SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 48
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
วิจารณ์ พานิช
ในศตวรรษที่ ๒๑
บรรยายในกาหนดการการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์วิจัยครั้งที่ 1 “การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคม
อาเซียน: ทิศทางใหม่ในศตวรรษที่ 21” ประจาปี พ.ศ.2559 วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (เขตพื้นที่ใน
เมือง)
การศึกษากับท้องถิ่น
• ทั้งอุดมศึกษา และการศึกษาขั้นพื้นฐาน
• มีชีวิตจริงในท้องถิ่น/ชุมชน เป็น เครื่องมือ (means) เพื่อ
บรรลุเป้าหมาย และเป็น เป้าหมาย (end)
• ท้องถิ่นพัฒนาเป็นเป้าหมายของการศึกษาเช่นเดียวกับ
ปัจเจกพัฒนา (นร., พ่อแม่, ครู, คนในท้องถิ่น)
ในศตวรรษที่ ๒๑
กระบวนทัศน์ใหม่
การศึกษากับท้องถิ่น
• มองเป้าหมายที่กว้าง
• มองไปในอนาคต
• มองว่าศตวรรษที่ ๒๑ สังคมเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว การเรียนรู้/
การศึกษา ต้องเปลี่ยน เพราะเป้าหมายการศึกษาต้องเปลี่ยน
• นิยาม “ความรู้” ใหม่ ให้คุณค่าความรู้ที่มาจากการปฏิบัติ
• มองการเรียนเป็น “การจัดการความรู้” (Knowledge Management)
ในศตวรรษที่ ๒๑
กระบวนทัศน์ใหม่
การเรียนรู้เป็นการเตรียมคน
ไปใช้ชีวิตในอนาคต
ที่ไม่รู้ว่าจะเป็นอย่างไร
การเรียนรู้ กับ การสอน เป็นคนละสิ่ง
อาจมีการเรียนรู้ได้ โดยไม่ต้องมีการสอน
ที่ครูสอน (แบบถ่ายทอดความรู้) ส่วนใหญ่ศิษย์ไม่ได้เรียนรู้
ที่ครูสอน (แบบถ่ายทอดความรู้) ส่วนใหญ่ศิษย์เรียนรู้แบบผิวเผิน
ในศตวรรษที่ ๒๑ สถานศึกษาเป็นที่
• สร้างแรงบันดาลใจ
• สร้างความริเริ่มสร้างสรรค์ original ideas
• สร้างเจตคติที่ดี
• สร้างโอกาสมีชีวิตที่ดี มีสัมมาชีพ เป็นพลเมืองดี
• สร้างความเป็นผู้นา (การเปลี่ยนแปลง)
• พัฒนามนุษย์ให้เต็มศักยภาพ (full potential)
ผลลัพธ์การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
• ความรู้ ... รู้วิชา
• ทักษะ ... ปฏิบัติได้
• นิสัย (Non-Cognitive Development) + อุดมคติแห่งวิชาชีพ
• ใจสู้ (Growth Mindset) เชื่อในพรแสวง
• คุณธรรม
เป้ าหมายการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑
• เรียนให้ได้(ความรู้และ) ทักษะ และ อุปนิสัย เพื่อชีวิตที่
เปลี่ยนแปลง เรียนให้รู้จริง (mastery learning) เป็นฐานที่มั่นคงใน
การต่อยอด เรียนเพื่ออนาคตของตนเอง ไม่ใช่เรียนเพื่อสอบ
• เรียนโดยลงมือทา และคิด ทั้งในห้องเรียน และในสภาพจริง
• ครูไม่สอนความรู้สาเร็จรูป ทาหน้าที่ออกแบบโจทย์(ปฏิบัติ) ตั้ง
คาถาม เอื้ออานวย (facilitate) หรือโค้ช ประเมิน (formative
assessment) และให้คาแนะนาป้อนกลับ (feedback)
• สอนน้อย เรียนรู้มาก (Teach less, Learn more)
เป้ าหมาย (๒)
ไม่ใช่แค่รู้วิชา แต่เพื่อพัฒนาการหลายด้านไปพร้อมๆ
กัน
• สมรรถนะ (competence)
• จัดการอารมณ์ (emotion management)
• เป็นตัวของตัวเอง และร่วมกับผู้อื่น (autonomy & interdependence)
• ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น (interpersonalrelationship)
• อัตลักษณ์ (identity)
• พัฒนาเป้าหมายในชีวิต (purpose)
• มั่นคงในคุณธรรม (integity)
Chickering’s Seven Vectors of
Identity Development
เป้ าหมาย (๓)
• ศิษย์ทั้งชั้นบรรลุสภาพ “รู้จริง” (Mastery Learning) ไม่ใช่เฉพาะเด็กเรียนเก่ง
• เรียนวิธีเรียน (Metacognition) เพื่อเรียนรู้ตลอดชีวิต
• เรียนให้บรรลุ Transformative Learning เรียนรู้สู่การ
เปลี่ยนแปลง งอกงามความเป็น “ผู้นาการเปลี่ยนแปลง”
(Change Agent)
การศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑
• สร้างคนทางานตาม
รูปแบบ Content
• เน้นเนื้อหา ตอบคาถาม
• สถานศึกษาเพื่อ
ถ่ายทอดความรู้
• สร้างคนทางานสร้าง
สรรค์แตกต่าง Creativity
• เน้น inquiry ตั้งคาถาม
• สถานศึกษาเพื่อ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
เรียนรู้จากการปฏิบัติ Action + Reflection
20 21
การศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑
• เพื่อความรู้
• เพื่อความรู้
• ความรู้เป็นสัจจะ Constant
• เรียนจากการสอน Learning from
Teaching
• เรียนจากโรงเรียน มหาฯ
• เพื่อฝึกทักษะการเรียนรู้
• เพื่อพัฒนารอบด้าน
• ความรู้เลื่อนไหล Dynamic
• เรียนจากการทา Learning by
Doing (and Reflecting)
• เรียนจากที่ทางาน
20 21
ลักษณะของศตวรรษที่ ๒๑
• ความรู้ และทุกสิ่งทุกอย่าง เปลี่ยนเร็ว และไม่
แน่นอน
• ความเข้าใจ กลไกการเรียนรู้/กลไกสมอง เปลี่ยน
• ตัวช่วย / ตัวขัดขวาง (ICT) เปลี่ยน
• เด็กเปลี่ยน
• สังคม/โลกเปลี่ยน
• เป้าหมายของการเรียนรู้เปลี่ยน
Root Cause
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑
• ก้าวข้าม ความรู้ สู่ ทักษะ
• ก้าวข้าม พัฒนาการด้านวิชาการ สู่ พัฒนาการรอบ
ด้าน ... ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑(รวมลักษณะนิสัย)
• สู่ ฉันทะ / แรงบันดาลใจ ในการทาเพื่อผู้อื่น สังคม
มิติด้านใน
• เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง(Transformative Learning)
สู่ การเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง(Change Agent)
เป้ าหมายการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑
• เรียนให้ได้(ความรู้และ) ทักษะ และ อุปนิสัย เพื่อชีวิตที่
เปลี่ยนแปลง เรียนให้รู้จริง (mastery learning) เป็นฐานที่มั่นคงใน
การต่อยอด เรียนเพื่ออนาคตของตนเอง ไม่ใช่เรียนเพื่อสอบ
ไม่ใช่เรียนเพื่ออวด
• เรียนโดยลงมือทา และคิด ทั้งในห้องเรียน และในสภาพจริง
• ครูไม่สอนความรู้สาเร็จรูป ทาหน้าที่ออกแบบโจทย์(ปฏิบัติ) ตั้ง
คาถาม เอื้ออานวย (facilitate) หรือโค้ช ประเมิน (formative
assessment) และให้คาแนะนาป้อนกลับ (feedback)
• สอนน้อย เรียนรู้มาก (Teach less, Learn more)
21st Century Skills
• Interdisciplinary
Themes
• Learning Skills
• Life & Career Skills
www.p21.org
Interdisciplinary Themes
• Global Awareness, Local Awareness
• Financial, Economic, Business, &
Entrepreneurial Literacy
• Civic Literacy
• Health Literacy, Social Literacy
• Environmental Literacy
Learning Skills
• Creativity & Innovation
• Critical Thinking & Problem Solving
• Communication & Collaboration
Life & Career Skills
• Flexibility & Adaptability
• Initiative & Self-direction
• Social & Cross-cultural Skills
• Productivity & Accountability
• Leadership & Responsibility
• Integrity
• Inner Skills / Self-discipline / Emotional /
Spiritual
ลักษณะนิสัย - Executive Function (EF)
ความมุมานะ (เชื่อพรแสวง - Growth Mindset) ความใฝ่รู้
อดทนรอเพื่อสิ่งที่ดีกว่า การควบคุมตนเอง มีวินัย
ในตนเอง สานึกผิดชอบชั่วดี ความรับผิดชอบ
ความมั่นคงทางอารมณ์ ความมั่นใจในตนเอง (self-
esteem) ความขยันหมั่นเพียร ความกระตือรือร้น
เห็นอกเห็นใจผู้อื่น (empathy)
Non-cognitive Development
ไม่สามารถฝึกได้ด้วยการสอนแบบถ่ายทอด
ความรู้ (Passive Learning)
Characters
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Mezirow
https://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/001/118/349/original_8a511172e210f2942a79c400363f4033.jpg
การท้าทายระบบโลกทัศน์
เปลี่ยนระบบคุณค่าและโลกทัศน์
ประสบการณ์ตรง + ไตร่ตรองสะท้อนคิด
+ อารมณ์
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Mezirow
https://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/001/118/349/original_8a511172e210f2942a79c400363f4033.jpg
การท้าทายระบบโลกทัศน์
เปลี่ยนทั้งเนื้อทั้งตัว
ประสบการณ์ตรง + ไตร่ตรองสะท้อนคิด
ใจ คิด พฤติกรรม
+ อารมณ์
พลังทั้งหก
พลังทั้งหก
• ประสบการณ์ของปัจเจก
• การสะท้อนคิดอย่างจริงจัง
• สุนทรียสนทนา
• มุมมอง/วิธีการที่ครบด้าน (holistic)
• บริบท
• ความสัมพันธ์ที่จริงใจ
การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
• Individual Learning + Social Learning
• Action Learning + Reflection Learning
• Integrated Learning
รู้
เข้าใจ
นาไปใช้
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ประเมิน/เปรียบเทียบ
เปลี่ยนวิธีเรียนรู้
เปลี่ยนกระบวนทัศน์/ตัวตนTransformative Learning
การเรียนรู้ ๘ ระดับ
Modified Bloom’s Taxonomy
ทั้งหมดนั้นไม่เกิดหากจัดการเรียนรู้แบบเก่า
• ไม่ได้เกิดจากการเรียนแบบรับถ่ายทอดความรู้
สาเร็จรูป
• แต่เกิดจากการเรียนโดยการลงมือปฏิบัติ (action)
ตามด้วยการไตร่ตรองสะท้อนคิด(reflection)
• การเรียนแบบลงมือปฏิบัติที่ดีที่สุดคือ ปฏิบัติใน
สถานการณ์จริง ในท่ามกลางความซับซ้อนและไม่
แน่นอน
การเรียนรู้ที่ดีที่สุด
• คือการเรียนรู้จากการปฏิบัติในสถานการณ์จริง
• เรียนเป็นทีม
• ตามด้วย critical reflection
• ครู/อาจารย์ทาหน้าที่ (๑) กาหนดเป้าหมายร่วมกับศิษย์
(๒) สร้างบรรยากาศอิสระจากความกลัว และ (๓) ตั้งคาถาม
ให้เกิด critical reflection เชื่อมโยงกับความรู้ทฤษฎี
เชื่อมโยงกับความดีงาม (๔) ครู/อาจารย์เรียนรู้จากการทาหน้าที่
ดังกล่าว โดยเรียนเป็นทีม/ชุมชน … PLC (ProfessionalLearning Community)
สถาบัน กศ. ต้องการ “สถานการณ์จริง”
• การเรียนรู้จากการปฏิบัติของศิษย์
• และอาจารย์/ครู
• การสร้างความรู้ใหม่จากฐานความรู้เดิมของท้องถิ่น ...
วิจัย
• เป็น “ภาคีร่วมพัฒนา” (development partner)
• ทางานหารายได้เลี้ยงตัว
เพื่อ
สถาบัน กศ. ต้องการ “สถานการณ์จริง”
• การเรียนรู้จากการปฏิบัติของศิษย์
• และอาจารย์/ครู
• การสร้างความรู้ใหม่จากฐานความรู้เดิมของท้องถิ่น ... วิจัย
• เป็น “ภาคีร่วมพัฒนา” (development partner)
• ทางานหารายได้เลี้ยงตัว
เพื่อ
การฝึกงาน/สหกิจศึกษา
• ต้องมีการกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ชัดเจน
• มี reflection / AAR เป็นระยะๆ เพื่อให้อาจารย์ใช้
Embedded Formative Assessmentตามด้วย
Constructive Feedback
• ให้เกิดการเรียนรู้บูรณาการ ของ นศ. และ อจ.
• และเกิดคุณประโยชน์ต่อสถานฝึกงาน
• เกิดความผูกพันที่ดีต่อเนื่อง ได้ฝึกด้านจิตใจ
https://www.gotoknow.org/posts/tags/ประเมินเพื่อมอบอานาจ
เครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม
https://www.gotoknow.org/posts/608280
https://www.gotoknow.org/posts/591178
ค่ายสร้างเสริมประสบการณ์นักศึกษาแพทย์ ครั้งที่ ๖๔
https://www.youtube.com/watch?v=Uj3Grc8tOPw
ศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
https://www.gotoknow.org/posts/452037
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
• การเรียนรู้ของเยาวชน อายุ๑๗ - ๒๔ ปี
• การเรียนรู้ของคนวัยทางาน
• การเรียนรู้ของผู้สูงอายุ
• สถาบันการศึกษากับการประกอบธุรกิจ ของ....
• สถาบันการศึกษาในบทบาทส่งเสริม entrepreneur
(ผู้ประกอบการ), producer (ผู้ผลิต), provider (ผู้ให้), Consumer
(ผู้บริโภค), ผู้ด้อยโอกาส
ในมุมมองใหม่ๆ / แหวกแนว
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
• การเรียนรู้ของเยาวชน อายุ๑๗ - ๒๔ ปี
• การเรียนรู้ของคนวัยทางาน
• การเรียนรู้ของผู้สูงอายุ
• สถาบันการศึกษากับการประกอบธุรกิจ ของ....
• สถาบันการศึกษาในบทบาทส่งเสริม entrepreneur (ผู้ประกอบการ), producer (ผู้ผลิต),
provider (ผู้ให้), Consumer (ผู้บริโภค), ผู้ด้อยโอกาส
ในมุมมองใหม่ๆ / แหวกแนว
ต้องการ ๕ เปลี่ยน (innovation)
• ภารกิจ
• โครงสร้าง
• กติกา กฎ ระเบียบ
• การบริหารการเปลี่ยนแปลง
• การบริหารคน
เปลี่ยนภารกิจ
• จากโรงสอนเป็น โรงพัฒนา
• จากบริการเยาวชน เป็น บริการคนทั้งชีวิต
• จากถ่ายทอดความรู้ เป็น ร่วมทา ร่วมเรียนรู้ ร่วมสร้าง
ความรู้ (engagement)
• จากตั้งรับในรั้ว เป็น รุกออกไปสู่ท้องถิ่น
• จากแก้ปัญหา (reactive) เป็น สร้างโอกาส (proactive)
เปลี่ยนโครงสร้าง (structure) ?
• มีส่วนงานพหุสาขา ตั้งตามภารกิจ ไม่ใช่ตาม
สาขาวิชาการ
• มี Community Enagagement Coordination Unit มี
พนักงานที่มีทักษะเหมาะสม มีการเรียนรู้
• มี Adult Learning Management Unit
• Etc.
เปลี่ยนข้อบังคับ ระเบียบ
• อาจไม่เปลี่ยน แต่เพิ่มข้อบังคับ/ระเบียบ สาหรับเอื้อ
ต่องานในรูปแบบใหม่
• ยกย่อง/ยอมรับ Scholarship of Teaching and
Learning, Scholarship of Implementation /
Application
บริหารการเปลี่ยนแปลง
• จัดการกติกาใหม่ ที่ให้คุณค่าScholarship of T&L,
Scholarship of Implementationสู่การปฏิบัติ
• ตั้งคณะทางานตีความกติกาสู่การปฏิบัติ
• หาตัวอย่างผลงานทั้งสองด้าน ที่มีคุณภาพสูงมาทาความ
เข้าใจมิติด้านคุณภาพ และวิธีตรวจสอบคุณภาพ
• จัดการประชุมปฏิบัติการผู้ที่อยู่ในรายชื่อreader ผลงาน
สาหรับเข้าสู่ตาแหน่งวิชาการ เพื่อทาความเข้าใจกติกาใหม่ในระดับ
ปฏิบัติ
เปลี่ยนการบริหารคน (HRM)
• กาหนดลักษณะการทางาน และภาระงานของ
อาจารย์และบุคลากรอื่นให้เอื้อต่อการทางาน
community engagement
• ให้ความยืดหยุ่น บนฐานของข้อตกลงเป็นรายคน
และมีการรายงานการทางาน กิจกรรม และ
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
เปลี่ยนการบริหารคน (HRM)
• ให้คุณค่างานสร้างสรรค์หลากหลายรูปแบบดังกล่าวแล้ว
• พัฒนาเกณฑ์คุณภาพผลงานหลากหลายแบบ
• พัฒนาเกณฑ์และวิธีการให้คุณประโยชน์แก่ผู้ทางาน
และมีผลงานวิชาการหลากหลายรูปแบบ
• ฯลฯ
หัวใจสาคัญ
• ไม่ยึดมั่นถือมั่นในกติกาเดิม
• สร้างกติกาใหม่ เพื่อรองรับภารกิจแนวใหม่
• มีการจัดการกติกา และภารกิจแนวใหม่
• มีการพัฒนาทักษะที่ต้องการ เพื่อการบรรลุเป้าหมาย
ใหม่
สรุป การศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
• ต้องเป็น Education for All, All can achieve Mastery /
Transformative Learning
• เน้นเรียนจากการปฏิบัติในสถานการณ์จริง ... ในท้องถิ่น
• ตามด้วยการไตร่ตรองสะท้อนคิด(Reflection) เน้นเรียน
ทฤษฎีจากการปฏิบัติ
• ใช้หลัก Engagement
• เปลี่ยน/เพิ่ม กติกา และมีการจัดการการเปลี่ยนแปลง
สรุป อาจารย์ทาหน้าที่
• สร้าง ecosystem ของการเรียนรู้
• ออกแบบการเรียนรู้จากการปฏิบัติ ทาให้ นศ. เป็นเจ้าของ
• เป็น Facilitator, Coach, Scaffolding เน้นตั้งคาถาม
• ออกไป engage กับท้องถิ่น
• สร้าง Scholarship of T&L / Implementation
• เรียนรู้ร่วมกับเพื่อนอาจารย์… PLC (Professional Learning
Community)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Was ist angesagt? (15)

Tl 620611
Tl 620611Tl 620611
Tl 620611
 
Tl 620719 n_1
Tl 620719 n_1Tl 620719 n_1
Tl 620719 n_1
 
Ku 620507
Ku 620507Ku 620507
Ku 620507
 
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teaching
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 n
การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 nการเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 n
การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 n
 
Proteach moph 620123
Proteach moph 620123Proteach moph 620123
Proteach moph 620123
 
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
 
Role teacher one
Role teacher oneRole teacher one
Role teacher one
 
เพาะพันธ์ปัญญา600325
เพาะพันธ์ปัญญา600325เพาะพันธ์ปัญญา600325
เพาะพันธ์ปัญญา600325
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use it
 
Power school
Power schoolPower school
Power school
 
การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง_part_one
การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง_part_oneการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง_part_one
การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง_part_one
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (14)

Let’s make a makerspace v1
Let’s make a makerspace   v1Let’s make a makerspace   v1
Let’s make a makerspace v1
 
Mobiya dans les villages cameroun - rapport cecosda solaire (2)
Mobiya dans les villages  cameroun - rapport cecosda solaire (2)Mobiya dans les villages  cameroun - rapport cecosda solaire (2)
Mobiya dans les villages cameroun - rapport cecosda solaire (2)
 
Datamax Offerings
Datamax OfferingsDatamax Offerings
Datamax Offerings
 
Critical reading final
Critical reading finalCritical reading final
Critical reading final
 
Fougasse and Atget
Fougasse and Atget Fougasse and Atget
Fougasse and Atget
 
Commerce in-the-internet-web-2
Commerce in-the-internet-web-2Commerce in-the-internet-web-2
Commerce in-the-internet-web-2
 
Initial ideas
Initial ideasInitial ideas
Initial ideas
 
Mạng chuyển mạch thế hệ mới
Mạng chuyển mạch thế hệ mớiMạng chuyển mạch thế hệ mới
Mạng chuyển mạch thế hệ mới
 
Identidade Visual do Espetáculo de dança "PaiContraMãe"
Identidade Visual do Espetáculo de dança "PaiContraMãe"Identidade Visual do Espetáculo de dança "PaiContraMãe"
Identidade Visual do Espetáculo de dança "PaiContraMãe"
 
Muy historia de internet y la web e Internet
Muy historia de internet y la web e InternetMuy historia de internet y la web e Internet
Muy historia de internet y la web e Internet
 
Manipulation of images
Manipulation of imagesManipulation of images
Manipulation of images
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
 
Edu reform-draft
Edu reform-draftEdu reform-draft
Edu reform-draft
 
Ujian bulan Mac BI Year 1 2017
Ujian bulan Mac BI Year 1 2017Ujian bulan Mac BI Year 1 2017
Ujian bulan Mac BI Year 1 2017
 

Ähnlich wie กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
krupornpana55
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
tyehh
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
Sukanya Burana
 

Ähnlich wie กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728 (20)

การพัฒนาผู้เรียนPart two
การพัฒนาผู้เรียนPart twoการพัฒนาผู้เรียนPart two
การพัฒนาผู้เรียนPart two
 
Innov tu 620817_n
Innov tu 620817_nInnov tu 620817_n
Innov tu 620817_n
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
 
Thai edu21n1
Thai edu21n1Thai edu21n1
Thai edu21n1
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
 
Teach pro bu_610524
Teach pro bu_610524Teach pro bu_610524
Teach pro bu_610524
 
Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
Thai edu21n2
Thai edu21n2Thai edu21n2
Thai edu21n2
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
Role610725 np2
Role610725 np2Role610725 np2
Role610725 np2
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
 

Mehr von Pattie Pattie

Mehr von Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728

Hinweis der Redaktion

  1. Competence, emotion, thru autonomy to interdependence, mature interpersonal relationship, identity, purpose, integrity
  2. ร่วมคิดร่วมทำแบบหุ้นส่วน, เกิดประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย, มีการใช้ความรู้และเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน, เกิดผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้
  3. เน้น ในพันธกิจหลักทุกด้านของมหาวิทยาลัย
  4. เป้าหมายสำคัญคือ การเปลี่ยนแปลงสังคมไปในทางที่ดี และการสร้าง engaged citizen ซึ่งรวม นศ., บัณฑิต และบุคลากรของมหาวิทยาลัย
  5. สภาคณบดีศิลปศาสตร์แห่งประเทศไทย SCBF สสส. มี NGO ที่ทำงานในพื้นที่ชี้เป้า ข้อจำกัดคือย้ายพื้นที่ไปเรื่อยๆ ความผูกพันไม่ต่อเนื่อง