SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 79
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิจารณ์ พานิช
ในศตวรรษที่ ๒๑
บรรยายในโครงการพัฒนาอาจารย์สาหรับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม ๕ มกราคม ๒๕๖๑
ข้อจำกัด
• ไม่ได้เรียนมาด้านการศึกษา ไม่มีพื้นความรู้
• ไม่ได้ปฏิบัติ
• มีข้อจากัดในการตีความให้ถูกต้อง ลุ่มลึก
• พึงฟังด้วยกาลามสูตร
• พึงใช้วิจารณญาณก่อนเชื่อ
ประเด็นนำเสนอ
• ศตวรรษที่ ๒๑ แตกต่างอย่างไร.
• เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• “ชาลา” (platform) การเรียนรู้ให้บรรลุ 21st Century Learning
• การจัดการเรียนรู้ที่โรงเรียน
• เพื่อบรรลุ mastery & transformative learning
• การจัดการเรียนรู้นอกโรงเรียน.
• การฝึกหัดครูแห่งศตวรรษที่ ๒๑
•สรุป
ประเด็นนำเสนอ
• ศตวรรษที่ ๒๑ แตกต่างอย่างไร.
• เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• “ชาลา” (platform) การเรียนรู้ให้บรรลุ 21st Century Learning
• การจัดการเรียนรู้ที่โรงเรียน
• เพื่อบรรลุ mastery & transformative learning
• การจัดการเรียนรู้นอกโรงเรียน.
• การฝึกหัดครูแห่งศตวรรษที่ ๒๑
•สรุป
ลักษณะของศตวรรษที่ ๒๑ : VUCA
• V = Volatile เปลี่ยนแปลงรุนแรง เร็ว
• U = Uncertain ไม่แน่นอน
• C = Complex. ซับซ้อน
• A = Ambiguous กากวม ไม่ชัดเจน
และมีเทคโนโลยีช่วยการเรียนรู้ที่ทรงประสิทธิภาพขึ้นเรื่อยๆ
ประเด็นนำเสนอ
• ศตวรรษที่ ๒๑ แตกต่างอย่างไร.
• เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• “ชาลา” (platform) การเรียนรู้ให้บรรลุ 21st Century Learning
• การจัดการเรียนรู้ที่โรงเรียน
• เพื่อบรรลุ mastery & transformative learning
• การจัดการเรียนรู้นอกโรงเรียน.
• การฝึกหัดครูแห่งศตวรรษที่ ๒๑
•สรุป
เรียนเพื่อพัฒนาแบบบูรณาการ
•มีความรู้ (Literacy) : อ่านออกเขียนได้, คิดเลขเป็น, รู้
ธรรมชาติ, รู้ ICT, รู้การเงิน, รู้วัฒนธรรมและความเป็นพลเมือง, รู้
เรื่องสุขภาพ
•มีสมรรถนะ (Competency) : วิจารณญาณ, สร้างสรรค์,
สื่อสาร, ร่วมมือ
•มีบุคลิก/คุณลักษณะ (Character) : ใคร่รู้ ริเริ่ม มานะ
อดทน ปรับตัว ภาวะผู้นา สังคมวัฒนธรรม
•เรียนรู้ตลอดชีวิต (Learning Skils / Affinity)
โลกประจาวัน
โลกซับซ้อน
โลกเปลี่ยนแปลง
http://www3.weforum.org/docs/WEFUSA_NewVisionforEducation_Report2015.pdf
WEF
21st Century Education
• เรียนให้ได้ทักษะ ๔ หมวด ๑๗ ตัว
• เพื่อมีชีวิตที่ดีในยุค VUCA
V = Volatile
U = Uncertain
C = Complex
A = Ambiguous
ลักษณะนิสัย - Executive Function (EF)
ความมุมานะ (เชื่อพรแสวง - Growth Mindset) ความใฝ่รู้
อดทนรอเพื่อสิ่งที่ดีกว่า การควบคุมตนเอง มีวินัย
ในตนเอง สานึกผิดชอบชั่วดี ความรับผิดชอบ
ความมั่นคงทางอารมณ์ ความมั่นใจในตนเอง (self-
esteem) ความขยันหมั่นเพียร ความกระตือรือร้น
เห็นอกเห็นใจผู้อื่น (empathy)
Non-cognitive Development
Characters
สาคัญต่อความสาเร็จในชีวิตยิ่งกว่าความรู้
http://developingchild.harvard.edu/science/key-concepts/executive-function/
สร้างความเชื่อในพรแสวง (Growth Mindset)
ชมความมานะพยายาม
ไม่ชมความเก่ง (Fixed Mindset)
ให้คะแนนความก้าวหน้า
ความมานะพยายาม
เก่งไม่พอ ต้องปรับปรุงตัวเองเป็น
Growth Mindset
Grit
ความมุมานะต่อเนื่องเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ในระยะยาว
• Passion
• Perseverance
Peak
Absolute Pitch
•สมรรถนะ (competence)
•จัดการอารมณ์ (emotion management)
•เป็นตัวของตัวเอง และร่วมกับผู้อื่น (autonomy & interdependence)
•ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น (interpersonal relationship)
•อัตลักษณ์ (identity)
•เป้าหมายในชีวิต (purpose)
•มั่นคงในคุณธรรม (integity) ไม่เบี้ยว ไม่โกง ไม่ผักชีโรยหน้า ไม่จ่ายสินบน
การพัฒนาตัวตน ๗ ด้าน ของ Chickering
for Identity Development
รู้
เข้าใจ
นาไปใช้
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ประเมิน/เปรียบเทียบ
เปลี่ยนวิธีเรียนรู้
เปลี่ยนกระบวนทัศน์/ตัวตนTransformative Learning
การเรียนรู้ ๘ ระดับ
Modified Bloom’s Taxonomy of Learning
เรียนให้บรรลุ
•Transformative Learning
Informative -> Formative -> Transformative
Leadership / Change Agent
•Mastery Learning
•Learning Skills
Learn, Unlearn, Relearn
•มนุษย์ระดับ ๖
Moral Develoment of Lawrence Kohlberg
บันได ๖ ขั้นของการพัฒนาคุณธรรม
• ขั้นที่ ๑ ปฏิบัติเพราะความกลัว ไม่อยากเดือดร้อน
• ขั้นที่ ๒ ปฏิบัติเพราะอยากได้รางวัล
• ขั้นที่ ๓ ปฏิบัติเพราะอยากเอาใจคนบางคน
• ขั้นที่ ๔ ปฏิบัติเพราะต้องปฏิบัติตามกฎ
• ขั้นที่ ๕ ปฏิบัติเพราะต้องการให้ตนดูดี ให้ได้ชื่อว่าเป็นคนดี ให้ได้ชื่อว่ามีน้าใจ
• ขั้นที่ ๖ ปฏิบัติตามหลักการ หรืออุดมการณ์ของตน ไม่ต้องการให้มีคนยกย่องชมเชยหรือให้รางวัล
Lawrence Kohlberg's stages of moral development
เป้าหมายผลลัพธ์การเรียนรู้
•คิดตามแบบแผน
•มีความรู้ตามที่รับถ่ายทอด
•รู้วิชา สอบได้คะแนนดี
ตามหลักสูตร
•Informative learning
• มีความคิดของตนเอง
• มีความรู้ตามที่ตนปฏิบัติ
และสะท้อนคิด
• มีทักษะแห่งศตวรรษที่
๒๑
• Transformative learning
20 21ศตวรรษที่
การเรียนรู้พหุมิตินี้
• ทาได้ไม่ยาก
• หากเข้าใจว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
ประเด็นนำเสนอ
• ศตวรรษที่ ๒๑ แตกต่างอย่างไร.
• เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• “ชาลา” (platform) การเรียนรู้ให้บรรลุ 21st Century Learning
• การจัดการเรียนรู้ที่โรงเรียน
• เพื่อบรรลุ mastery & transformative learning
• การจัดการเรียนรู้นอกโรงเรียน.
• การฝึกหัดครูแห่งศตวรรษที่ ๒๑
•สรุป
https://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/5462
การเรียนรู้
•การเรียนรู้เป็นผลของการกระทาและการคิดของ
นักเรียน
•เกิดจากการกระทาและการคิดของนักเรียนเอง
เท่านั้น
•ครูช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยเข้าไปจัดการ
สิ่งที่นักเรียนทา (ปฏิบัติ และคิด) เพื่อการเรียนรู้
Herbert A. Simon
https://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/5462
การเรียนรู้ไม่ได้เกิดจากการถ่ายทอดความรู้สาเร็จรูป
ค. สาเร็จรูป
ถ่ายทอดแบบกลไก
งอกงามขึ้นเอง
ภายในตน
จากการทาและคิด
ของตน
หลัก Cognitive Science
ถามคือสอน สะท้อนคิด(reflect)คือเรียนรู้
เหตุการณ์ ความจาใช้งาน
ความจาระยะยาว
ตระหนักรู้ และคิด
รู้ข้อเท็จจริงและกระบวนการ
เรียนรู้ จา
สังเกต เก็บข้อมูล
ลืม
Ref.: Daniel T. Willingham. Why Don’t Students Like School?, 2009
Working
Memory
Longterm
Memory
Adult Learning
Observation &
Reflection
Forming Abstract
Concepts
Testing in New
Situations
Concrete
Experience
1
2
3
4
Student Learning = AL + Scaffolding
ไม่สามารถบรรลุได้
โดยการถ่ายทอด
ความรู้สาเร็จรูป
กำรพัฒนำคนทั้งคน
เพื่อสร้ำงพลเมืองแห่งศตวรรษที่ ๒๑
ประเด็นนำเสนอ
• ศตวรรษที่ ๒๑ แตกต่างอย่างไร.
• เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• “ชาลา” (platform) การเรียนรู้ให้บรรลุ 21st Century Learning
• การจัดการเรียนรู้ที่โรงเรียน
• เพื่อบรรลุ mastery & transformative learning
• การจัดการเรียนรู้นอกโรงเรียน.
• การฝึกหัดครูแห่งศตวรรษที่ ๒๑
•สรุป
Constructionism นิรนัย
อุปนัย
วิถีการเรียนรู้ใหม่
•เรียนโดยลงมือทา เพื่อให้เกิดทักษะ (Learning by Doing)
•สุดยอดทักษะ ๔ ประการ (๓ร ๑ว) : แรงบันดาลใจ/ไฟ
(Inspiration Skills) เรียนรู้ (Learning Skills) ร่วมมือ
(Collaboration Skills) วินัย (ในตน) (Self-Discipline Skills)
•เรียนโดยการลงมือทาเป็นทีม แล้วร่วมกันไตร่ตรองสะท้อนคิด
(Reflection) ว่าได้เรียนรู้อะไร ต้องการเรียนอะไรต่อ/เพิ่ม
ไม่เน้นสอนให้ครบตามหลักสูตร
• หลักสูตรมาตรฐานมักเน้นความ
ครอบคลุมระบุเนื้อหามากเกินไป
• ครูต้องร่วมกันกาหนดสาระส่วนที่
จาเป็นต้องสอน(สาหรับนักเรียนกลุ่มนั้น)
เพื่อให้นร. เรียนรู้พัฒนา ๔ ด้าน
• แล้วกาหนด สเกลความเข้าใจ สาหรับ
ใช้สื่อสารเป้าหมายการเรียนรู้แก่ นร.
https://www.gotoknow.org/posts/tags/ศาสตร์และศิลป์ของการสอน
สอนแบบโฟกัสเป้าหมาย
เน้นให้ครูและนักเรียนรู้เป้าชัด
สอนแบบโฟกัสเป้าหมาย
ด้วยเครื่องมือ
สเกลความเข้าใจ
Proficiency Scale
https://www.gotoknow.org/posts/643523
ตีควำม OLE เสียใหม่
Objective 
Evaluation 
Learning Experience 
Evaluation
ตีควำม OLE เสียใหม่
Objective 
Evaluation 
Learning Experience 
Evaluation
มีขั้นตอนดาเนินการเพื่อให้นร. เป็นเจ้าของกระบวนการ OELE
ห้องเรียนกลับทาง
•Flip the Classroom กลับทาง
ห้องเรียน
•เรียนวิชาที่บ้าน ทา “การบ้าน”
ที่ห้องเรียน
•ครูเครื่องสอนวิชา ครูคนสอน
คน/ปัญญา
•ใช้ห้องเรียนเพื่อการเรียนแบบรู้
จริง (Mastery Learning)
http://www.scbfoundation.com/projects/wcms/docs/uploads/doc_13727357101058185889.pdf
ประเด็นนำเสนอ
• ศตวรรษที่ ๒๑ แตกต่างอย่างไร.
• เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• “ชาลา” (platform) การเรียนรู้ให้บรรลุ 21st Century Learning
• การจัดการเรียนรู้ที่โรงเรียน
• เพื่อบรรลุ mastery & transformative learning
• การจัดการเรียนรู้นอกโรงเรียน.
• การฝึกหัดครูแห่งศตวรรษที่ ๒๑
•สรุป
กำรเรียนรู้ที่โรงเรียนมี ๒ ส่วน
• การเรียนในห้องเรียน / ตามหลักสูตร - Formal Learning …
1/3
• การเรียนรู้นอกห้องเรียน - Independent Learning … 2/3
Formal Learning
• ครูทา scaffolding & facilitation
• นักเรียนทากิจกรรมเพื่อเรียน
• เริ่มจากการตั้งเป้า
• มีส่วนเรียนเป็นทีม
• มีการประเมินตนเอง และประเมินกันเอง นาไปสู่ความเข้าใจ
cognitive process – metacognition และปรับวิธีเรียนรู้ของ
ตนได้
เพื่อช่วยการเรียนรู้
วิธีการไม่ยาก
โรงเรียนนอกกระลา
ลาปลายมาศพัฒนา sQiP
Independent Learning
• ฝึกเป็นตัวของตัวเอง
• ฝึกปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับเพื่อนๆ
• ได้รู้จักตนเอง รู้สิ่งที่ตนชอบ/ถนัด
• พัฒนา 7 vectors of identity development.
• ฝึกจินตนาการ และการเรียนรู้จากการลงมือทา ตามด้วยการ
ไตร่ตรองสะท้อนคิด.
2/3
ประเด็นนำเสนอ
• ศตวรรษที่ ๒๑ แตกต่างอย่างไร.
• เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• “ชาลา” (platform) การเรียนรู้ให้บรรลุ 21st Century Learning
• การจัดการเรียนรู้ที่โรงเรียน
• เพื่อบรรลุ mastery & transformative learning
• การจัดการเรียนรู้นอกโรงเรียน.
• การฝึกหัดครูแห่งศตวรรษที่ ๒๑
•สรุป
ครูทาอะไรให้แก่ศิษย์
• Inspirator กระตุ้นแรงบันดาลใจ
• Designer ออกแบบกิจกรรม และ “นั่งร้าน” (Scaffold)
• Facilitator โดยตั้งคาถาม ชวนคิด
• Assessor (Formative Assessment) ประเมินเพื่อพัฒนา
• Constructive Feedback ให้คิดไปข้างหน้า มุมานะ GrowthMindset
• Summative Evaluation ยืนยันว่าบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้
ครูทาอะไรให้แก่ตน
• Inspirator
• Designer ออกแบบกิจกรรม และ “นั่งร้าน” (Scaffold)
• Facilitator โดยตั้งคาถาม ชวนคิด
• Assessor (Formative Assessment) ประเมินเพื่อพัฒนา
• Constructive Feedback ให้คิดไปข้างหน้า มุมานะ
• Summative Evaluation ยืนยันว่าบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้
ทาสิ่งเดียวกันให้แก่ตนเอง และแก่เพื่อนครู
ชีวิตครู คือชีวิต(แห่งการเดินทาง)เพื่อการเรียนรู้
ครูต้องเข้าใจและพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตน
ฝึกคิด/เรียนระดับสูง (Higher Order Thinking/Learning)
• สร้าง (Create)
• เปลี่ยนใจ (Mindset Change) …
Transformative Learning
• รู้ (Know)
• เข้าใจ (Understand)
• ประยุกต์ (Apply)
• วิเคราะห์ (Analyze)
• สังเคราะห์ (Synthesize)
• ประเมิน (Evaluate)
ครูฝึกวิธี facilitate ให้ศิษย์ฝึก/เรียนรู้
โดยการตั้งคาถาม/โจทย์ให้ศิษย์ลงมือทา คิด
และประเมิน
ประเมินขณะสอน(แบบไม่สอน)
•ประเมินเพื่อหนุนการเรียนรู้ (Formative
Assessment)
•ตามด้วยคาแนะนาป้อนกลับแบบ
สร้างสรรค์(Constructive Feedback)
•แล้วจึงประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้
(Summative Evaluation) เพื่อยืนยันว่าบรรลุเป้าหมาย
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Dylan_Wiliam
5 คำถำมหลักในกำรออกแบบกำรเรียนรู้
• ต้องกำรให้ นร. ได้ทักษะ และ ค. ที่จำเป็นอะไรบ้ำง (ตรวจสอบเอกสำรหลักสูตร
หนังสือทักษะแห่งอนำคตใหม่ ฯลฯ)่่
• จัดกำรเรียนรู้อย่ำงไรให้ได้ทักษะเหล่ำนั้น
• รู้ได้อย่ำงไรว่ำได้
• ทำอย่ำงไร กับ นร. บำงคนที่ไม่ได้
• ทำอย่ำงไรกับ นร.บำงคนที่เรียนเก่งก้ำวหน้ำไปแล้ว
•Prior Knowledge
•K Organization
•Motivation
•Develop Mastery
•Practice & Feedback
•Student Development
& Climate
•Self-directed Learner
http://www.scbfoundation.com/news_publish_detail.php?cat_id=6&nid=880
ครูในศตวรรษที่ ๒๑ มีคุณค่ามากกว่าครูในศตวรรษที่ ๒๐
•สอน สั่งสอน
•ถ่ายทอดความรู้
•รู้ผิวเผิน
•สอนวิชา
•รู้วิชา
•ผู้รู้
•รอบรู้วิชา
• ฝึก/โค้ช/อานวย
• อานวยการสร้าง
• รู้จริง (mastery)
• พัฒนาครบด้าน
• มีทักษะ
• ผู้เรียนรู้ (PLC)
• กากับการเรียนรู้ของตน
20 21
ประเด็นนำเสนอ
• ศตวรรษที่ ๒๑ แตกต่างอย่างไร.
• เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• “ชาลา” (platform) การเรียนรู้ให้บรรลุ 21st Century Learning
• การจัดการเรียนรู้ที่โรงเรียน
• เพื่อบรรลุ mastery & transformative learning
• การจัดการเรียนรู้นอกโรงเรียน.
• การฝึกหัดครูแห่งศตวรรษที่ ๒๑
•สรุป
พื้นที่ 2/3 เพื่อกำรเรียนรู้ของเยำวชน
• พื้นที่เพื่อการเรียนรู้อิสระ ตามความสนใจ
= เล่น
• เรียนแบบมีความสุข
• self-directed learning
• เกิดการพัฒนา 7 vectors of identity
development
https://www.gotoknow.org/posts/635072
พื้นที่ 2/3 เพื่อกำรเรียนรู้ของเยำวชน
• อยู่ทั้งในโรงเรียน
• และนอกโรงเรียน
• มีการจัดการ และลงทุน ให้เกิด
independent learning
• ประเทศไทยมีพื้นที่มอมเมาเอาประโยชน์
จากเด็ก พื้นที่อบาย พื้นที่แห่งความเสื่อม
https://www.gotoknow.org/posts/635072
ประเด็นนำเสนอ
• ศตวรรษที่ ๒๑ แตกต่างอย่างไร.
• เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• “ชาลา” (platform) การเรียนรู้ให้บรรลุ 21st Century Learning
• การจัดการเรียนรู้ที่โรงเรียน
• เพื่อบรรลุ mastery & transformative learning
• การจัดการเรียนรู้นอกโรงเรียน.
• การฝึกหัดครูแห่งศตวรรษที่ ๒๑
•สรุป
ผู้บริหารสถานศึกษาและครู มีเป้าหมายอะไร
•ผลลัพธ์สุดท้ายของโรงเรียน ... ผลลัพธ์
การเรียนรู้ของนักเรียน
•บรรยากาศ สภาพแวดล้อมของโรงเรียน
ด้านสังคม วัฒนธรรม ปฏิสัมพันธ์ กายภาพ เป็นพื้นที่ปลอดภัย
เอื้อต่อการเรียนรู้
•การเรียนรู้ ของนักเรียน ครู และตัวผู้บริหารเอง ร่วมกับ
ครอบครัว ชุมชน เขตการศึกษา
ทา/ไม่ทา อะไรบ้าง
•ชวนครู, กก. รร., ตัวแทน ผปค. ร่วมกันเขียนเป้าหมายการเรียนรู้ของนักเรียน
ครู และ ฯลฯ
•ชวนครู และภาคีของโรงเรียน ร่วมกันกาหนดบรรยากาศและ
สภาพแวดล้อมของโรงเรียน (และชุมชน) ด้าน สังคม วัฒนธรรม และ
กายภาพ เพื่อให้เป็นสถานที่ปลอดภัยในการเรียนรู้ของนักเรียน
ผู้บริหารสถานศึกษาและครู
•https://www.gotoknow.org/posts/tags/ศาสตร์และ
ศิลป์ของการสอน
•ชวนครูจัดทารายการ “ความรู้ที่จาเป็นต้องสอน” จาก
หลักสูตรมาตรฐาน
•แล้วนามาช่วยกันจัดทา proficiency scale ของแต่ละ
ชิ้นความรู้ (https://www.gotoknow.org/posts/628245)
ผู้บริหารสถานศึกษาและครู
บริหารผลลัพธ์การเรียนรู้ของ นร. อย่างไร
•เข้าสังเกตการณ์ชั้นเรียนเอง
•จัดระบบ peer classroom observation & feedback
•จัดหา VDO บันทึกสภาพ นร. ในชั้นเรียน สาหรับครู
นาไปใช้feedback ตนเอง และ feedback ซึ่งกันและ
กัน
ผู้บริหารสถานศึกษา
บริหารการเรียนรู้เพื่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของ นร. อย่างไร
•บริหาร high expectation & high support
(https://www.gotoknow.org/posts/619876) หนังสือ ครูนอกกรอบกับห้องเรียน
นอกแบบ
•บริหารให้ผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียนทุกคนผ่าน
เกณฑ์ทุกหน่วยเรียนรู้ (เอาใจใส่ นร. เป็นรายคน)
•บริหารผลลัพธ์การเรียนรู้แบบ whole person
development
•ฯลฯ
ผู้บริหารสถานศึกษาและครู
บริหารการเรียนรู้เพื่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของ นร. อย่างไร
ต้องการ A.S.K. อะไรบ้าง
• A = Attitude
• S = Skills
• K = Knowledge
ผู้บริหารโรงเรียนและครู
พัฒนาจากการปฏิบัติงานประจาวันได้อย่างไร
สร้าง/พัฒนา A.S.K.
• สร้าง/พัฒนา จากการปฏิบัติงานได้อย่างไร
ของผู้บริหารสถานศึกษาและครูอย่างไร
คาตอบ เรียนรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติ
… KM
ร่วมกันกับ ?
ความรู้(ASK) ที่ต้องการในโรงเรียน
• ด้านผลลัพธ์การเรียนรู้ (outcome) ในศตวรรษที่ ๒๑
• ด้านการจัดการเรียนรู้ (process) และวัดผล
• ด้านสาระ (content)
• ด้านการจัดการ (management) เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมและ
บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ทั้งในโรงเรียน ในครอบครัว และในชุมชนโดยรอบ
คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์เอื้อให้มีได้อย่างไร
ปฏิบัติ
เก็บข้อมูล
reflect
ความรู้ใหม่
ตั้งเป้า
วำงแผน
แยกกัน
ร่วมกันร่วมกัน
วงจร KM / PLC ครู และ ผู้บริหาร
เป้า LO
และ/หรือเป้าเทคนิค
ร่วมกัน
วงจร KM / PLC ครู
ผลลัพธ์ที่ได้
• LO ของ นร. / การฝึกเทคนิคของครู
• ความรู้ปฏิบัติ (practical knowledge)
• บรรยากาศการทางานเป็นทีม
• ทักษะการเรียนรู้จากการปฏิบัติ … lifelong learning
ผลิตครูแนวใหม่
• ที่มี A. S. K. ตามข้างต้น
• มี Classroom Skills ข้างต้น
• มี Learning Skills & Attitude ข้างต้น
• มี “วิญญาณครู” ... ครูเพื่อศิษย์
ประเด็นนำเสนอ
• ศตวรรษที่ ๒๑ แตกต่างอย่างไร.
• เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร
• “ชาลา” (platform) การเรียนรู้ให้บรรลุ 21st Century Learning
• การจัดการเรียนรู้ที่โรงเรียน
• เพื่อบรรลุ mastery & transformative learning
• การจัดการเรียนรู้นอกโรงเรียน.
• การฝึกหัดครูแห่งศตวรรษที่ ๒๑
•สรุป
สรุป การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
• ให้ได้สมรรถนะที่ซับซ้อน -- 21st Century Skills และพัฒนาตัวตน
• มีทักษะ & ฉันทะเรียนรู้ตลอดชีวิต เรียนรู้จากการปฏิบัติ
• จัดการทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ให้มีพื้นที่สาหรับ self-
directed learning ป้องกัน/ขจัด พื้นที่อบายมุข
• เรียนรู้จากการปฏิบัติ (action) ตามด้วยการไตร่ตรองสะท้อนคิด
(reflection) ทั้งใน นร., ครู, ผู้บริหาร
• เรียนรู้วิธีประเมินผลตนเอง เพื่อนาไปสู่การพัฒนาวิธีเรียน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-firstการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-firstPattie Pattie
 
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastPattie Pattie
 
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003Pattie Pattie
 
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 211การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21krupornpana55
 
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224Pattie Pattie
 

Was ist angesagt? (7)

การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-firstการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
 
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
 
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
 
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 211การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
Role teacher two
Role teacher twoRole teacher two
Role teacher two
 
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
 
Ku 620507
Ku 620507Ku 620507
Ku 620507
 

Ähnlich wie การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105

เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐Pattie Pattie
 
Professional learningcomm knit_610323
Professional learningcomm knit_610323Professional learningcomm knit_610323
Professional learningcomm knit_610323Pattie Pattie
 
การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716Pattie Pattie
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21Wiriyah Ruechaipanit
 
การพัฒนาผู้เรียนPart two
การพัฒนาผู้เรียนPart twoการพัฒนาผู้เรียนPart two
การพัฒนาผู้เรียนPart twoPattie Pattie
 
Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602Pattie Pattie
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 

Ähnlich wie การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105 (20)

Ubon u 620215
Ubon u 620215Ubon u 620215
Ubon u 620215
 
Todsalak610802
Todsalak610802Todsalak610802
Todsalak610802
 
Educate21 2
Educate21 2Educate21 2
Educate21 2
 
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
 
Professional learningcomm knit_610323
Professional learningcomm knit_610323Professional learningcomm knit_610323
Professional learningcomm knit_610323
 
การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716
 
Develop school
Develop schoolDevelop school
Develop school
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
Roongarun
RoongarunRoongarun
Roongarun
 
Rung aroon
Rung aroonRung aroon
Rung aroon
 
21 Century skills
21 Century skills 21 Century skills
21 Century skills
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
Thai edu21n4
Thai edu21n4Thai edu21n4
Thai edu21n4
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
High education21
High education21High education21
High education21
 
การพัฒนาผู้เรียนPart two
การพัฒนาผู้เรียนPart twoการพัฒนาผู้เรียนPart two
การพัฒนาผู้เรียนPart two
 
Thai edu21n2
Thai edu21n2Thai edu21n2
Thai edu21n2
 
Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 

Mehr von Pattie Pattie

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศPattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 

Mehr von Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105

Hinweis der Redaktion

  1. Chickering’s 7 vectors
  2. รู้จำ เข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน/เปรียบเทียบ เปลี่ยนวิธีเรียน เปลี่ยนอัตตาตัวตน / กระบวนทัศน์