SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
ครูนิษฐา มิ่งมงคลรัศมี สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1โรงเรียน รุ่งอรุณ บทที่ 3.ปูพื้นฐานสู่การ
เรียนระดับสูง (หน้า 10) หัวข้อ ความท้าทาย (challenge) (เด็กมีธรรมชาติชอบความท้าทาย โดยความท้า
ทายนั้นต้องพอดี ไม่ง่ายเกินไปจนน่าเบื่อ และไม่ยากเกินไปจนท้อถอย นักเรียนต้องได้รับโจทย์ที่ยากเป็น
ครั้งคราว เพื่อฝึกให้เป็นคนสู้สิ่งยาก ไม่ท้อถอยง่ายๆ โดยครูเป็นผู้คอยหนุน ให้กาลังใจฟันฝ่าประสบการณ์
ที่ต้องเผชิญความยาก เมื่อครูเข้าไปหนุนไม่ให้ถอดใจ มีการฟันฝ่า สู้จนสาเร็จ จะกลายเป็นประสบการณ์ที่
มีคุณค่าในชีวิต ฝึกให้นักเรียนมีความมุ่งมั่นและมุมานะ
ฉะนั้น หน้าที่หลักของครูในศตวรรษที่ 21 คือ ช่วยให้นักเรียนรู้สึกสนุกกับความท้าทายในการเรียน ไม่ใช่
ท้อถอย)
(เรื่องเล่าในห้องเรียน)
“ป.1 ทาของเล่นในฤดูหนาว”
เรื่องเล่าในห้องเรียนที่จะหยิบยกขึ้นมาเล่าครั้งนี้ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในช่วง ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2562 ซึ่งหน่วยโครงงานบูรณาการของชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นั้น เป็นเรื่องของ “เที่ยวกิน เที่ยวเล่น
ในสวนป่ารุ่งอรุณ” ซึ่งเป็นการพาเด็กๆ หันกลับมามองเห็นสิ่งรอบตัว เข้าใจธรรมชาติ ปรับตัวในการใช้ชีวิตให้
เป็นปกติ พื้นที่ในการเรียนรู้จึงเริ่มจากสวนป่าในโรงเรียน ที่มีพืชพรรณ ต้นไม้หลากหลายชนิด เรียนรู้ผ่านการ
สารวจ สังเกต เที่ยวชม เที่ยวชิม ลิ้มลองพืชผักที่ไม่เคยลองมาก่อน สิ่งที่เด็กๆ ตื่นเต้นมากเลย คือ ใบมะขาม ที่
เขาไม่เคยคิดมาก่อนว่ามันกินได้และเมื่อได้ลองชิม ก็ยิ่งตื่นเต้นกับรสชาติที่ได้ คือมีความเปรี้ยวอยู่ในใบและ
รสชาติคล้ายมะขามที่เขาเคยทาน
การสารวจธรรมชาติในโรงเรียนนี้เองดาเนินไปควบคู่กับการสังเกตสภาพอากาศประจาวัน จะเป็นเป็น
พื้นที่ในการฝึกให้เด็กๆ ได้รับรู้โดยละเอียดกับความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ก็คือเรื่องของฤดูกาล
ที่ในแต่ฤดูกาลเองก็มีความแตกต่างกันในเรื่องของสิ่งแวดล้อม ลักษณะต้นไม้ อากาศ ท้องฟ้า และดิน ซึ่ง
ทั้งหมดนี้เป็นเรื่องที่ท้าทายสาหรับเด็กป.1 มาก ที่จะต้องคอยสังเกต และทาความเข้าใจธรรมชาติที่เกิดขึ้น รับรู้
มันให้เป็นเรื่องปกติธรรมดา ที่เขาจะต้องปรับตัวในการดาเนินชีวิตประจาวัน
เหตุการณ์ในห้องเรื่องที่จะเล่าให้ฟังครั้งนี้ เป็นคาบเรียนหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงฤดูหนาว ช่วงนั้นเด็กๆ
ได้เรียนรู้ธรรมชาติในฤดูฝนมาแล้ว เมื่อถึงฤดูหนาว สภาพสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป เปรียบเทียบกับฤดู
ฝนนั้นแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด เป็นสิ่งที่ยิ่งย้าเตือนให้เด็กๆ ได้ตระหนักถึงว่าการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยู่
2
ตลอดเวลา คราวนี้หน้าที่ต่อไปของครูจึงเกิดขึ้นว่า แล้วเราจะจัดการเรียนรู้อย่างไรต่อให้เด็กๆ ยิ่งได้เรียนรู้มาก
ขึ้นไปอีก จึงเกิดเป็นคาบเรียน
“ทาของเล่นในฤดูหนาว”
ซึ่งเป็นคาบเรียนที่มีเป้าหมายให้นักเรียนได้พิสูจน์ว่าลักษณะต้นไม้ในฤดูหนาวเปลี่ยนไปแล้ว นอกจากการ
มองเห็นด้วยตา การสัมผัสและลงมือทา เป็นอีกเครื่องมือสาคัญที่ทาให้การเรียนรู้ครั้งนี้เกิดขึ้นจากตัวเด็กๆ
เอง
การทาของเล่นในฤดูหนาว เริ่มต้นขึ้นด้วยการที่เด็กๆ ได้ไปสารวจธรรมชาติรอบโรงเรียนอีกครั้ง ทาให้
เห็นว่า ต้นไม้เริ่มมีใบไม่ร่วง กิ่งไม้ ใบไม้แห้ง บางต้นมีใบไม้ถึง 3 สี
สังเกตมาถึงพื้นดิน จะเห็นว่าดินแห้ง แตก ไม่เหมือนเดิม เด็กๆ จึงเห็นความเชื่อมโยงที่ว่า เมื่อน้าน้อยลง
ต้นไม้จึงต้องลดการใช้น้า ใบไม้จึ้งร่วง ความเข้าใจเหล่านี้ เด็กๆ ได้รู้ และเห็นมันโดยประจักษ์ ครูจึงให้โจทย์
ต่อว่า
“ให้นักเรียนประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุธรรมชาติ ที่ใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที”
ทุกคนต้องเลือกหาวัสดุจากธรรมชาติตามฤดูกาล (ฤดูหนาว) มาประดิษฐ์เป็นของเล่น จากการที่เด็กๆ ได้
สังเกตและเข้าใจธรรมชาติในฤดูหนาวแล้วว่า ลักษณะต้นไม้จะแห้ง ใบไม้ร่วง แห้ง กรอบ กิ่งไม้ร่วง ฉะนั้น
ในการเลือกหาวัสดุจากธรรมชาติจะพบ ใบไม้แห้ง กิ่งไม้แห้ง เป็นส่วนใหญ่ และในการนากิ่งไม้แห้งมาใช้ใน
ภาพใบไม้3 สี ที่นักเรียนถ่าย ภาพพื้นดินแห้งแตก
3
การประดิษฐ์ของเล่นจะต้องระวังเรื่องของความเปราะของกิ่งไม้ ฉะนั้น นักเรียนจะต้องเริ่มคิดและวางแผน
แล้วว่าในการประดิษฐ์ของเล่นที่วัสดุแห้ง เปราะ น้าหนักเบา จะประดิษฐ์เป็นอะไรได้บ้าง รวมถึงการ
วางแผน ออกแบบในการเลือกอุปกรณ์เสริมในการมัด รัด ติด วัสดุต่างๆ เช่น หนังยาง ไหมพรม เชือก หรือ
กาว ใช้อะไรจึงจะเหมาะสม
การเลือกวัสดุและการประดิษฐ์ของเล่นของนักเรียนดาเนินไปบนความเป็นห่วงของครูว่า เขาจะทาได้
ไหม ซึ่งท่าที ความนุกสนาน กระตือรือร้นในการหาของ ประดิษฐ์ของเล่นของเด็กๆ ในวันนั้น เป็นบทพิสูจน์
ที่ทาให้ครูรู้ว่า ในโลกของเด็กๆ ความท้าทายจากการทางาน จะดึงความคิดสร้างสรรค์ และการแก้ปัญหาของ
เขาออกมา และท้ายที่สุดแล้ว “เขาทาได้”
ยกตัวอย่างนักเรียนคนหนึ่งของห้อง ไจ่ปู่ (เด็กณเดชน์รัตนธรรมมาศ) ไจ่ปู่เป็นเด็กที่ชื่นชอบในการผูก
เชือก แกะเชือก เมื่อได้รับโจทย์ในการประดิษฐ์ของเล่น ไจ่ปู่สามารถเลือกและลงมือทาได้ด้วยตัวเอง เขาไม่มี
การลังเลใดๆ ทั้งสิ้น เขาเลือกที่จะนาความสามารถในการผูกเชือกของตนเองมาใช้ ขณะพันเชือก ใบหน้าของ
เขามีรอยยิ้มอยู่ตลอด และของเล่นที่ที่เขาเลือกทาก็คือ ปืน ที่สามารถเปลี่ยนเป็น ดาบได้
สิ่งสาคัญอีกหนึ่งอย่างที่ครูได้พบจากคาบเรียนนี้คือ การลงมือทาจากโจทย์ที่ท้าทาย นอกจากจะทา
ให้เด็กๆ ได้ดึงเอาความสามารถของตนเองออกมาแล้ว ยังเป็นพื้นที่แสดงออกถึงตัวตนของตนเอง เห็นได้จาก
ภาพขณะทาของเล่น ภาพ ปืน สามารถเปลี่ยนเป็น ดาบ
4
ของเล่นที่เด็กๆ ประดิษฐ์ มีพื้นฐานมาจากความชอบ ความสนใจส่วนตัวของเด็กๆ เอง เด็กผู้ชายมัก
ประดิษฐ์ของเล่นประเภท ปืน ดาบ ธนู ส่วนเด็กผู้หญิง จะเป็นธนู เรือ ของตกแต่งน่ารักๆ
เมื่อจบคาบเรียนเด็กๆ ได้เล่าถึงของเล่นที่ตัวเองประดิษฐ์ ทุกคนสามารถเล่าที่มาที่ไป ขั้นตอนการทา
ตั้งแต่เลือกวัสดุ บอกเทคนิกในการเลือกให้เพื่อนรู้ได้ เพราะในการทางานครั้งนี้มีการเรียนรู้ การแก้ปัญหาที่
เขาเกิดความรู้นั้นขึ้นมาด้วยตนเองแล้ว แม้บางคนจะมีข้อติดขัดบ้างในการใช้อุปกรณ์ รัดหนังยาง หรือมัดเชือก
ไม่ถนัด แต่เมื่อครูแนะนาวิธีการ และนักเรียนสามารถทาต่อได้ด้วยตนเอง นักเรียนเกิดความภูมิใจในผลงาน
ของตนเอง และแม้วัสดุที่เลือกมาจะเปราะมาก จนเล่นแล้วหัก แต่นักเรียนก็ได้เรียนรู้ว่า ครั้งต่อไปจะต้องเลือก
ไม้แบบไหน ของเล่นจึงจะแข็งแรงคงทนกับการเล่น ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นตัวอย่างของการเรียนรู้ด้วยตนเองที่
แท้จริง
ภาพ ขณะนักเรียนเตรียมของ และประดิษฐ์ของเล่น
5
ภาพ ตัวอย่างผลงานของนักเรียน
6
……………………………………..

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Pattie Pattie

Mehr von Pattie Pattie (20)

Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf
 
LifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptxLifeLongLearner.pptx
LifeLongLearner.pptx
 
Ravivan.pdf
Ravivan.pdfRavivan.pdf
Ravivan.pdf
 
Siriraj71.pdf
Siriraj71.pdfSiriraj71.pdf
Siriraj71.pdf
 
37Years_Sampran.pdf
37Years_Sampran.pdf37Years_Sampran.pdf
37Years_Sampran.pdf
 
High-education-vicharn.pptx
High-education-vicharn.pptxHigh-education-vicharn.pptx
High-education-vicharn.pptx
 
สอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdf
สอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdfสอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdf
สอนนาวาฝ่าวิกฤติให้เป็นสะเต็มและ SEEEM.pdf
 

Kru nitta

  • 1. 1 ครูนิษฐา มิ่งมงคลรัศมี สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1โรงเรียน รุ่งอรุณ บทที่ 3.ปูพื้นฐานสู่การ เรียนระดับสูง (หน้า 10) หัวข้อ ความท้าทาย (challenge) (เด็กมีธรรมชาติชอบความท้าทาย โดยความท้า ทายนั้นต้องพอดี ไม่ง่ายเกินไปจนน่าเบื่อ และไม่ยากเกินไปจนท้อถอย นักเรียนต้องได้รับโจทย์ที่ยากเป็น ครั้งคราว เพื่อฝึกให้เป็นคนสู้สิ่งยาก ไม่ท้อถอยง่ายๆ โดยครูเป็นผู้คอยหนุน ให้กาลังใจฟันฝ่าประสบการณ์ ที่ต้องเผชิญความยาก เมื่อครูเข้าไปหนุนไม่ให้ถอดใจ มีการฟันฝ่า สู้จนสาเร็จ จะกลายเป็นประสบการณ์ที่ มีคุณค่าในชีวิต ฝึกให้นักเรียนมีความมุ่งมั่นและมุมานะ ฉะนั้น หน้าที่หลักของครูในศตวรรษที่ 21 คือ ช่วยให้นักเรียนรู้สึกสนุกกับความท้าทายในการเรียน ไม่ใช่ ท้อถอย) (เรื่องเล่าในห้องเรียน) “ป.1 ทาของเล่นในฤดูหนาว” เรื่องเล่าในห้องเรียนที่จะหยิบยกขึ้นมาเล่าครั้งนี้ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในช่วง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ซึ่งหน่วยโครงงานบูรณาการของชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นั้น เป็นเรื่องของ “เที่ยวกิน เที่ยวเล่น ในสวนป่ารุ่งอรุณ” ซึ่งเป็นการพาเด็กๆ หันกลับมามองเห็นสิ่งรอบตัว เข้าใจธรรมชาติ ปรับตัวในการใช้ชีวิตให้ เป็นปกติ พื้นที่ในการเรียนรู้จึงเริ่มจากสวนป่าในโรงเรียน ที่มีพืชพรรณ ต้นไม้หลากหลายชนิด เรียนรู้ผ่านการ สารวจ สังเกต เที่ยวชม เที่ยวชิม ลิ้มลองพืชผักที่ไม่เคยลองมาก่อน สิ่งที่เด็กๆ ตื่นเต้นมากเลย คือ ใบมะขาม ที่ เขาไม่เคยคิดมาก่อนว่ามันกินได้และเมื่อได้ลองชิม ก็ยิ่งตื่นเต้นกับรสชาติที่ได้ คือมีความเปรี้ยวอยู่ในใบและ รสชาติคล้ายมะขามที่เขาเคยทาน การสารวจธรรมชาติในโรงเรียนนี้เองดาเนินไปควบคู่กับการสังเกตสภาพอากาศประจาวัน จะเป็นเป็น พื้นที่ในการฝึกให้เด็กๆ ได้รับรู้โดยละเอียดกับความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ก็คือเรื่องของฤดูกาล ที่ในแต่ฤดูกาลเองก็มีความแตกต่างกันในเรื่องของสิ่งแวดล้อม ลักษณะต้นไม้ อากาศ ท้องฟ้า และดิน ซึ่ง ทั้งหมดนี้เป็นเรื่องที่ท้าทายสาหรับเด็กป.1 มาก ที่จะต้องคอยสังเกต และทาความเข้าใจธรรมชาติที่เกิดขึ้น รับรู้ มันให้เป็นเรื่องปกติธรรมดา ที่เขาจะต้องปรับตัวในการดาเนินชีวิตประจาวัน เหตุการณ์ในห้องเรื่องที่จะเล่าให้ฟังครั้งนี้ เป็นคาบเรียนหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงฤดูหนาว ช่วงนั้นเด็กๆ ได้เรียนรู้ธรรมชาติในฤดูฝนมาแล้ว เมื่อถึงฤดูหนาว สภาพสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป เปรียบเทียบกับฤดู ฝนนั้นแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด เป็นสิ่งที่ยิ่งย้าเตือนให้เด็กๆ ได้ตระหนักถึงว่าการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยู่
  • 2. 2 ตลอดเวลา คราวนี้หน้าที่ต่อไปของครูจึงเกิดขึ้นว่า แล้วเราจะจัดการเรียนรู้อย่างไรต่อให้เด็กๆ ยิ่งได้เรียนรู้มาก ขึ้นไปอีก จึงเกิดเป็นคาบเรียน “ทาของเล่นในฤดูหนาว” ซึ่งเป็นคาบเรียนที่มีเป้าหมายให้นักเรียนได้พิสูจน์ว่าลักษณะต้นไม้ในฤดูหนาวเปลี่ยนไปแล้ว นอกจากการ มองเห็นด้วยตา การสัมผัสและลงมือทา เป็นอีกเครื่องมือสาคัญที่ทาให้การเรียนรู้ครั้งนี้เกิดขึ้นจากตัวเด็กๆ เอง การทาของเล่นในฤดูหนาว เริ่มต้นขึ้นด้วยการที่เด็กๆ ได้ไปสารวจธรรมชาติรอบโรงเรียนอีกครั้ง ทาให้ เห็นว่า ต้นไม้เริ่มมีใบไม่ร่วง กิ่งไม้ ใบไม้แห้ง บางต้นมีใบไม้ถึง 3 สี สังเกตมาถึงพื้นดิน จะเห็นว่าดินแห้ง แตก ไม่เหมือนเดิม เด็กๆ จึงเห็นความเชื่อมโยงที่ว่า เมื่อน้าน้อยลง ต้นไม้จึงต้องลดการใช้น้า ใบไม้จึ้งร่วง ความเข้าใจเหล่านี้ เด็กๆ ได้รู้ และเห็นมันโดยประจักษ์ ครูจึงให้โจทย์ ต่อว่า “ให้นักเรียนประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุธรรมชาติ ที่ใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที” ทุกคนต้องเลือกหาวัสดุจากธรรมชาติตามฤดูกาล (ฤดูหนาว) มาประดิษฐ์เป็นของเล่น จากการที่เด็กๆ ได้ สังเกตและเข้าใจธรรมชาติในฤดูหนาวแล้วว่า ลักษณะต้นไม้จะแห้ง ใบไม้ร่วง แห้ง กรอบ กิ่งไม้ร่วง ฉะนั้น ในการเลือกหาวัสดุจากธรรมชาติจะพบ ใบไม้แห้ง กิ่งไม้แห้ง เป็นส่วนใหญ่ และในการนากิ่งไม้แห้งมาใช้ใน ภาพใบไม้3 สี ที่นักเรียนถ่าย ภาพพื้นดินแห้งแตก
  • 3. 3 การประดิษฐ์ของเล่นจะต้องระวังเรื่องของความเปราะของกิ่งไม้ ฉะนั้น นักเรียนจะต้องเริ่มคิดและวางแผน แล้วว่าในการประดิษฐ์ของเล่นที่วัสดุแห้ง เปราะ น้าหนักเบา จะประดิษฐ์เป็นอะไรได้บ้าง รวมถึงการ วางแผน ออกแบบในการเลือกอุปกรณ์เสริมในการมัด รัด ติด วัสดุต่างๆ เช่น หนังยาง ไหมพรม เชือก หรือ กาว ใช้อะไรจึงจะเหมาะสม การเลือกวัสดุและการประดิษฐ์ของเล่นของนักเรียนดาเนินไปบนความเป็นห่วงของครูว่า เขาจะทาได้ ไหม ซึ่งท่าที ความนุกสนาน กระตือรือร้นในการหาของ ประดิษฐ์ของเล่นของเด็กๆ ในวันนั้น เป็นบทพิสูจน์ ที่ทาให้ครูรู้ว่า ในโลกของเด็กๆ ความท้าทายจากการทางาน จะดึงความคิดสร้างสรรค์ และการแก้ปัญหาของ เขาออกมา และท้ายที่สุดแล้ว “เขาทาได้” ยกตัวอย่างนักเรียนคนหนึ่งของห้อง ไจ่ปู่ (เด็กณเดชน์รัตนธรรมมาศ) ไจ่ปู่เป็นเด็กที่ชื่นชอบในการผูก เชือก แกะเชือก เมื่อได้รับโจทย์ในการประดิษฐ์ของเล่น ไจ่ปู่สามารถเลือกและลงมือทาได้ด้วยตัวเอง เขาไม่มี การลังเลใดๆ ทั้งสิ้น เขาเลือกที่จะนาความสามารถในการผูกเชือกของตนเองมาใช้ ขณะพันเชือก ใบหน้าของ เขามีรอยยิ้มอยู่ตลอด และของเล่นที่ที่เขาเลือกทาก็คือ ปืน ที่สามารถเปลี่ยนเป็น ดาบได้ สิ่งสาคัญอีกหนึ่งอย่างที่ครูได้พบจากคาบเรียนนี้คือ การลงมือทาจากโจทย์ที่ท้าทาย นอกจากจะทา ให้เด็กๆ ได้ดึงเอาความสามารถของตนเองออกมาแล้ว ยังเป็นพื้นที่แสดงออกถึงตัวตนของตนเอง เห็นได้จาก ภาพขณะทาของเล่น ภาพ ปืน สามารถเปลี่ยนเป็น ดาบ
  • 4. 4 ของเล่นที่เด็กๆ ประดิษฐ์ มีพื้นฐานมาจากความชอบ ความสนใจส่วนตัวของเด็กๆ เอง เด็กผู้ชายมัก ประดิษฐ์ของเล่นประเภท ปืน ดาบ ธนู ส่วนเด็กผู้หญิง จะเป็นธนู เรือ ของตกแต่งน่ารักๆ เมื่อจบคาบเรียนเด็กๆ ได้เล่าถึงของเล่นที่ตัวเองประดิษฐ์ ทุกคนสามารถเล่าที่มาที่ไป ขั้นตอนการทา ตั้งแต่เลือกวัสดุ บอกเทคนิกในการเลือกให้เพื่อนรู้ได้ เพราะในการทางานครั้งนี้มีการเรียนรู้ การแก้ปัญหาที่ เขาเกิดความรู้นั้นขึ้นมาด้วยตนเองแล้ว แม้บางคนจะมีข้อติดขัดบ้างในการใช้อุปกรณ์ รัดหนังยาง หรือมัดเชือก ไม่ถนัด แต่เมื่อครูแนะนาวิธีการ และนักเรียนสามารถทาต่อได้ด้วยตนเอง นักเรียนเกิดความภูมิใจในผลงาน ของตนเอง และแม้วัสดุที่เลือกมาจะเปราะมาก จนเล่นแล้วหัก แต่นักเรียนก็ได้เรียนรู้ว่า ครั้งต่อไปจะต้องเลือก ไม้แบบไหน ของเล่นจึงจะแข็งแรงคงทนกับการเล่น ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นตัวอย่างของการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ แท้จริง ภาพ ขณะนักเรียนเตรียมของ และประดิษฐ์ของเล่น