผนภาค เรียน วางเนื_อหามาเป็นลําดับ พอมาถึงภาคเรียนทีR 3 เด็กจะได้โจทย์ว่า ตัวเองจะทําอะไรเพืRอ สิRงแวดล้อมได้บ้าง? ซึRงจะตอบได้นั_นส่วนหนึRงมาจากการเก็บสะสมความรู้มาจากภาคเรียนก่อน หน้า • บทบาทของครูใหญ่ มีผลอย่างมากต่อความท้าทายทีRเด็กเจอ ซึRงส่งผลดีต่อตัวเด็ก และสะท้อนให้ เห็นกระบวนการทํางานเป็นทีมของครู ข้อความจากครูถึงครู • “มองจากตัวเด็กเป็นหลัก ไม่ใช้ความรู้ชุดไหนทีRเขาจะได้รับ แต่เป็นทักษะไหนทีRเด็กจะได้พัฒนา วางกระบวนการเป็น road map แล้วยืดหยุ่น เมืRอมองทีRตัวเด็กเป็นหลักแล้วความคิดเราจะ เปลีRยนไปเอง” • “ตัวเองเปลีRยนแปลงวิธีการสอนได้ เพราะเห็นผลผลิต เห็นเด็กทีRจบไป ความตั_งใจอยากให้เด็กได้ ทักษะได้พัฒนาตัวเอง เลยพยายามหาความรู้เพิRมเติม เรียนรู้จากครูคนอืRน เพืRอนํามาพัฒนาทักษะ การสอนของตัวเอง” เพิ่มเติมจากผู้ทรงคุณวุฒิ • สอดคล้องกับจิตวิทยาวัยรุ่นทีCชอบความท้าทาย ใช้ความท้าทายมากระตุ้นให้เด็กอยากเรียนรู้ • การเอาเป้าหมายมาเป็นโจทย์ในการเรียนรู้ มี สองระดับ ๑ เอาเป้าหมายมาเป็นโจทย์ในการ สร้างการเรียนรู้ให้เด็ก ๒ การทําให้บรรลุ เป้าหมาย • การทํางานร่วมกันของครูกลอยและครูใหญ่ เพืCอ สร้างโจทย์ความท้าทายให้กับเด็ก
  • 11. ครูนิษฐา มิ่งมงคลรัศมี (ครูเก๋) สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 วิชาภาษาไทย , วิชาบูรณาการ "ป.1 ทําของเล่นในฤดูหนาว” เด็กได้สังเกตและเข้าใจ ธรรมชาติรอบตัวเอง เห็นความเปลี่ยนแปลงในแต่ละ ฤดู และต่อยอดมาเป็นของเล่นจากธรรมชาติ " 3
  • 12. ครูนิษฐา มิ่งมงคลรัศมี (ครูเก๋) สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 วิชาภาษาไทย , วิชาบูรณาการ "ป.1 ทําของเล่นในฤดูหนาว” เด็กได้สังเกตและเข้าใจ ธรรมชาติรอบตัวเอง เห็นความเปลี่ยนแปลงในแต่ละ ฤดู และต่อยอดมาเป็นของเล่นจากธรรมชาติ การออกแบบและเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ หลังจากทําของเล่นแล้ว ให้เด็กเขียน reflection 3 เรืRอง คือ วัสดุทีRใช้ สิRงทีRได้เรียน ความรู้สึก ชวนเด็กคุยว่าอุปกรณ์ธรรมชาติทีRเลือกมาส่วนใหญ่คืออะไร เพราะอะไร เช่น ส่วนใหญ่เป็นไม้ ดูความแข็ง ความเปราะ แล้วเชืRอมโยงกับการเปลีRยนฤดูกาล Knowledge 1. ต้นไม้ในฤดูหนาว 2. การเลือกวัสดุเพืRอมาทําของเล่น 3. ภาษา Skills 1. ทักษะ การเชืRอมโยงการเปลีRยนแปลงทางฤดูผ่าน นํ_า ดิน ต้นไม้ 2. การรู้จักคุณสมบัติของวัสดุ 3. การคิดวางแผน Attitudes 1. เห็นประโยชน์ของวัสดุในธรรมชาติรอบตัวทีRเอามาเล่นได้ สิ่งที่ครูได้เรียนรู้ สอดคล้องบทที่ 3.ปูพื้นฐานสู่การเรียนระดับสูง (หน้า10) หัวข้อ ความ ท้าทาย (challenge) • การสัมผัสของจริง พาสังเกตดิน ใบไม้ นํารูปมาเปรียบเทียบ กระตุ้นให้เด็ก สังเกตความแตกต่างระหว่างฤดู • จากทีRเด็กสะท้อนได้เป็นคําๆ เมืRอนําม่านวงแลกเปลีRยน เห็นว่าเด็กเริRม เชืRอมโยงเป็นเรืRองได้ จากคําของเพืRอนๆด้วย • ครูตั_งคําถามว่า “ทําไมต้นไม้มีสามสี แล้วสีไหนเป็นพีRสีไหนเป็นน้อง?” เพืRอ เชืRอมโยงการเกิดก่อนหลัง ผลปรากฏว่าเด็กตอบได้ แม้จะเป็นเด็กเล็ก โดย เด็กตอบว่าสีนํ_าตาลเป็นพีR สีเขียวเป็นน้องเล็ก พร้อมเหตุผลว่าดูจากสีของใบ ทีRร่วง • สิRงนี_สะท้อนว่าเด็กสามารถเชืRอมโยงเรืRองได้ด้วยตัวเอง โดยครูไม่ควรไปชี_นํา แต่ควรชี_แนะ ปูทางเรืRองให้เด็กเรียนรู้ด้วยตัวเอง • นําเรืRองการทําของเล่นมาเชืRอมกับการสอนเรืRองความแข็ง เปราะของวัสดุ(กิRง ไม้) ทําให้เด็กสนุก เรียนรู้ตามความสนใจสมวัย • ถ้าให้โจทย์ทีRท้าทายและให้พื_นทีRเด็กคิด แม้เด็กเล็ก เด็กก็จะสามารถ สร้างสรรค์ผลงานออกมาได้ • เปิดพื_นทีRให้เด็กได้ใช้ความเป็นตัวของตัวเอง ใช้การสังเกตในห้องเรียน เช่น คนนี_ชอบเชือก แล้วคอยแนะเพืRอดึงเอาศักยภาพเขาออกมา • เมืRอเจอโจทย์ยาก ไม่มีเด็กคนไหนขอให้ทําให้ มีแต่เดินเข้ามาขอให้สอน แล้ว เขาจะภูมิใจทีRเขาทําได้ และคนทีRทําได้แล้วก็จะไปสอนเพืRอนต่อด้วย • เด็กทุกคนมีความสุขจากการเรียนและการเล่น case 3"
  • 13. case 3 ครูนิษฐา มิ่งมงคลรัศมี (ครูเก๋) ข้อเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการ PLC ในครั้ง ต่อไป, ข้อความจากครูถึงครู • เมืRอเด็กได้ช่องทางเขาจะสามารถเชืRองโยงต่อไปได้เอง • Making Space เป็นพื_นทีRสําหรับเด็กเล็กให้ได้เรียนทั_งทักษะและจินตนาการ และครูได้รู้จักบุคลิกของเด็กเพิRม • เบื_องหลัง คือ การออกแบบหลักสูตรสมรรถนะ เมืRอครูมองผ่านเลนส์นี_ทําให้ เห็นเด็กละเอียดขึ_น ดูบุคลิกและสิRงทีRเด็กได้เรียนรู้มากขึ_น ซึRงสิRงนี_เกิดจากการ ออกแบบเป็นทีมของโรงเรียนด้วย • กระบวนการนี_สะท้อนลําดับการเรียนรู้ตามในหนังสือ จากงานมาก งานยาก งานซับซ้อน คือ การอ่านสถานการณ์ à เด็กเก็บมาเป็นภาษา และชุด ความรู้, ฝึกแก้ปัญหา à เกิดจากการเรียนรูเรืRองคุณสมบัติวัสดุ • การเรียนรู้เกิดขึ_นระหว่างกระบวนการ ไม่ใช่ปลายทาง • เป็นการยกระดับการเรียนเป็นการเรียนแบบ Spiral Maker Space 1. เป็นพื_นทีRให้เด็กได้ฝึกทั_งทักษะละจินตนาการ 2. ให้เด็กได้ใช้ศักยภาพและความถนัดของตัวเอง 3. ยังคงมีพื_นทีRนี_ไว้ในห้องเพืRอให้เด็กได้ทําต่อได้ แม้จบ คาบเรียนหรือโปรเจกก์แล้ว 4. ครูคอยติดตามผล และให้ความช่วยเหลือในการ ประดิษฐ์ 5. สร้างความภูมิใจให้เด็ก
  • 14. สรุปภาพรวม สิ่งที่ได้เรียนรู้จากโรงเรียนรุ่งอรุณ • ระบบสนับสนุนครูจากโรงเรียนและทีมครูที6แข็งแรง เป็นสิ6งสําคัญมาก ความสําเร็จในห้องเรียนจะเกิดได้เมื6อมี การออกแบบหลักสูตรและทํางานเป็นทีมครู à ถอดบทเรียนกระบวนการหลังบ้านเพื6อส่งต่อให้โรงเรียนอื6น • เราต้องสร้างโอกาสในการเรียนรู้ให้เด็ก ซึ6งคือ ปัญหาและการแก้ปัญหาจากโจทย์จริง • โจทย์จริง การลงสนาม คือครูที6ดีที6สุด • บทบาทที6สําคัญของครู คือ สร้างความท้าทาย เพื6อกระตุ้นความอยากเรียนรู้ของเด็ก เป็น learning designer • คาแรคเตอร์ที6สําคัญ คือ 1. ทํางานกับเพื6อนครู/ เป็นทีม 2. ครูไว้วางใจและเชื6อใจเด็ก 3. positive Approach 3. ครูเข้าใจธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กในแต่ละช่วงวัย เช่น เด็กเล็กชอบเล่น วัยรุ่นชอบความท้าทาย 4. ครูมองเห็น Learning visibility ของเด็ก 💖