SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
1
ภาคที่ 3 ศิลปะการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ตอนที่ 3.1 ความฉลาดทางอารมณ์ และการพัฒนาจิตใจ
(Emotion Quotient & Mental Develovment)
บนเส้นทางชีวิตของคนทุกคน ล้วนต้องเคยประสบพบเจอความสุข ความทุกข์ที่หลากหลาย น้อย
บ้าง มากบ้าง คละเคล้ากันไป....แต่เคยแปลกใจไหมว่า ทาไมบางคน แม้ว่าชีวิตของเขาต้องตกอยู่ในสภาพ ที่มี
ความทุกข์อย่างมากมาย เช่น คนพิการ แขนขาใช้การไม่ได้ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ หรือ คนที่ต้องอยู่ใน สภาพ
เจ็บป่วยมาตลอดชีวิต หรือคนที่รูปร่างหน้าตาแปลกประหลาดอัปลักษณ์ แม้กระทั่ง คนที่ต้องสูญเสียคนที่รักไป
อย่างไม่มีวันกลับในเหตุการณ์สึนามิ เป็นต้น มีหลายๆ คนที่มีสภาพเช่นนั้น ใครเห็นก็ต่างสมเพชเวทนา แต่มีเพียง
คนเดียว คือ ตัวของเขาเองที่แปรเปลี่ยนความสมเพชเวทนาตนเอง หรือ การจมอยู่ในความทุกข์ ไปเป็นพลังในการที่
จะประคับประคองชีวิตของตนเองให้มีความสุข ลดทอนความทุกข์ และมีความสุขมากพอที่จะแบ่งปันให้แก่ผู้อื่น
และสังคมได้..................พวกเขาสามารถ เปลี่ยนความมืดมิดให้เป็นความสว่าง, เปลี่ยนน้าตาให้เป็นรอยยิ้ม,
เปลี่ยนเสียงร้องไห้ ให้เป็นเสียงหัวเราะ และเปลี่ยนชะตากรรมให้เป็นพลังในการทาความดี……….พวกเขาทาได้
อย่างไร……….เคยสงสัยบ้างไหม
….ในขณะที่อีกหลายๆคนในสังคม ที่มีชีวิตที่มีพร้อมทุกอย่างในด้านความสุขสบาย มีเงินทอง มี
รูปร่างหน้าตาดี สุขภาพแข็งแรงไม่พิกลพิการ มีการศึกษาที่ดี แต่กลับสร้างความตกใจให้กับคนรอบข้าง โดยการ
ตัดสินใจที่จะฆ่าตัวตาย เนื่องจากสาเหตุว่าเขามีความทุกข์ รับไม่ได้กับ การสูญเสียในสิ่งที่เขาเคยมี หรือไม่
สมหวังในสิ่งที่เขาอยากได้….ถ้าเบาลงมาหน่อย ก็หันหน้าเข้าหาขวดเหล้า ดื่มเหล้าเข้าไปทาลายตับ ไต ไส้ พุง
มันสมองของตัวเองให้รู้แล้วรู้รอด เพื่อประชดชีวิตที่ตนเอง คิดว่า ไร้สุขหรือเพื่อลืมสิ่งที่ตนเอง คิดว่า เป็นความทุกข์
ไปเสีย…..พวกเขากาลังคิดอะไรอยู่….. พวกเขาทาร้ายตนเอง ได้อย่างไร และทาไปทาไม…….
จากตัวอย่างของชีวิตของคนทั้งสองกลุ่มนั้น บอกอะไรแก่เรา…..แน่นอนว่า “ความสุข หรือ ความ
พึงพอใจ” นี้เป็นสิ่งที่ทุกคนต่างก็ต้องการ และ “ความทุกข์” ก็เป็นสิ่งที่คนต่างต้องการหลีกเลี่ยงไปให้ไกลๆ ไม่
อยากประสบพบเจอ…แต่จริงๆแล้ว ความสุข ความทุกข์ ที่แท้จริงอยู่ที่ใดกันแน่…….คนกลุ่มแรก แม้ว่าพวกเขาจะ
พิการเจ็บป่วย และได้รับความทุกข์ทรมานทางกาย มากมาย มีฐานะขัดสน การศึกษาก็น้อย มีชีวิตที่ลาบาก…แต่
ทาไม พวกเขาสามารถมีความสุข ความพอใจ ในชีวิตของตนเองได้ และสามารถแบ่งปันรอยยิ้มและความสุขให้
ผู้อื่นได้ ในขณะที่คนกลุ่มหลัง มีชีวิตที่พรั่งพร้อมทางวัตถุ มีการศึกษาและการงานที่ดี สุขภาพแข็งแรง แต่กลับไม่
2
พอใจในชีวิตของตน จนกระทั่งสามารถทาร้ายตนเองและผู้อื่นได้……….ถ้าเช่นนั้น อะไรกันแน่เป็นบ่อเกิดของ
ความสุข……..แต่ก่อน ที่จะตอบคาถามนี้ลองฟังนิทานกันดูสักเรื่องก่อน
มีเรื่องเล่าว่า มีพระราชาองค์หนึ่ง พระองค์ทรงมีความทุกข์
มากเหลือเกิน เพราะนอนไม่หลับ ปรากฏว่ารักษาอย่างไรก็ไม่หาย
วันหนึ่งไปเจอคนๆ หนึ่งเขาบอกว่า มีเคล็ดลับอยู่อย่างหนึ่ง ถ้าพระองค์
อยากนอนหลับ แล้วมีความสุข พระองค์จะต้องสวมเสื้อของคนที่มี
ความสุข รับรองว่าต้องนอนหลับได้สนิทแน่นอน พระเจ้าแผ่นดินตรัสว่า
“เห็นท่านนายกรัฐมนตรีมีความสุขเหลือเกิน ลองขอยืมเสื้อใส่หน่อยซิ”
นายกรัฐมนตรี ทูลตอบว่า “ข้าพระองค์ก็ปวดหัวจะแย่อยู่แล้วพระเจ้าข้าไม่ทราบว่าเมื่อไหร่จะถูกอภิปรายไม่
ไว้วางใจ ไล่รัฐบาลข้าพระองค์ออก” ในเมื่อมีความกังวลอยู่อย่างนี้นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ได้มีความสุข แม้แต่
รัฐมนตรีหรือเสนาบดีก็ไม่ยอมรับว่าตนเองมีความสุข เจ้าหน้าที่ถามกี่คนๆ ว่าขอยืมเสื้อแห่งความสุขไปถวายพระ
เจ้าแผ่นดิน แต่ก็ไม่มีใครยอม ในที่สุดก็หาไม่ได้ ทางเจ้าหน้าที่ในวังหวังจะเอาใจพระเจ้าแผ่นดิน เลยตั้งหน่วย
เฉพาะกิจตามหาเสื้อแห่งความสุข ส่งกองทหารไปตามหานอกกาแพงเมือง
ขณะที่หัวหน้าทหารกาลังเดินอยู่ที่มุมกาแพงนั้น พลันได้ยินเสียงคนอีกมุมหนึ่งตะโกนลั่นว่า “สุขจริงๆ
โว้ย” ดังนั้น หัวหน้าทหารจึงรีบวิ่งไปจับกุมชายคนที่มีความสุขนั้น เพื่อต้องการจะเอาเสื้อที่เขาใส่มาให้พระราชา
แต่พอพบชายผู้นั้น กลับพบว่าเป็นชายขอทานที่ยากจนคนหนึ่ง ไม่มีเสื้อผ้าใส่ ขอทานคนนี้กาลังดีใจที่มีคนให้เศษ
อาหารแก่เขา เขาจึงมีความสุขมากที่มีอาหารกินอีกหนึ่งวัน
หัวหน้าทหารจึงกลับไปบอกพระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าแผ่นดินได้เข้าใจในเรื่องราวทั้งหมดและกล่าวว่า
“ความสุขนี้ไม่ได้เกี่ยวกับเรื่องภายนอก ความสุขอยู่ที่ใจต่างหาก”........
จากนิทานเรื่องเสื้อแห่งความสุขนี้ให้อุทธาหรณ์สอนใจเราว่า ภาพที่งาม เสียงที่ไพเราะ ก็ไม่อาจ
ทาให้คนที่มีปัญหารู้สึกเป็นสุขขึ้นมาได้ ความสุขอยู่ที่ใจของเรานั่นเอง เพราะฉะนั้นต่อให้มีสิ่งภายนอกไม่สมบูรณ์
เหมือนอย่างขอทานคนนั้น แต่เขาก็มีความสุข เพราะเขารู้จักมอง รู้จักคาดหวัง จัดการกับผัสสะที่เขารับรู้ที่แสดง
ว่าสุขและทุกข์อยู่ที่ใจ
ตามธรรมดา เรามักทุ่มเทเอาใจใส่กับร่างกาย บารุงเลี้ยงด้วยอาหารชั้นดี จัดสรรเวลาสาหรับออก
กาลังกาย ดูแลรักษาความสะอาด และตกแต่งด้วยเสื้อผ้าอาภรณ์สวยงาม แต่มองข้าม หรือให้ความสาคัญกับเรื่อง
ของจิตใจเป็นอันดับสุดท้าย โดยลืมคิดถึงความจริงที่ว่า ใจเป็นประธาน ใจเป็นหัวหน้า เมื่อใจดี คิดดี ทาดี ก็
จะมีความสุข ซึ่งเป็นความสุขที่ทุกคนมีศักยภาพที่จะเข้าถึงได้
....จะเชื่อหรือไม่...ถ้าจะบอกว่า เราเลือกได้ที่จะมีความสุขหรือความทุกข์ โดยการปรับท่าทีของใจ
ของเราที่มีต่อตัวเองและสิ่งต่างๆอย่างถูกต้องตามความเป็นจริง...ดังที่พระพุทธเจ้า (The Buddha) ทรงกล่าวไว้ใน
พระธรรมบทที่ว่า………
3
ใจเป็นผู้นาสรรพสิ่ง Mind foreruns all mental condition
ใจเป็นใหญ่ (กว่าสรรพสิ่ง) Mind is chief,
สรรพสิ่งสาเร็จได้ด้วยใจ mind-made are they;
ถ้าพูดหรือทาสิ่งใดด้วยใจที่บริสุทธิ์ If one speaks or acts with a pure mind,
ความสุขย่อมติดตามเขาไป Then happiness follws him
เหมือนเงาติดตามตน Even as the shadow that never leaves.
..........ใจเป็นผู้นาสรรพสิ่ง Mind foreruns all mental condition
ใจเป็นใหญ่ (กว่าสรรพสิ่ง) Mind is chief,
สรรพสิ่งสาเร็จได้ด้วยใจ mind-made are they;
ถ้าพูดหรือทาสิ่งใดด้วยใจชั่ว If one speaks or acts with a wicked mind,
ความทุกข์ย่อมติดตามตัวเขา Then suffering follows him
เหมือนล้อหมุนเต้าตามเท้าโค Even as the wheel the hoof of the ox.
ในทางวิทยาศาสตร์ มีการทาการทดลองไว้มากมายในเรื่องความสัมพันธ์กันระหว่างร่างกายและ
จิตใจ โดยเฉพาะในประเด็นที่ว่าสุขภาพของจิตใจมีอิทธิพลต่อสุขภาพของร่างกายหรือของชีวิตโดยรวม กล่าวคือ
ถ้าบุคคลนั้นมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข มองโลกในแง่ดี เบิกบานไม่เครียด ไม่ขี้โกรธ มีจิตใจที่สงบเป็นสมาธิ คนผู้
นั้นก็จะมีภูมิต้านทานในร่างกายที่แข็งแรง ระบบในร่างกายสามารถผลิตเม็ดเลือดขาว (White Blood Cell) ได้มาก
ขึ้นเพื่อป้องกันและกาจัดเชื้อโรค แม้แต่เซลล์มะเร็ง (Cancer Cell) ก็สามารถถูกทาลายได้ด้วยเม็ดเลือดขาว T-Cell
และ B-Cell ที่เกิดจากการมีสุขภาพจิตที่ดี จิตใจที่สงบและมีสมาธินั่นเอง และในทางตรงกันข้าม ถ้าบุคคลใดมี
สุขภาพจิตที่ไม่ดี ขี้เครียด วิตกกังวล ขี้โกรธ อมทุกข์เศร้าหมอง สมองจะส่งสัญญาณให้ภูมิต้านทานในร่างกายตก
ต่าลง เม็ดเลือดขาวถูกผลิตน้อยลงและอ่อนแอจนกระทั่งโรคภัยไข้เจ็บต่างๆสามารถเข้ามาเบียดเบียนได้
โดยสะดวก บุคคลนั้นก็จะมีสุขภาพอ่อนแอ มีโรคมาก ส่งผลให้ใจยิ่งเศร้าหมองหนักไปอีก...นี่แหละคือความจริงที่
เกิดขึ้นในชีวิตของเรา ดังนั้น คงเห็นแล้วใช่ไหมว่า.... “จิตใจ” เป็นนายใหญ่และมีความสาคัญกับชีวิตของเรา
อย่างไร จะสุข จะทุกข์ จะดี จะชั่ว ก็อยู่ที่ใจดวงนี้ของเรานั่นเอง
......ถ้าเช่นนั้นเราจะมาศึกษาไปด้วยกันถึง “ศิลปะในการพัฒนาจิตใจ” หรือ “วิธีการในการสร้าง
เสริมและรักษาจิตใจของเราให้มีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข และไม่มีความทุกข์” ว่าทาได้อย่างไรกัน ทั้งในขอบเขต
ของจิตวิทยา และศาสนาที่สามารถนามาปฏิบัติให้เห็นผลได้จริง.....มีคนเคยบอกว่า “เราไม่สามารถอิ่มได้ด้วย
อาหารที่ผู้อื่นเคี้ยว” ดังนั้นถ้าอยากจะมีจิตใจที่เปี่ยมสุขอย่างแท้จริง ก็ต้องปฏิบัติด้วยตัวของเราเอง โดยเริ่มที่ใจ
ของเราก่อน.......
4
สุขภาพจิต (Mental Health)
สุขภาพ หมายถึง สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม
สุขภาพจิต หมายถึง สภาพชีวิตที่เป็นสุข มีความสมบูรณ์ทางจิตใจ สามารถปรับตัวหรือความ
ต้องการของตนได้เมื่อมีปัญหาต่างๆ รวมทั้งสามารถปรับปรุงตนเองให้เข้ากับบุคคลที่อยู่ร่วมสังคม ร่วม
สภาพแวดล้อม โดยไม่ก่อความเดือดร้อนให้กับตนเองและผู้อื่น ทั้งยังก่อให้เกิดผลดีและประโยชน์แก่ตนเองและ
สังคมด้วย
ลักษณะของคนที่มีสุขภาพจิตที่ดี
บุคคลที่มีสุขภาพจิตที่ดี ไม่ใช่บุคคลที่ไม่เคยประสบปัญหาในชีวิตเลย เพียงแต่เขาสามารถจัดการ
กับปัญหาของเขาได้อย่างเหมาะสม ไม่สร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเองและผู้อื่นเป็นสาคัญ นอกจากนี้บุคคลก็
ต้องมีพื้นฐานลักษณะบุคลิกภาพบางประการที่เอื้ออานวยต่อการเป็นผู้มีสุขภาพจิตดี ดังนี้
1. มีสุขภาพกายดี บุคคลที่มีสุขภาพกายดี สมบูรณ์ แข็งแรง และไม่เจ็บป่วยด้วยโรค
ต่างๆ ย่อมทาให้เกิดอารมณ์ที่มั่นคง มีความสุขกายสบายใจ และทาให้สุขภาพจิตดีไปด้วย
2. รู้จักและเข้าใจตนเองได้ดี ซึ่งประกอบด้วยลักษณะดังนี้
2.1 รู้จักตนเองว่ามีความสามารถ มีสุขภาพ มีสติปัญญาและฐานะทางเศรษฐกิจ
อยู่ในลักษณะใด
2.2 มีความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
รู้สึกถึงคุณค่าในตนเอง
2.3 รู้จักแต่งกายและมีบุคลิกภาพที่เหมาะสมกับกาลเทศะ
2.4 ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ รู้จักวิธีการควบคุมอารมณ์
2.5 รู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ไปในทางที่สร้างสรรค์ ไม่ท้อแท้ต่อชีวิต
และใช้เวลาทุกนาทีอย่างมีคุณค่าต่อชีวิต
2.6 ปรับตัวได้ดีในสถานการณ์ต่างๆ รู้จักวิเคราะห์ปัญหา การวางแผนแก้ปัญหา
และประเมินผล เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่จะนาไปใช้แก้ปัญหาในโอกาสต่อไป
2.7 มีความพอใจในสภาพของตนและรู้สึกมีความมั่นคงในชีวิต
3. รู้จักและเข้าใจผู้อื่นได้ดี ได้แก่ลักษณะดังนี้
3.1 มีมนุษย์สัมพันธ์กับผู้อื่นด้วยใจที่บริสุทธิ์ มิใช่มุ่งหวังผลประโยชน์
3.2 เข้าใจและยอมรับว่าคนทุกคนมีความแตกต่างกันในด้านร่างกาย อารมณ์
สังคม และสติปัญญา
3.3 มีความรับผิดชอบต่อการกระทาของตน และรับผิดชอบต่อเพื่อนบ้าน เพื่อน
ร่วมงานและบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง
3.4 มีเมตตา(อยากให้ผู้อื่นมีความสุข) และให้ความกรุณา (อยากช่วยให้ผู้อื่นพ้น
จากความทุกข์) ต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์
5
4. เข้าใจความเป็นจริงของธรรมชาติแห่งชีวิตได้ดี ได้แก่
4.1 เข้าใจว่า ชีวิต เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม ถ้าสิ่งแวดล้อมเสียไป ชีวิตจะไม่
สามารถอยู่ได้ ดังนั้นจึงมองเห็นคุณค่าและพร้อมที่จะรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดารงอยู่
4.2 ยอมรับความจริงแห่งชีวิตได้ว่า ชีวิตย่อมมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นจึง
สามารถปรับตัวให้เข้ากับกระแสของการเปลี่ยนแปลงได้ทุกๆ เวลา
4.3 กล้าแสดงออกเพื่อปกป้องความถูกต้อง ความยุติธรรม และคุณธรรมใน
สังคมด้วยสติ และไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน
4.4 สามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบทางสังคมซึ่งถูกกาหนดขึ้นเป็นกติกาของการ
อยู่ร่วมกันได้ เช่น ปฏิบัติตามกฎหมาย จารีต ประเพณี และขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ
4.5 ตระหนักถึงหน้าที่ของตนที่ต้องรับผิดชอบไม่เฉพาะตนเองและครอบครัว
เท่านั้น แต่ต้องรับผิดชอบต่อสังคมด้วย
จากลักษณะดังกล่าว ชี้ให้เห็นว่า บุคคลที่เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อื่น และเข้าใจ
ชีวิต จะเป็นบุคคลที่ปรับตัวและมีสุขภาพจิตที่ดี (วิภาพร, ม.ป.ป.: 454-455)
การบริหารอารมณ์หรือจิตใจอย่างฉลาด
(E.Q. - Emotion Quotient(
การที่คนเราจะมีสุขภาพจิตที่ดี เบิกบานสุขสดใสได้นั้น การดูแล และบริหารอารมณ์ของ
ตนเองและแสดงมันออกมาได้อย่างเหมาะสมเป็นสิ่งที่สาคัญ ความรู้สึกด้านลบ หรือ ความโลภ โกรธ หลง ที่เป็น
รากเหง้าแห่งความทุกข์ในจิตใจ นั้น มันจะแสดงตนออกมาเป็นสภาวะที่เราคุ้นเคยกันดี ที่เรียกว่า “อารมณ์”
อารมณ์ (Emotion) หมายถึง สภาวะของจิตใจที่เกิดความปั่นป่วน เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น
ทาให้เกิดภาวะที่ผิดไปจากธรรมดา แสดงออกมาเป็นความรู้สึกพอใจ หรือ ไม่พอใจ เช่น โกรธ กลัว โศกเศร้า เสียใจ
เบื่อหน่าย ดีใจ หรือ ตื่นเต้น เป็นต้น และอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางปัญญา กริยาอาการภายนอก
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา และด้านแรงจูงใจ (วิภาพร มาพบสุข, ม.ป.ป.: 290)
หากจะถามว่า คุณสมบัติใดที่จะทาให้บุคคลผู้หนึ่งมีความสุขและประสบความสาเร็จใน
ชีวิต.....ถ้าตอบว่า I.Q. หรือความสามรถทางด้านสติปัญญาหรือศักยภาพของสมองแล้ว คาตอบนี้ถูกเพียงครึ่ง
เดียวเท่านั้น
E.Q. หรือ การบริหารอารมณ์อย่างฉลาด เป็นทักษะหนึ่งที่กาลังกล่าวถึงกันมากใน
ปัจจุบัน และเป็นที่ยอมรับกันทุกวงการแล้วว่าเป็นปัจจัยหนึ่งที่สาคัญที่สุดสาหรับการมีความสุขและประสบ
ความสาเร็จในทุกด้านของชีวิตอย่างแท้จริง
6
“การบริหารอารมณ์อย่างฉลาด” หรือ “EQ” หมายถึง ความสามารถในการ
บริหารอารมณ์ให้เป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ มีความ
เข้าใจในอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น รู้จักควบคุมอารมณ์ของตนเองอย่างมีเหตุผล
รู้จักข้อดีข้อเสียของตนเอง รู้จักผิดชอบชั่วดี สามารถสร้างแรงขับเคลื่อนจาก
ภายในเพื่อผลักดันตนเองไปสู่เป้าหมายอย่างมีสติและปัญญา และท้ายที่สุดคือ มี
ทัศนคติที่ดีต่อชีวิต มองโลกในแง่ดี สามารถสร้างสรรค์อารมณ์ในด้านบวก และสามารถ
จัดการกับความเครียดหรือแก้ปัญหาได้อย่างรอบคอบและรู้เท่าทัน หรือ อธิบายอย่างง่ายๆ ว่า E.Q. ก็คือ
ความสามารถในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขและอย่างสร้างสรรค์นั่นเอง
กล่าวได้ว่า การเฝ้าติดตามดูอารมณ์ของตนเอง และบริหารมันอย่างฉลาด มีสติ และรู้เท่า
ทัน เป็นการเข้าถึงแก่นแท้ของความสับสนทางอารมณ์ทั้งมวล ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานของความสุข ความสาเร็จใน
ชีวิต ตามหลักการของ E.Q. มนุษย์สามารถใช้ทักษะในการบริหารอารมณ์เพื่อจัดการปรับเปลี่ยนอารมณ์ในแง่ลบที่
เกิดขึ้นให้กลายเป็นอารมณ์ในแง่บวกได้
การศึกษาเรื่อง E.Q. จึงมีความสาคัญที่จะช่วยเสริมสร้างทักษะในการบริหารอารมณ์เพื่อ
สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ง่าย ใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างไม่มีอคติและไม่เอาความคิดของตน
เป็นใหญ่ สามารถปรับมุมมองความคิดและมีทัศนคติที่ดีต่อตัวเองและคนรอบข้าง รู้เท่าทันอารมณ์ของตนเอง มี
ความสุขง่าย เกิดความทุกข์ยาก และตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง......เมื่อใดที่เกิดอารมณ์ในด้านลบขึ้น คนที่มี
ทักษะในการบริหารอารมณ์ที่ดี หรือคนที่มี E.Q. สูง จะรู้จักปรับเปลี่ยนอารมณ์ดังกล่าวให้เป็นอารมณ์ใน
ด้านดีได้ และรู้จักสร้างเกราะป้องกันการเกิดอารมณ์ที่ไม่พึงปรารถนาอย่างมีสติ (mindfulness) และรู้เท่า
ทัน (consciousness) ในครั้งต่อๆ ไป
องค์ประกอบของ E.Q.
1. มีความรู้ความเข้าใจในอารมณ์ของตนเอง )Self Awareness)
หมายถึงการรู้ให้เท่าทันอารมณ์ที่เกิดขึ้นในทุกขณะของตน เช่น หากเรากาลังโกรธ เราก็สามารถรู้ว่าเรากาลังโกรธ
อยู่ ซึ่งก็ทาให้เราสามารถควบคุมตัวเองได้ในระดับหนึ่ง....การรู้จัก รู้ใจตนเอง จะทาให้เราไม่ต้องตกเป็นทาสของ
อารมณ์ในแง่ร้ายอื่นๆ
2. มีความสามารถในการจัดการกับอารมณ์ของตนเองได้ )Managing
Emotion) หมายถึง การเรียนรู้ที่จะจัดการกับอารมณ์ที่เกิดขึ้นของตัวเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. มีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับคนอื่น )Social Skills) หมายถึง
การเป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมอย่างมีความสุขและราบรื่น
สร้างสรรค์
4. มีความเห็นใจผู้อื่น )Empathy) หมายถึง สามารถรับรู้และเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น
เกิดความเห็นใจต่อกัน
7
5. มีความสามารถในการสร้างแรงจูงใจให้กับตนเองได้ )Motivating Oneself )
หมายถึง มีความสามารถในการรู้จักและความเข้าใจกับอารมณ์และความต้องการของตัวเราเอง ว่าเรานั้นมีความ
ต้องการ มีความปรารถนาอะไรบ้าง และสามารถจัดการกับความต้องการหรือ ความปรารถนาเหล่านั้นให้เป็นจริง
ขึ้นได้ โดยส่วนใหญ่แล้วจะต้องอาศัยความอดทน รู้จักการรอคอยเวลาและความสาเร็จ รู้จักมองโลกในแง่ดี มีความ
ซื่อสัตย์ มีความคิดใหม่ๆ ที่สร้างสรรค์ มีพลังอันแรงกล้า และมีความพยายาม เป็นต้น
ลักษณะของผู้ที่มี E.Q. สูง
1. เป็นผู้ที่สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข และเป็นคนมองโลกในแง่ดี
2. เป็นผู้ที่รู้จักจิตใจและอารมณ์ของตนเองเป็นอย่างดี
3. เป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ดี
4. เป็นผู้ที่มีความสุขในชีวิตอย่างแท้จริง
5. เป็นผู้ที่มีเหตุผล จิตใจหนักแน่นมั่นคง และมีคุณธรรม
6. เป็นผู้ที่มีมองเห็นคุณค่าความดีงามในตัวเองและมีความเชื่อมั่นในตนเอง
7. เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบสูงในเรื่องต่างๆ
8. เป็นผู้ที่สามารถเข้าใจในความแตกต่างของผู้อื่นเสมอ นามาซึ่งความเห็นอกเห็นใจ
การให้อภัยและลดความขัดแย้ง
9. เป็นผู้ที่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
E.Q. ที่ดีต้องมีครบทั้ง 3 ส่วน
คือ มีอารมณ์ในด้านที่ดี......
มีความคิดในด้านที่ดี....
มีการกระทาในด้านที่ดี.......
จุดมุ่งหมายของ E.Q.
คือ 1. มีสติ (conciousness)
2. มีพลังความคิด
3. รู้จักและเข้าใจในคุณค่าและความหมายของชีวิต
4. มีความสามารถในการสื่อสารกับผู้อื่น
หลักการบริหารอารมณ์อย่างฉลาด
- เข้าใจผู้อื่นมากขึ้น........เอาใจเขามาใส่ใจเรา.....จงปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างที่ต้องการให้เขาปฏิบัติ
ต่อเรา
- หาข้อดีของตัวเองให้เจอ.....คนเราล้วนสวยงามและแตกต่าง
- แก้ไขข้อบกพร่อง.....ยอมรับในตนเองและพร้อมในการเปลี่ยนแปลงสู่สิ่งที่ดีกว่า
8
- ใช้สตินาทาง....ระลึกรู้เท่าทันอารมณ์ ความคิด และการกระทาของตน เลือกที่จะกระทาในสิ่ง
ที่ดี และยับยั้งไม่ทาในสิ่งที่เป็นทุกข์โทษ
- รับมือกับอุปสรรคด้วยปัญญา มีเทคนิค คือ ......
1. อันดับแรก มองว่าอุปสรรคนั้นไม่มีตัวตน
2. ให้คุณลองหาจุดที่ดีของอุปสรรคว่ามีอะไรบ้าง
3. ให้คุณใช้ความคิดหาเหตุผลว่าทาไมจะต้องจัดการกับอุปสรรคนั้นๆ
4. คุณควรใช้จินตนาการในการคิดภาพการแก้ไขอุปสรรคนั้นๆ ของคุณเองก่อนการลง
มือปฏิบัติจริงๆ
5. ขั้นสุดท้ายลงมือปฏิบัติจริงๆด้วยกาลังใจและไม่ย่อท้อ แม้ไม่สาเร็จก็พยายามหาวิธี
ใหม่โดยอาศัยการเรียนรู้
- สร้างสรรค์สังคม...บนพื้นฐานของการพึ่งพาอาศัยและเอื้ออาทร
- ยิ้มและหัวเราะ...มีจิตใจที่สนุกสนานเบิกบาน ไม่เครียด
- พิจารณาอารมณ์ด้วยความเข้าใจ...มีสติรู้เท่าทันอารมณ์ว่าในขณะนี้เรามีอารมณ์อะไรเกิดขึ้น
หรือเรารู้สึกอย่างไร...และจัดการกับอารมณ์ที่เป็นด้านลบ...โดยการเฝ้าดู หรือ เอาใจของเรา
ติดตามอารมณ์ในด้านลบนั้นไปเรื่อยๆ โดยไม่ต้องพยายามไปกดหรือทาลายมันแต่อย่างใด
.....เมื่อถึงจุดๆ หนึ่งเราจะรู้สึกเหมือนกับว่าตัวเราและอารมณ์นั้นๆ ไม่ได้เป็นของกันและกันอีก
ต่อไปแล้ว อารมณ์นั้นๆ ไม่ใช่ของเราอีกต่อไปแล้ว เป็นคนละส่วนกัน.....เมื่อมีสติรู้ทันเช่นนี้
อารมณ์ด้านลบ เช่น อารมณ์โกรธ เสียใจ เครียด เบื่อ เหงา ก็จะค่อยๆ คลายลง และหมดไป
เอง....นี่แหละคือเทคนิคในการรู้อารมณ์ เพื่อตัดตอนอารมณ์ที่ไม่ดี ไม่ให้มามีอิทธิพลหรือบง
การเราได้..จิตใจของเราก็จะเบิกบานได้อย่างอิสระ
- เชื่อมใจกับธรรมชาติ.....หาวิธีสัมผัสกับธรรมชาติที่บริสุทธิ์หรือใช้ชีวิตที่สอดคล้องกับธรรมชาติ
เพื่อสร้างสรรค์จิตใจที่อ่อนโยนและสุขภาพทั่ดีมีสุข
- นาพลังความรักมาใช้ให้เป็นประโยชน์
- กลุ้มนักก็พักเสียก่อน......โดยการ พยายามทาจิตใจของตนเองให้สงบมากที่สุด/ มองอุปสรรค
หรือปัญหาที่มีนั้นในแง่ที่ดีไว้ก่อน/ไม่นาปัญหากลับมาสานต่อที่บ้าน/ให้อภัยเพื่อช่วยลด
ความเครียด/หยุดตัวเองสักพักก่อนลุยงานต่อ
- ฝึกเป็นคนที่สุขง่าย แต่ทุกข์ยาก.....ค้นให้พบว่าความสุขอยู่ที่ใจ....และความพอเพียงของชีวิต
.....คนที่สุขง่ายสามารถทาให้สิ่งรอบตัวของเขากลายเป็นสิ่งที่พิเศษไปได้...คนที่สุขง่ายอย่าง
ฉลาดนั้น จะเลือกมองในส่วนที่ดี และเห็นสิ่งดีๆ ในสิ่งที่ไม่ดีเสมอ
9
- เป็นผู้ฟังที่ดีสรรสร้างมิตรภาพ....กระตือรือร้นในการฟัง/ใส่ใจในการพูดของผู้พูด/เปิดโอกาสให้
เขาพูดออกมาได้อย่างเต็มที่/ถามเมื่อสงสัย/แทรกอย่างมีมารยาท
- รู้จักให้อภัย มีจิตใจที่ชุ่มเย็น
- รู้เท่าทันความโกรธ...จัดการความโกรธด้วยสติและเหตุผล ไม่เก็บกด
- ร่าเริงอยู่เสมอ..หัดยิ้มแย้ม และมองทุกๆสิ่งที่รายล้อมรอบตัวด้วยหัวใจที่เบิกบาน
- ฝึกกากับลมหายใจเข้าออกเพื่อคลายความเครียดหรือวิตกกังวล โดยหายใจยาวๆ เข้าไปจน
ท้องป่อง แล้วจึงค่อยๆผ่อนลมหายใจออกจนท้องค่อยๆยุบลงเรื่อยๆ ฝึกเป็นประจาวันละ 10-
20 นาที เพื่อเสริมสร้างสมาธิ
- ใช้ธรรมะดับความรุ่มร้อน.....เมื่อมีความทุกข์จงทาใจยอมรับกับความทุกข์ที่เกิดขึ้น (ทุกข์)
จากนั้นจึงพิจารณาหาสาเหตุแห่งความทุกข์(สมุทัย)แล้วจึงค่อยกาหนดเป้าหมายในการแก้ไข
ปัญหาหรือความทุกข์เหล่านั้น (นิโรธ) แล้วเดินหน้าในการแก้ไขปัญหานั้นโดยการแก้ไขที่
สาเหตุของปัญหาหรือความทุกข์จนกระทั่งปัญหาได้รับการสะสางจนลุล่วงไป (สมุทัย)...นี่เป็น
เทคนิคการแก้ปัญหาแบบ “อริยสัจ”
- รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น วิพากษ์วิจารณ์ให้เป็นบนพื้นฐานของความจริงใจและห่วงใย
- มีจุดมุ่งหมายในชีวิตที่ชัดเจน เพื่อสร้างพลังและคุณค่าแก่ชีวิต
- สร้างเกราะป้องกันความทุกข์......โดยการ ทาตัวเองให้มีอารมณ์ที่ดีอยู่เสมอ/ควบคุมจิตใจของ
ตนเองให้สงบเยือกเย็น/ดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์อยู่เสมอ/ควรสร้างขวัญและ
กาลังใจให้เกิดกับตนเองมากๆ
- รู้จักไว้วางใจผู้อื่น...แต่ก็มีความระมัดระวัง ถ้ามีอะไรไม่ชอบมาพากลก็สามารถถอยออกมาได้
โดยไม่รู้สึกแย่
- รู้จักรักและเห็นคุณค่าในตนเอง บนพื้นฐานของการเข้าใจและจริงใจต่อตนเอง
- ยอมรับการเปลี่ยนแปลง อย่างผู้ที่เข้าใจชีวิตและโลกเพื่อสร้างภูมิคุ้มใจให้เข้มแข็ง
( สัณห์ ศัลยศิริ และคณะ, 2548: 14-149)
10
ปัญหาทางจิตใจ – ความเครียด
(Mental Problem – Tension)
เป็นเรื่องธรรมดาที่ไม่ธรรมดาสาหรับโลกในยุคปัจจุบันที่คนในสังคมต่างก็ประสบปัญหา
ทางจิตใจกันอย่างกว้างขวาง บางคนมีพื้นฐานทางจิตใจที่ดี มีความสุข มั่นคง เข้มแข็ง มี E.Q. สูง ปัญหาทางจิตใจ
ก็น้อยกว่าเมื่อเทียบกับคนที่ยังไม่ได้หันมาสารวจ และปรับปรุงพัฒนาจิตใจของตนหรือยังไม่มีสติรู้เท่าทันตนเอง
เมื่อเกิดเหตุการณ์ใดๆ ที่ไม่พอใจขึ้น ภาวะความทุกข์ กดดัน บีบคั้น ก็ยังเกิดขึ้นในจิตใจ บั่นทอนให้ชีวิตของคนผู้
นั้นไม่มีความสุข หมดกาลังใจที่จะทาอะไร ภาวะแห่งความทุกข์ บีบคั้น ไม่พอใจ หรือไม่สบายใจนี้คือ
“ความเครียด” ซึ่งเป็นภาวะของอารมณ์ทางลบ นั่นเอง
แต่ถ้าจะมองในอีกแง่หนึ่ง ชีวิตก็ต้องการการตึงเครียด เพื่อเป็นพลังผลักดันให้เราไปสู่
ความสาเร็จ ดังนั้นการเคร่งขรึมเคร่งเครียดเอาจริงเอาจัง และวิตกกังวลต่อการเรียน การงาน การดาเนินชีวิต และ
การดารงชีวิตของเราจึงไม่ใช่อาชญากรรม คนที่ประสบความสาเร็จในการงานคือคนที่ทุ่มเทชีวิตให้กับมันอย่างถึง
ที่สุด.........แต่ปัญหาของคนอยู่ตรงไม่รู้จักความพอดี คนส่วนใหญ่ทุ่มเทความตึงเครียดให้ตัวเองมากที่สุด เพื่อจะได้
ประสบความสาเร็จที่สุด ที่สุดเหนือคนอื่น แต่ธรรมชาติก็เป็นธรรม มิได้ยินยอมให้คนเราแย่งได้แย่งเอาตาม
อาเภอใจ ดังนั้นผู้ที่ทะเยอทะยานจะไม่บรรลุความสาเร็จที่มากเกินไปนานเกินไป เพราะความไม่รู้จักพอจึงถูก
ร่างกายประท้วงด้วยความเจ็บป่วย อันเนื่องมาจากความเครียด
ความเครียด เป็นตัวบั่นทอนสุขภาพทั้งกายใจ เป็นตัวชักนาให้เกิดโรคจิต โรคประสาท
ความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะ ปวดศรีษะ เจ็บหน้าอก ปวดหลัง ท้องผูก ท้องเดิน เพลีย เวียนศรีษะ นอนไม่หลับ
หรือแม้แต่มะเร็ง.....ดังนั้นเพื่อให้เราไม่ต้องมีชีวิตที่ย่าแย่ลงเพราะความเครียด...เราลองมาศึกษาถึงสาเหตุของ
ความเครียด และวิธีในการแก้เครียดเพื่อสุขภาพจิตที่ดี กันดีกว่า
สาเหตุของความเครียด (เพ็ชร ณ ป้อมเพ็ชร อ้างถึง ประเวศ วะสี, 2548: 57-62)
1. ไม่ได้ออกกาลัง....ทาให้สารอะดรีนาลินคั่งค้าง เกิดความไม่สมดุล
ของระบบประสาท ทาให้ความเครียดเกิดขึ้น
2. ใช้สมองซีกซ้ายมากกว่าซีกขวา (หรือใช้ความคิด มากกว่าความรู้สึก
ขาดความสมดุล)
3. ทางานที่จาเจซ้าซาก ขาดความสุขในการทางาน
4. เผชิญต่อสิ่งที่ไม่คุ้นเคย
5. รีบร้อน
6. ถูกบีบคั้นทั้งทางวัตถุ สังคม และจิตใจ
7. การทางานมากเกินไป
8. การหมกมุ่นอยู่กับอบายมุขต่างๆ
9. ไม่มีความหวังในอนาคต
11
10. ปัญหาทางอารมณ์ เช่นความกลัว ความวิตกกังวล และความโกรธ
ฯลฯ
วิธีแก้ไขความเครียด (เพ็ชร ณ ป้อมเพ็ชร, 2548:62-74)
1. พยายามทาความเข้าใจในชีวิตและสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง คลายความยึดมั่นถือ
มั่นในสิ่งต่างๆ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยใจที่เข้มแข็ง สงบและปล่อยวาง
2. ออกกาลังกายทุกวัน เพื่อให้ร่างกายหลั่งสารสุข (สารเอนดอร์ฟิน) และระบายสาร
เครียด หรือ อะดรีนาลิน ออกไป รักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง
3. พยายามหาสิ่งแวดล้อมที่เป็นคุณแก่สมองซีกขวา.....หรือให้เกิดความรื่นรมย์แก่ชีวิต
เช่น ต้นไม้ ใบหญ้า หรือธรรมชาติ
4. หลีกความจาเจ ซ้าซาก ของชีวิต....สร้างความสุขสดใสในชีวิตและการทางาน โดย
การมองสิ่งทีเรามี หรือ ที่เราทา หรือ ที่เราต้องเกี่ยวข้องในแง่ดี เห็นคุณค่าของสิ่ง
เหล่านั้น รวมทั้งหาโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ๆ ที่สร้างสรรค์
5. รู้จักหาความสุขให้ได้ทุกวัน ชื่นชมในสิ่งเล็กน้อยทุกอย่าง...มองสิ่งต่างๆ ผู้คน และ
ชีวิตในแง่ดี
6. แก้ความบีบคั้นทางวัตถุ...มีชีวิตที่สันโดษ และพอเพียง เป็นอิสระจากวัตถุ
7. พยายามฝึกควบคุมอารมณ์ ใช้เหตุผล และความยุติธรรม
8. รู้จักเสียสละ รู้แพ้ รู้ชนะ มีเมตตา และให้อภัย
9. ดาเนินชีวิตสายกลาง ไม่ตึงหรือหย่อนเกินไป มีความเชื่อมั่นและศรัทธาในตนเอง
10. วางโครงการของชีวิตไว้อย่างเหมาะสม
11. ปรับตัวเองให้อยู่ร่วมในสังคมได้อย่างเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
12. มีความรักและพอใจในอาชีพหรือการงานของตน
13. ทาตัวให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม และช่วยเหลือผู้อื่นบ้าง
14. หมั่นตรวจสอบและปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ เปิดทางเลือกให้แก่ชีวิต
15. เมื่อมีปัญหาควรปรึกษากับบุคคลที่เราไว้ใจและเข้าใจที่สามารถแนะนาสิ่งที่ดีแก่เรา
ได้
16. อย่าคาดหวังอะไรในชีวิตให้มากเกินไป รู้จักปล่อยวางเสียบ้าง อย่าเป็นคนสมบูรณ์
แบบที่ต้องทุกข์เพราะไม่ได้ดังใจและขี้หงุดหงิด
17. จงมานะและอดทน ที่จะสู้ชีวิตต่อไป ความล้มเหลวมักจะมาก่อนความสาเร็จเสมอ
คนเราจะสาเร็จได้ มักจะต้องอาบเหงื่อและน้าตามาก่อน
18. เป็นคนสร้างสรรค์........ดร.เบิร์นส์ นักจิตวิทยา แนะให้แก้ความเฉื่อยชา ด้วยการเขียน
แผนกิจกรรมของแต่ละวัน ตั้งแต่ตื่นนอนตอนเช้าจนถึงเข้านอนตอนกลางคืน เพื่อฝึก
ความกระตือรือร้น และอาจมีความคิดที่จะพัฒนาชีวิตของตนเองได้อย่างสร้างสรรค์
12
19. แบ่งเวลาพักผ่อนให้เหมาะสม...รมีกิจกรรมหรืองานอดิเรกที่ผ่อนคลายที่ตนชื่นชอบ
20. พยายามยิ้มหรือหัวเราะ ท่าทางของเราสามารถปรุงแต่งอารมณ์ของเราได้ เช่น หาก
รู้สึกเศร้า จงอย่าเดินเอื่อยเฉื่อย ตรงกันข้าม จงเดินด้วยท่าทางทะมัดทะแมง ยิ้มและ
หัวเราะ...เพียงการพยายามฝืนใจเล็กๆน้อยๆ เหล่านี้สามารถเปลี่ยนอารมณ์ของเรา
ให้ดีขึ้น
13
กาลังใจ ^__<
ในการสร้างเสริมสุขภาพของจิตใจให้แข็งแรง มีชีวิตที่ดีและมีความสุขนั้น นอกจากการ
จัดการกับปัญหาสาคัญที่บั่นทอนสุขภาพโดยตรง คือ เรื่องของ “ความเครียด” แล้ว อีกเรื่องหนึ่งที่ไม่ควร
มองข้าม ก็คือ ภาวะของจิตใจที่ไร้ซึ่งพลังความคิดฝัน ไร้ซึ่งเรี่ยวแรงในการต่อสู้ และไร้ซึ่งความเบิกบานสดใส
ซึ่งเป็นสภาวะที่คนทั่วไป ต่างเคยได้สัมผัสมาแล้วทั้งนั้น นั่นก็คือ ภาวะของการขาด “กาลังใจ”………เป็น
ความจริงที่ว่าชีวิตของเราทุกคน ต่างเคยประสบพบเจอเรื่องราวทั้งสุขและทุกข์ในชีวิต คนที่พบเจอกับ
ความสุข ความสมหวัง ก็เป็นธรรมดาที่เขาจะมีกาลังใจ หรือพลังในการดาเนินชีวิตต่อไป แต่สาหรับคนที่ต้อง
เจอกับความทุกข์ ความผิดหวัง หลายๆ คนต้องทุกข์ทรมานกับความเศร้าโศก เสียใจ ไม่มีแรงกายแรงใจที่จะ
คิดหรือทาสิ่งใดได้ อาจจะหนักหนาถึงขั้นเกลียดตัวเอง เกลียดผู้อื่น ประชดชีวิต หรือไม่อยากจะทนมีชีวิตอยู่
ต่อไปได้......ถ้าเราต้องตกอยู่ในภาวะเช่นนี้เราจะทาอย่างไรเพื่อสร้างเสริมพลังใจให้เกิดมีขึ้นอีกครั้ง.....
…...ความเฉื่อยชา ความขี้เกียจ เป็นอุปสรรคของชีวิต
คนเรานั้น จะพุ่งขึ้นสู่ที่สูง สวย สง่า ดุจน้าพุร้อนได้.......เมื่อคนๆนั้น
“สามารถเจาะผ่านก้อนหินของความเฉื่อยชา เกียจคร้านไปได้”
มีสิ่งเดียวในชีวิต ที่จะสามารถพิชิตได้
โดยไม่ต้องใช้ความพยายามมากมายเลย
นั่นก็คือ ความล้มเหลว
วิธีการสร้างกาลังใจให้แข็งแกร่ง
1. พยายามรักษาสุขภาพกายและจิตใจให้ดีอยู่เสมอ เพี่อเป็นพลังในการต่อสู้ชีวิต
เว้นวรรคให้ชีวิตได้พักบ้าง โดยเฉพาะจิตใจที่เหนื่อยล้าจากความเครียด ความทุกข์ ความกดดัน
หันมาดูแลจิตใจตนเอง ปล่อยให้ใจของเราได้พักโดยการทาสมาธิผ่อนคลายให้ใจสงบ ปล่อยวาง
เรื่องที่เราทุกข์ต่างๆ แล้วจะพบว่าที่จริงแล้ว ความทุกข์เกิดจากการที่ใจเราไปยึดติดอยากที่จะให้สิ่งต่างๆ
เป็นอย่างใจ ถ้าเราเข้าใจความจริงว่า เงินทอง ตาแหน่งการงาน คาชื่นชม คาตาหนินินทา ความสุข ความ
ทุกข์ มันไม่มีอะไรแน่นอน ขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยมากมายที่เราไปควบคุมบังคับไม่ได้ เราทาได้เพียง ดูแลใจ
ของเรา ปรับปรุงพัฒนาตนเองตามความสามารถด้วยใจที่ปล่อยวางและสงบ แล้วเราจะพบว่า
14
กาลังใจสร้างได้เสมอตราบใดที่ใจของเราพร้อมและต้องการ...จงยิ้มและลุกขึ้นสู้...เราสามารถสร้าง
ชีวิตใหม่ของเราได้ทุกวินาที....เรื่องที่ผ่านไปแล้วแม้ชั่ววินาทีก็เป็นเพียงอดีตที่ไร้ตัวตน
“ปัจจุบันขณะ” นี้เท่านั้นที่เป็นความจริง ที่เป็นชีวิตที่กาลังดารงอยู่...และจงใช้มันให้คุ้มค่าที่สุด ที่สาคัญอย่า
ลืมเติมความสดใสเบิกบานให้แก่ชีวิต..อย่าปล่อยให้ใครหรือสิ่งใดมาทาให้เราทุกข์ได้....เพราะแท้จริงแล้ว สุข
ทุกข์อยู่ที่ใจหรือ ความคิด ความรู้สึกของเราเท่านั้น...จงสู้ต่อไปด้วยใจที่เป็นอิสระและเต็มเปี่ยมไปด้วยความ
รักตนเองและเพื่อนมนุษย์
2. ค้นหาความดีงามในตัวเองให้พบ...ดีและเก่งในแบบของเรา เพื่อสร้างความ
ภาคภูมิใจและคุณค่าในสิ่งที่ตนเป็ น อย่าดูถูกตนเองแต่ก็อย่าละเลยหรือตามใจตนเองจนกลายเป็นคน
เห็นแก่ตัว......ตราบใดที่คุณมีคุณธรรม คุณก็สามารถภูมิใจในตนเองได้แม้ว่าจะไม่มีเงินเลยสักบาท...เพราะ
อย่างน้อยคุณก็ยังได้ทาสิ่งดีๆ ให้แก่โลกใบนี้....ความจริงใจ น้าใจ และมิตรไมตรีนี่เองคือความสวยงามของ
มนุษย์
3. มองโลกในแง่ดี.....ถ้าสมหวังถือเป็นรางวัลแก่ชีวิต แต่ถ้าผิดหวัง
ให้ถือเป็นบทเรียน ถือเป็นครูของเรา....จาไว้ว่า“สิ่งใดเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดีเสมอ”.....ถ้าไม่เคยเจอความทุกข์
ความผิดพลาดเลย ชีวิตก็จะอยู่อย่างไร้ภูมิคุ้มกัน.....“ไฟ สามารถหลอมเหล็กธรรมดาให้เป็นเหล็กกล้า
ได้ฉันใด ความทุกข์และอุปสรรคก็สามารถหลอมใจธรรมดาให้แข็งแกร่งดุจเหล็กกล้าได้ฉันนั้น
4. ควรให้รางวัลแก่ชีวิตบ้าง....ไม่ว่าจะผิดหวังหรือสมหวัง...จงรักตนเองและภูมิใจใน
ความเป็ นนักสู้ของตนเอง.....รู้จักสารวจ ตักเตือนตนเอง....ทาหน้าที่ให้สุดความสามารถ...แม้ว่า
ผลงานจะไม่ดีที่สุดในสายตาใครๆ แต่ถ้าสาหรับตัวเรา เราได้ทาเต็มที่แล้ว และสามารถไหว้ตัวเองได้
...ก็คงพอแล้วสาหรับความอิ่มใจ ความภูมิใจ และความเหน็ดเหนื่อยในวันนี้….จงรักและศรัทธาใน
ตนเอง โอบกอดและชื่นชมตนเอง
5. อย่ายอมแพ้ ล้มแล้วต้องรีบลุก....การยอมแพ้ที่แท้จริง คือ การยอมแพ้ต่อกิเลสตัณหา
หรือจิตใจด้านไม่ดีของตน.....ความเกียจคร้าน ความเบื่อหน่าย ท้อแท้ล้วนเป็นกิเลสที่บั่นทอนให้ชีวิตเสื่อมลง
.....จงลุกขึ้นสู้ด้วยแรงกาย แรงใจ บวกด้วยสติปัญญา...การสู้ชีวิตอย่างฉลาดจะต้องไม่ให้ ทุกข์เกิดขึ้นแก่
จิตใจ....เข้าทานอง เหนื่อยกายแค่ไหน แต่ใจยังเบิกบาน และยิ้มได้แม้จะอยู่ท่ามกลางปัญหาที่หนักหนา
เพียงใด
6. จงใช้ความกลัวเป็นตัวสร้างกาลังใจ เช่นกลัวสอบตก ก็จงมุมานะอ่านหนังสือ แต่ก็อย่า
เป็นทาสของความกลัว จงใช้ความกลัวหรืออุปสรรคแปรเปลี่ยนเป็นพลัง ทาไปให้สุดความสามารถ จงมั่นใจ
ว่าเมื่อเราสร้างเหตุปัจจัยที่ดี ย่อมได้รับผลที่ดี
7. นึกถึงจุดมุ่งหมายของชีวิตที่เราต้องการ...และจงเพียรพยายามเพื่อไปถึงจุดหมาย
ปลายทางนั้นด้วยหัวใจของนักสู้ผู้ที่ศรัทธาในตนเองและสิ่งที่ตนทา อย่างไม่ยอมแพ้ต่อความยากลาบาก
15
8. ควรหาโอกาสศึกษาประสบการณ์ หรือเรื่องราวชีวิตของผู้ที่สามารถต่อสู้กับปัญหาและ
อุปสรรคในชีวิตของตน หรือผู้ที่ประสบความสาเร็จ หรือผู้ที่มีชีวิตที่น่าสนใจน่าชื่นชม รวมทั้งผู้ที่ทาความดี
เสียสละเพื่อสังคม .....ซึ่งอาจะทาให้เราได้รับข้อคิด แนวทางการดาเนินชีวิตรวมทั้งกาลังใจจากนักสู้เหล่านั้น
...บทเรียนชีวิตเหล่านี้เป็ นได้ดังครูที่ดีของเรา...เมื่อเราทุกข์ อย่างน้อยก็รู้ว่ามีคนที่ทุกข์ยิ่งกว่าเรา
แล้วเขาสามารถผ่านมันไปได้....เราเองก็น่าจะผ่านมันไปได้เช่นกัน
9. จงกล้าใฝ่ ฝันแล้วกล้าฟันฟ่ า......มนุษย์ทุกคนมีความกลัวเป็นพื้นฐานอยู่ในจิตใจ จน
อาจจะทาให้ไม่กล้าทาสิ่งใดๆ กลัวที่จะผิดพลาด กลัวที่จะเริ่มต้นใหม่ ไม่กล้าที่จะเผชิญปัญหา ก็ย่อมทาให้
ขาดความก้าวหน้า ยากที่จะบรรลุเป้าหมายในชีวิต มีแต่ความทุกข์ และปิดกั้นโอกาสของความสาเร็จทุกๆ
สิ่งของตนเอง ...........อย่าหยุดแค่ที่มีอยู่ จงกล้าที่จะเผชิญกับอุปสรรคและปัญหาที่อาจเกิดขึ้น มีเพียงจิตใจ
ที่กล้าหาญ กล้าเผชิญหน้ากับความยากลาบากเท่านั้นที่จะสามารถฟันฝ่าไปได้........ชีวิตจึงเปรียบเสมือน
เรือที่ต้องออกจากท่า เพื่อแล่นไปในท้องทะเลที่สวยงาม ดังนั้นอย่ากลัวที่จะเริ่มต่อสู้ชีวิต ดังคากล่าวที่ว่า
“เรือที่จอดอยู่ในท่าจะปลอดภัยที่สุด
แต่เรือมิได้ถูกออกแบบมาเพื่อจอดอยู่แต่ในท่า
เราจะพบความสวยงามของมหาสมุทรได้อย่างไร
หากไม่กล้าพอที่จะออกไปไกลจากฝั่ง
จงกล้าที่จะใฝ่ฝันถึงความสวยงามของชีวิต
และกล้าที่จะฟันฝ่าอุปสรรคเพื่อให้ถึงฝั่งฝัน”
10. จงบอกกับตนเองว่า ความล้มเหลวที่เกิดขึ้นนั้น เป็ นบทเรียนที่ช่วยให้ได้เรียนรู้
และฝึกความแข็งแกร่งให้กับจิตใจ หากพบกับความผิดหวังและล้มเหลวอีกครั้ง จะสามารถรับมือได้ อีก
ทั้งยังได้เรียนรู้วิธีแก้ไขจากประสบการณ์ที่ผ่านมา.......จงใช้ความผิดหวังที่เกิดขึ้นเป็นประโยชน์ในการเตือน
ตนเองให้มีความรอบคอบและมีความระมัดระวังในการทาสิ่งต่างๆมากขึ้น สารวจจุดเด่น จุดด้อยของตนเอง
แล้วปรับปรุงจุดด้อยและพัฒนาจุดเด่นให้ดียิ่งขึ้น
11. จงเริ่มต้นคิดและตั้งเป้าหมายใหม่ให้ตนเองอีกครั้ง ไม่เสียดายกับสิ่งที่ผิดพลาด
ล้มเหลวไปแล้ว รีบลงมือทาสิ่งใหม่ๆ เพื่อวันพรุ่งนี้ที่ดีกว่าเดิม
16
วันนี้ อาจะพบกับความผิดหวัง ล้มเหลว พ่ายแพ้ หรือ โศกเศร้า
.....แต่ไม่เป็นไร.......เพราะว่าชีวิตจะเริ่มต้นใหม่ในวันพรุ่งนี้
จะมีโอกาสสาหรับพยายามใหม่และเริ่มต้นกันใหม่เสมอ....
อย่ามัวเสียเวลากับความล้มเหลว
....ชีวิตใหม่ เริ่มต้นได้ทุกวัน
ศิลปะการสร้างความสุข
กล่าวได้ว่า คนทุกคนล้วนแสวงหาความสุข แต่ไม่เข้าใจว่า “ความสุขแท้จริง” คืออะไร
และจะแสวงหามันได้อย่างไร
แม้ว่าโดยทั่วไปแล้ว คนรวยมีโอกาสหาความสุขได้มากกว่าคนจน ถ้าใช้เงินเป็นและทาใจ
เป็น แต่ในโลกที่เป็นจริง เศรษฐีไม่ได้มีความสุข ความพอใจ มากกว่าคนรายได้ปานกลางหรือคนรายได้น้อย
เสมอไป คนจนทั่วโลกก็ยังมีคนที่มีความสุขได้ในระดับต่างกัน แล้วแต่คน ความสุขจึงเป็นเรื่องที่ขึ้นกับ
ปัจจัยหลายอย่างนอกจากเงิน ดังที่เราได้ศึกษามาแล้วว่า.....เป็นไปได้ที่ความสุขจะเริ่มต้นจากจิตใจที่
สงบสุขตั้งมั่น เข้มแข็ง อันเนื่องมาจากการเข้าใจธรรมชาติของชีวิตและสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง เป็น
จิตใจที่กระทบแต่ไม่กระเทือน เป็นจิตใจที่มีความสุขได้เพราะความทุกข์ที่มีน้อยลง
ความสุขคืออะไร
นักจิตวิทยาอธิบายว่า “ความสุข” เป็นสภาพการณ์ทางจิตใจของมนุษย์เรา ซึ่ง
ประกอบไปด้วยองค์ประกอบที่สาคัญ 4 อย่าง คือ
1. ความสาราญ (Pleasure) การมีอารมณ์ความรู้สึกที่ดี หรือ อารมณ์ในทางบวก
ความสนุก ความพอใจ ความรื่นเริง ความปิติยินดี ความรู้สึกรักชอบพอ บางคน
เรียกว่าความสุขทางโลก หรือ ความสุขทางกาย
2. การปลอดโปร่งจากสภาพที่ไม่น่าพึงพอใจ (Absence of displeasure) เช่น
การมีอารมณ์เศร้า กังวล กลัว โกรธ รู้สึกผิด อิจฉา หรือละอาย
17
3. ความพึงพอใจ (Satisfaction) การตัดสินใจหรือการประเมินว่า คุณพึงพอใจ
กับชีวิตของคุณโดยทั่วไปหรืออย่างน้อยในเรื่องหนึ่งเรื่องใดในชีวิตคุณ นั่นก็คือ
ความสุขอยู่ที่การคิดพิจารณาของตัวเราด้วย ไม่ได้ขึ้นอยู่กับอารมณ์อย่างดียว
4. ความรู้สึกว่าชีวิตของคุณมีความหมาย มีเป้าหมาย หรือเป็นประโยชน์ต่อ
คนอื่นๆ ในสังคม
วิธีการสร้างความสุข (วิทยากร เชียงกูร, 2548: 22-27)
1. ตั้งใจจะมีชีวิตอยู่อย่างคนมีค่าและมีชีวิตชีวา
2. อย่ารีบมีปฏิกิริยาต่ออารมณ์ในทางลบทันที พยายามหยุดคิด เพื่อที่จะเรียนรู้ที่จะ
ตระหนักถึงอารมณ์ของตนเองและค่อยตอบสนองในทางที่เป็นประโยชน์กับตัวเรา
3. รู้จักรักหรือเมตตากรุณาและให้อภัยต่อตนเองและผู้อื่น
4. การเป็นเพื่อนกับสิ่งที่เราไม่รู้ พอใจกับผลที่ไม่อาจคาดหมายได้
5. พัฒนาความสัมพันธ์ที่ดีกับครอบครัวและเพื่อน
6. หาความหมายและความพอใจในการทางานและกิจกรรม
7. สร้างความสมดุลระหว่าง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
8. เรียนรู้ที่จะมองคนและสิ่งต่างๆ ในแง่ดี
9. เรียนรู้เรื่องความพอเพียงในเรื่องเงินทองและการบริโภคสิ่งต่างๆ
10. ฝึกการมองเห็นความสวยงามในสรรพสิ่งต่างๆที่หลายคนอาจะมองข้าม
11. ยิ้ม หัวเราะ หาความเพลิดเพลินจากอารมณ์ขัน
12. มองเรื่องเป้าหมาย ความสาเร็จเป็นเรื่องการสนองความพอใจภายในของเรา
มากกว่าขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอกที่เราควบคุมไม่ได้ เช่น เราเรียนเพราะเราอยากรู้ ทางานเพราะเราพอใจที่
จะทา
13. มีศรัทธาในศาสนาหรือความเชื่ออุดมการณ์บางอย่าง ที่ทาให้เรามีจุดยืนที่
แน่นอน พอทาความเข้าใจกับชีวิตและโลกว่ามีความหมายอย่างไร ทาให้เรารู้สึกว่าชีวิตนี้มีความหมาย มี
ความมั่นคง
14. เรียนรู้การดูแลรักษาสุขภาพกาย สุขภาพใจของเราให้ดี
15. เปิดกว้างที่จะเรียนรู้ ขยายของเขตของประสบการณ์ เปิดหู เปิดตา ทากิจกรรม
ใหม่ๆ ที่สร้างสรรค์ และเลือกจดจาประสบการณ์ที่ดีๆ ไว้
16. เรียนรู้ว่าการมีความสุขไม่ใช่เรื่องที่ขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอก เท่ากับปัจจัยในตัว
ของเรา เช่น วิธีการมองโลก และการตัดสินใจของเรา ว่าเราจะมองเห็นว่าสิ่งนั้นสิ่งนี้เป็นความสุขหรือไม่
18
ความสุขอยู่ที่ใจนั่นเอง......คอยดูแลชีวิตของเราเองในการสร้างความสมดุลระหว่างงาน ชีวิตครอบครัวและ
ชีวิตทางสังคม รวมทั้งความสมดุลระหว่างความต้องการทางร่างกายและความต้องการทางจิตใจิตวิญญาณ
ฯลฯ วิธีอื่นๆ นอกจากนี้ ....ลองมองหาด้วยตัวของคุณเอง...เพราะชีวิตทุกชีวิตย่อม
สวยงามและแตกต่าง และอย่าลืมแบ่งปันความสุขนี้ให้กับผู้คนและชีวิตรอบข้างคุณนะ
ศิลปะในการพัฒนาชีวิตเพื่อการมีสุขภาพจิตที่ดีและมีสุข
ด้วยการฝึกสมาธิและเจริญสติ
1. จิตของเรา
ชีวิตของคนเราดูแล้วหลากหลาย แตกต่างกันราวฟ้ากับดิน
ชีวิตของคนแก่เฒ่ากับคนหนุ่มสาว คนรวยเป็นมหาเศรษฐีกับยาจก
คนเก่งระดับดอกเตอร์กับคนไม่รู้หนังสือ อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้
คนดีที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพหรืออาชญากรชั่วร้ายที่มีแต่คนสาปแช่ง
ไม่ว่าคนเราจะมีสถานะภายนอกที่แตกต่างกันมากขนาดไหน
ไม่ว่าคนเราจะนับถือศาสนาใด ผิวขาวผิวดา เชื้อชาติไหน พูดภาษาใดก็ตาม
แต่ธรรมชาติของจิตสาหรับมนุษย์เราทุกคนที่มีความเหมือนกัน คือ ประภัสสร
สะอาด สงบ ผ่องใสก็มีอยู่แต่ดั้งเดิม เหมือนน้าใสสะอาดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
เปรียบธรรมชาติของจิตกับน้า น้าที่ใสสะอาดมีอยู่แต่เดิม แต่เมื่อผสมเป็นน้าชา กาแฟ น้า
ผลไม้ น้าซุป เมื่อนามาบริโภคก็ให้รสชาติ กลิ่น สี แตกต่างกันไปตามสิ่งที่นามาผสม ตรงกันข้าม น้าใส
สะอาดที่ถูกเจือปนด้วยสิ่งสกปรก เป็นน้าซักผ้า น้าล้างจาน เป็นน้าเน่า ก็มีสีส่งกลิ่นเหม็น ทั้งสองกรณีนี้ไม่
ว่าน้าจะถูกเจือปนด้วยอะไรก็ตาม น้าที่เจือปนด้วยสี กลิ่น รส อยู่ที่ไหน น้าที่ใสสะอาดก็อยู่ที่นั่น เปรียบกับ
จิตใจ จิตที่เศร้าหมอง ทุกข์ ไม่สบายใจอยู่ที่ไหน.......จิตที่เป็นประภัสสร สะอาด สงบ สบาย ก็อยู่ที่นั่น
- จิตกับอารมณ์....... “จิต” คือ สภาวะที่รับรู้อารมณ์ บางทีก็เรียกว่า ผู้รู้ ธาตุรู้ สภาวะรู้
คือสิ่งเดียวกัน จิตทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ คาว่า “อารมณ์” ในภาษาธรรม หมายถึงสิ่งที่ถูกรับรู้ผ่าน
อายตนะภายในทั้ง 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ดังนั้น อารมณ์ จึงได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส สิ่งสัมผัส
ทางกาย และธรรมารมณ์หรืออารมณ์ทางใจ เช่น เมื่อตามองไปเห็นตุ๊กแก รูปตุ๊กแกก็เป็นอารมณ์ที่ปรากฏ
19
ทางตา เมื่อได้ยินเสียงตุ๊กแกร้อง เสียงตุ๊กแกก็เป็นอารมณ์ที่ปรากฏทางหู เมื่อเรานึกคิดปรุงแต่ง ไม่ว่าจะดี ชั่ว
หรือ เป็นกลางๆ ความนึกคิดปรุงแต่งเหล่านั้น ก็เป็นอารมณ์ที่ปรากฏทางใจ เป็นต้น อารมณ์ที่เกิดขึ้นกับใจ
ได้แก่ ความยินดีพอใจ (สุขเวทนา) ความยินร้ายไม่พอใจ (ทุกขเวทนา) หรือเกิดความรู้สึกเป็นกลางวางเฉย
(อทุกขมสุขเวทนา)
การดาเนินชีวิตของคนเรา สิ่งที่เรามีประสบการณ์ ทั้งพอใจ และไม่พอใจ มีเหตุปัจจัยจาก
โลกธรรมแปด โลกธรรมฝ่ายน่าปรารถนา ได้ลาภ ได้ยศ สรรเสริญ สุข ทาให้เกิดยินดี พอใจ โลกธรรมฝ่ายไม่
น่าปรารถนา เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์ ทาให้เกิดยินร้าย ไม่พอใจ อย่างไรก็ตาม ความยินดี ยินร้าย
เป็นอารมณ์ที่เกิดจากกิเลสตัณหา คือ โลภ โกรธ หลง ที่เข้ามาปรุงแต่งจิต แต่ไม่ใช่จิตซึ่งเป็นสภาวะที่รู้
อารมณ์ตามความเป็นจริง เป็นสภาวะของผู้รู้ เป็นธาตุที่มีแต่รู้ ๆ ๆ รู้แล้วปล่อยๆ ปล่อยวางจากอารมณ์นั้น
มนุษย์ทุกคนล้วนมีประสบการณ์จากความทุกข์ ไม่ใช่เราเพียงคนเดียวที่มีทุกข์ บางคนทุกข์
มากถึงขั้นฆ่าตัวตาย แต่จริงๆ แล้ว ที่คนเราเป็นทุกข์กันอยู่ทุกวันนี้ ปัญหาครอบครัว ปัญหาสังคม ปัญหา
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลก ล้วนเกิดขึ้นเพราะเรามีความยึดมั่นถือมั่นกับอารมณ์กันทั้งนั้น ดังนั้นการ
ดาเนินชีวิตของเรา จึงควรระมัดระวัง ไม่หลงในอารมณ์ ไม่ปล่อยให้อารมณ์มามีอิทธิพลครอบงาจิต

วิธีการหนึ่งที่จะให้เราค้นพบตัวผู้รู้ ที่อยู่เหนืออารมณ์ เพื่อสัมผัสกับสภาวะแห่งการรู้ตื่น และ
เบิกบานที่มีอยู่ในตัวเราทุกคน คือ การปฏิบัติธรรมตามหลักของอานาปานสติ คือ การมีสติสัมปชัญญะ
อยู่กับลมหายใจเข้า ลมหายใจออก จนจิตใจสงบแล้ว เราจะสัมผัสกับสภาวะของจิตที่เป็ นปกติ
เห็นจิตแยกต่างหากจากอารมณ์ เห็นจิตเป็ นจิต เห็นอารมณ์เป็ นอารมณ์ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
เป็ นอนัตตา ทาให้เราเข้าถึงธรรมชาติจิตใจของเราเองที่มีความเป็ นปกติ สะอาดผ่องใส เป็ น
สภาวะจิตของผู้รู้ ที่ไม่มีทุกข์ ไม่มีอุปาทานยึดมั่นถือมั่น ปล่อยวางความเห็นแก่ตัว ไม่มีความยินดียิน
ร้าย หรืออย่างน้อยก็ทาให้เราเข้าถึงสุขภาพใจที่ดี......(ศึกษาวิธีปฏิบัติจากหัวข้อการปฏิบัติสมาธิภาวนา)
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4พัน พัน
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 

Was ist angesagt? (20)

ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 

Andere mochten auch

เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขเรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขwann555
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนTaraya Srivilas
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ Padvee Academy
 
พุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธีพุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธีPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาPadvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานTaraya Srivilas
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 

Andere mochten auch (13)

เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขเรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
 
พุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธีพุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธี
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 

Ähnlich wie ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
ปฏิวัติจิตสำนึก
ปฏิวัติจิตสำนึกปฏิวัติจิตสำนึก
ปฏิวัติจิตสำนึกPoramate Minsiri
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12PaChArIn27
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์Sarid Tojaroon
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararudsvuthiarpa
 
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษCMRU
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 

Ähnlich wie ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ (20)

Comprehen
ComprehenComprehen
Comprehen
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 
ปฏิวัติจิตสำนึก
ปฏิวัติจิตสำนึกปฏิวัติจิตสำนึก
ปฏิวัติจิตสำนึก
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
 
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 

Mehr von Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 

Mehr von Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 

ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ

  • 1. 1 ภาคที่ 3 ศิลปะการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ตอนที่ 3.1 ความฉลาดทางอารมณ์ และการพัฒนาจิตใจ (Emotion Quotient & Mental Develovment) บนเส้นทางชีวิตของคนทุกคน ล้วนต้องเคยประสบพบเจอความสุข ความทุกข์ที่หลากหลาย น้อย บ้าง มากบ้าง คละเคล้ากันไป....แต่เคยแปลกใจไหมว่า ทาไมบางคน แม้ว่าชีวิตของเขาต้องตกอยู่ในสภาพ ที่มี ความทุกข์อย่างมากมาย เช่น คนพิการ แขนขาใช้การไม่ได้ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ หรือ คนที่ต้องอยู่ใน สภาพ เจ็บป่วยมาตลอดชีวิต หรือคนที่รูปร่างหน้าตาแปลกประหลาดอัปลักษณ์ แม้กระทั่ง คนที่ต้องสูญเสียคนที่รักไป อย่างไม่มีวันกลับในเหตุการณ์สึนามิ เป็นต้น มีหลายๆ คนที่มีสภาพเช่นนั้น ใครเห็นก็ต่างสมเพชเวทนา แต่มีเพียง คนเดียว คือ ตัวของเขาเองที่แปรเปลี่ยนความสมเพชเวทนาตนเอง หรือ การจมอยู่ในความทุกข์ ไปเป็นพลังในการที่ จะประคับประคองชีวิตของตนเองให้มีความสุข ลดทอนความทุกข์ และมีความสุขมากพอที่จะแบ่งปันให้แก่ผู้อื่น และสังคมได้..................พวกเขาสามารถ เปลี่ยนความมืดมิดให้เป็นความสว่าง, เปลี่ยนน้าตาให้เป็นรอยยิ้ม, เปลี่ยนเสียงร้องไห้ ให้เป็นเสียงหัวเราะ และเปลี่ยนชะตากรรมให้เป็นพลังในการทาความดี……….พวกเขาทาได้ อย่างไร……….เคยสงสัยบ้างไหม ….ในขณะที่อีกหลายๆคนในสังคม ที่มีชีวิตที่มีพร้อมทุกอย่างในด้านความสุขสบาย มีเงินทอง มี รูปร่างหน้าตาดี สุขภาพแข็งแรงไม่พิกลพิการ มีการศึกษาที่ดี แต่กลับสร้างความตกใจให้กับคนรอบข้าง โดยการ ตัดสินใจที่จะฆ่าตัวตาย เนื่องจากสาเหตุว่าเขามีความทุกข์ รับไม่ได้กับ การสูญเสียในสิ่งที่เขาเคยมี หรือไม่ สมหวังในสิ่งที่เขาอยากได้….ถ้าเบาลงมาหน่อย ก็หันหน้าเข้าหาขวดเหล้า ดื่มเหล้าเข้าไปทาลายตับ ไต ไส้ พุง มันสมองของตัวเองให้รู้แล้วรู้รอด เพื่อประชดชีวิตที่ตนเอง คิดว่า ไร้สุขหรือเพื่อลืมสิ่งที่ตนเอง คิดว่า เป็นความทุกข์ ไปเสีย…..พวกเขากาลังคิดอะไรอยู่….. พวกเขาทาร้ายตนเอง ได้อย่างไร และทาไปทาไม……. จากตัวอย่างของชีวิตของคนทั้งสองกลุ่มนั้น บอกอะไรแก่เรา…..แน่นอนว่า “ความสุข หรือ ความ พึงพอใจ” นี้เป็นสิ่งที่ทุกคนต่างก็ต้องการ และ “ความทุกข์” ก็เป็นสิ่งที่คนต่างต้องการหลีกเลี่ยงไปให้ไกลๆ ไม่ อยากประสบพบเจอ…แต่จริงๆแล้ว ความสุข ความทุกข์ ที่แท้จริงอยู่ที่ใดกันแน่…….คนกลุ่มแรก แม้ว่าพวกเขาจะ พิการเจ็บป่วย และได้รับความทุกข์ทรมานทางกาย มากมาย มีฐานะขัดสน การศึกษาก็น้อย มีชีวิตที่ลาบาก…แต่ ทาไม พวกเขาสามารถมีความสุข ความพอใจ ในชีวิตของตนเองได้ และสามารถแบ่งปันรอยยิ้มและความสุขให้ ผู้อื่นได้ ในขณะที่คนกลุ่มหลัง มีชีวิตที่พรั่งพร้อมทางวัตถุ มีการศึกษาและการงานที่ดี สุขภาพแข็งแรง แต่กลับไม่
  • 2. 2 พอใจในชีวิตของตน จนกระทั่งสามารถทาร้ายตนเองและผู้อื่นได้……….ถ้าเช่นนั้น อะไรกันแน่เป็นบ่อเกิดของ ความสุข……..แต่ก่อน ที่จะตอบคาถามนี้ลองฟังนิทานกันดูสักเรื่องก่อน มีเรื่องเล่าว่า มีพระราชาองค์หนึ่ง พระองค์ทรงมีความทุกข์ มากเหลือเกิน เพราะนอนไม่หลับ ปรากฏว่ารักษาอย่างไรก็ไม่หาย วันหนึ่งไปเจอคนๆ หนึ่งเขาบอกว่า มีเคล็ดลับอยู่อย่างหนึ่ง ถ้าพระองค์ อยากนอนหลับ แล้วมีความสุข พระองค์จะต้องสวมเสื้อของคนที่มี ความสุข รับรองว่าต้องนอนหลับได้สนิทแน่นอน พระเจ้าแผ่นดินตรัสว่า “เห็นท่านนายกรัฐมนตรีมีความสุขเหลือเกิน ลองขอยืมเสื้อใส่หน่อยซิ” นายกรัฐมนตรี ทูลตอบว่า “ข้าพระองค์ก็ปวดหัวจะแย่อยู่แล้วพระเจ้าข้าไม่ทราบว่าเมื่อไหร่จะถูกอภิปรายไม่ ไว้วางใจ ไล่รัฐบาลข้าพระองค์ออก” ในเมื่อมีความกังวลอยู่อย่างนี้นายกรัฐมนตรี ก็ไม่ได้มีความสุข แม้แต่ รัฐมนตรีหรือเสนาบดีก็ไม่ยอมรับว่าตนเองมีความสุข เจ้าหน้าที่ถามกี่คนๆ ว่าขอยืมเสื้อแห่งความสุขไปถวายพระ เจ้าแผ่นดิน แต่ก็ไม่มีใครยอม ในที่สุดก็หาไม่ได้ ทางเจ้าหน้าที่ในวังหวังจะเอาใจพระเจ้าแผ่นดิน เลยตั้งหน่วย เฉพาะกิจตามหาเสื้อแห่งความสุข ส่งกองทหารไปตามหานอกกาแพงเมือง ขณะที่หัวหน้าทหารกาลังเดินอยู่ที่มุมกาแพงนั้น พลันได้ยินเสียงคนอีกมุมหนึ่งตะโกนลั่นว่า “สุขจริงๆ โว้ย” ดังนั้น หัวหน้าทหารจึงรีบวิ่งไปจับกุมชายคนที่มีความสุขนั้น เพื่อต้องการจะเอาเสื้อที่เขาใส่มาให้พระราชา แต่พอพบชายผู้นั้น กลับพบว่าเป็นชายขอทานที่ยากจนคนหนึ่ง ไม่มีเสื้อผ้าใส่ ขอทานคนนี้กาลังดีใจที่มีคนให้เศษ อาหารแก่เขา เขาจึงมีความสุขมากที่มีอาหารกินอีกหนึ่งวัน หัวหน้าทหารจึงกลับไปบอกพระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าแผ่นดินได้เข้าใจในเรื่องราวทั้งหมดและกล่าวว่า “ความสุขนี้ไม่ได้เกี่ยวกับเรื่องภายนอก ความสุขอยู่ที่ใจต่างหาก”........ จากนิทานเรื่องเสื้อแห่งความสุขนี้ให้อุทธาหรณ์สอนใจเราว่า ภาพที่งาม เสียงที่ไพเราะ ก็ไม่อาจ ทาให้คนที่มีปัญหารู้สึกเป็นสุขขึ้นมาได้ ความสุขอยู่ที่ใจของเรานั่นเอง เพราะฉะนั้นต่อให้มีสิ่งภายนอกไม่สมบูรณ์ เหมือนอย่างขอทานคนนั้น แต่เขาก็มีความสุข เพราะเขารู้จักมอง รู้จักคาดหวัง จัดการกับผัสสะที่เขารับรู้ที่แสดง ว่าสุขและทุกข์อยู่ที่ใจ ตามธรรมดา เรามักทุ่มเทเอาใจใส่กับร่างกาย บารุงเลี้ยงด้วยอาหารชั้นดี จัดสรรเวลาสาหรับออก กาลังกาย ดูแลรักษาความสะอาด และตกแต่งด้วยเสื้อผ้าอาภรณ์สวยงาม แต่มองข้าม หรือให้ความสาคัญกับเรื่อง ของจิตใจเป็นอันดับสุดท้าย โดยลืมคิดถึงความจริงที่ว่า ใจเป็นประธาน ใจเป็นหัวหน้า เมื่อใจดี คิดดี ทาดี ก็ จะมีความสุข ซึ่งเป็นความสุขที่ทุกคนมีศักยภาพที่จะเข้าถึงได้ ....จะเชื่อหรือไม่...ถ้าจะบอกว่า เราเลือกได้ที่จะมีความสุขหรือความทุกข์ โดยการปรับท่าทีของใจ ของเราที่มีต่อตัวเองและสิ่งต่างๆอย่างถูกต้องตามความเป็นจริง...ดังที่พระพุทธเจ้า (The Buddha) ทรงกล่าวไว้ใน พระธรรมบทที่ว่า………
  • 3. 3 ใจเป็นผู้นาสรรพสิ่ง Mind foreruns all mental condition ใจเป็นใหญ่ (กว่าสรรพสิ่ง) Mind is chief, สรรพสิ่งสาเร็จได้ด้วยใจ mind-made are they; ถ้าพูดหรือทาสิ่งใดด้วยใจที่บริสุทธิ์ If one speaks or acts with a pure mind, ความสุขย่อมติดตามเขาไป Then happiness follws him เหมือนเงาติดตามตน Even as the shadow that never leaves. ..........ใจเป็นผู้นาสรรพสิ่ง Mind foreruns all mental condition ใจเป็นใหญ่ (กว่าสรรพสิ่ง) Mind is chief, สรรพสิ่งสาเร็จได้ด้วยใจ mind-made are they; ถ้าพูดหรือทาสิ่งใดด้วยใจชั่ว If one speaks or acts with a wicked mind, ความทุกข์ย่อมติดตามตัวเขา Then suffering follows him เหมือนล้อหมุนเต้าตามเท้าโค Even as the wheel the hoof of the ox. ในทางวิทยาศาสตร์ มีการทาการทดลองไว้มากมายในเรื่องความสัมพันธ์กันระหว่างร่างกายและ จิตใจ โดยเฉพาะในประเด็นที่ว่าสุขภาพของจิตใจมีอิทธิพลต่อสุขภาพของร่างกายหรือของชีวิตโดยรวม กล่าวคือ ถ้าบุคคลนั้นมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข มองโลกในแง่ดี เบิกบานไม่เครียด ไม่ขี้โกรธ มีจิตใจที่สงบเป็นสมาธิ คนผู้ นั้นก็จะมีภูมิต้านทานในร่างกายที่แข็งแรง ระบบในร่างกายสามารถผลิตเม็ดเลือดขาว (White Blood Cell) ได้มาก ขึ้นเพื่อป้องกันและกาจัดเชื้อโรค แม้แต่เซลล์มะเร็ง (Cancer Cell) ก็สามารถถูกทาลายได้ด้วยเม็ดเลือดขาว T-Cell และ B-Cell ที่เกิดจากการมีสุขภาพจิตที่ดี จิตใจที่สงบและมีสมาธินั่นเอง และในทางตรงกันข้าม ถ้าบุคคลใดมี สุขภาพจิตที่ไม่ดี ขี้เครียด วิตกกังวล ขี้โกรธ อมทุกข์เศร้าหมอง สมองจะส่งสัญญาณให้ภูมิต้านทานในร่างกายตก ต่าลง เม็ดเลือดขาวถูกผลิตน้อยลงและอ่อนแอจนกระทั่งโรคภัยไข้เจ็บต่างๆสามารถเข้ามาเบียดเบียนได้ โดยสะดวก บุคคลนั้นก็จะมีสุขภาพอ่อนแอ มีโรคมาก ส่งผลให้ใจยิ่งเศร้าหมองหนักไปอีก...นี่แหละคือความจริงที่ เกิดขึ้นในชีวิตของเรา ดังนั้น คงเห็นแล้วใช่ไหมว่า.... “จิตใจ” เป็นนายใหญ่และมีความสาคัญกับชีวิตของเรา อย่างไร จะสุข จะทุกข์ จะดี จะชั่ว ก็อยู่ที่ใจดวงนี้ของเรานั่นเอง ......ถ้าเช่นนั้นเราจะมาศึกษาไปด้วยกันถึง “ศิลปะในการพัฒนาจิตใจ” หรือ “วิธีการในการสร้าง เสริมและรักษาจิตใจของเราให้มีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข และไม่มีความทุกข์” ว่าทาได้อย่างไรกัน ทั้งในขอบเขต ของจิตวิทยา และศาสนาที่สามารถนามาปฏิบัติให้เห็นผลได้จริง.....มีคนเคยบอกว่า “เราไม่สามารถอิ่มได้ด้วย อาหารที่ผู้อื่นเคี้ยว” ดังนั้นถ้าอยากจะมีจิตใจที่เปี่ยมสุขอย่างแท้จริง ก็ต้องปฏิบัติด้วยตัวของเราเอง โดยเริ่มที่ใจ ของเราก่อน.......
  • 4. 4 สุขภาพจิต (Mental Health) สุขภาพ หมายถึง สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม สุขภาพจิต หมายถึง สภาพชีวิตที่เป็นสุข มีความสมบูรณ์ทางจิตใจ สามารถปรับตัวหรือความ ต้องการของตนได้เมื่อมีปัญหาต่างๆ รวมทั้งสามารถปรับปรุงตนเองให้เข้ากับบุคคลที่อยู่ร่วมสังคม ร่วม สภาพแวดล้อม โดยไม่ก่อความเดือดร้อนให้กับตนเองและผู้อื่น ทั้งยังก่อให้เกิดผลดีและประโยชน์แก่ตนเองและ สังคมด้วย ลักษณะของคนที่มีสุขภาพจิตที่ดี บุคคลที่มีสุขภาพจิตที่ดี ไม่ใช่บุคคลที่ไม่เคยประสบปัญหาในชีวิตเลย เพียงแต่เขาสามารถจัดการ กับปัญหาของเขาได้อย่างเหมาะสม ไม่สร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเองและผู้อื่นเป็นสาคัญ นอกจากนี้บุคคลก็ ต้องมีพื้นฐานลักษณะบุคลิกภาพบางประการที่เอื้ออานวยต่อการเป็นผู้มีสุขภาพจิตดี ดังนี้ 1. มีสุขภาพกายดี บุคคลที่มีสุขภาพกายดี สมบูรณ์ แข็งแรง และไม่เจ็บป่วยด้วยโรค ต่างๆ ย่อมทาให้เกิดอารมณ์ที่มั่นคง มีความสุขกายสบายใจ และทาให้สุขภาพจิตดีไปด้วย 2. รู้จักและเข้าใจตนเองได้ดี ซึ่งประกอบด้วยลักษณะดังนี้ 2.1 รู้จักตนเองว่ามีความสามารถ มีสุขภาพ มีสติปัญญาและฐานะทางเศรษฐกิจ อยู่ในลักษณะใด 2.2 มีความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจได้ด้วยตนเอง รู้สึกถึงคุณค่าในตนเอง 2.3 รู้จักแต่งกายและมีบุคลิกภาพที่เหมาะสมกับกาลเทศะ 2.4 ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ รู้จักวิธีการควบคุมอารมณ์ 2.5 รู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ไปในทางที่สร้างสรรค์ ไม่ท้อแท้ต่อชีวิต และใช้เวลาทุกนาทีอย่างมีคุณค่าต่อชีวิต 2.6 ปรับตัวได้ดีในสถานการณ์ต่างๆ รู้จักวิเคราะห์ปัญหา การวางแผนแก้ปัญหา และประเมินผล เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่จะนาไปใช้แก้ปัญหาในโอกาสต่อไป 2.7 มีความพอใจในสภาพของตนและรู้สึกมีความมั่นคงในชีวิต 3. รู้จักและเข้าใจผู้อื่นได้ดี ได้แก่ลักษณะดังนี้ 3.1 มีมนุษย์สัมพันธ์กับผู้อื่นด้วยใจที่บริสุทธิ์ มิใช่มุ่งหวังผลประโยชน์ 3.2 เข้าใจและยอมรับว่าคนทุกคนมีความแตกต่างกันในด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา 3.3 มีความรับผิดชอบต่อการกระทาของตน และรับผิดชอบต่อเพื่อนบ้าน เพื่อน ร่วมงานและบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีเมตตา(อยากให้ผู้อื่นมีความสุข) และให้ความกรุณา (อยากช่วยให้ผู้อื่นพ้น จากความทุกข์) ต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์
  • 5. 5 4. เข้าใจความเป็นจริงของธรรมชาติแห่งชีวิตได้ดี ได้แก่ 4.1 เข้าใจว่า ชีวิต เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม ถ้าสิ่งแวดล้อมเสียไป ชีวิตจะไม่ สามารถอยู่ได้ ดังนั้นจึงมองเห็นคุณค่าและพร้อมที่จะรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดารงอยู่ 4.2 ยอมรับความจริงแห่งชีวิตได้ว่า ชีวิตย่อมมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นจึง สามารถปรับตัวให้เข้ากับกระแสของการเปลี่ยนแปลงได้ทุกๆ เวลา 4.3 กล้าแสดงออกเพื่อปกป้องความถูกต้อง ความยุติธรรม และคุณธรรมใน สังคมด้วยสติ และไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน 4.4 สามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบทางสังคมซึ่งถูกกาหนดขึ้นเป็นกติกาของการ อยู่ร่วมกันได้ เช่น ปฏิบัติตามกฎหมาย จารีต ประเพณี และขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ 4.5 ตระหนักถึงหน้าที่ของตนที่ต้องรับผิดชอบไม่เฉพาะตนเองและครอบครัว เท่านั้น แต่ต้องรับผิดชอบต่อสังคมด้วย จากลักษณะดังกล่าว ชี้ให้เห็นว่า บุคคลที่เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อื่น และเข้าใจ ชีวิต จะเป็นบุคคลที่ปรับตัวและมีสุขภาพจิตที่ดี (วิภาพร, ม.ป.ป.: 454-455) การบริหารอารมณ์หรือจิตใจอย่างฉลาด (E.Q. - Emotion Quotient( การที่คนเราจะมีสุขภาพจิตที่ดี เบิกบานสุขสดใสได้นั้น การดูแล และบริหารอารมณ์ของ ตนเองและแสดงมันออกมาได้อย่างเหมาะสมเป็นสิ่งที่สาคัญ ความรู้สึกด้านลบ หรือ ความโลภ โกรธ หลง ที่เป็น รากเหง้าแห่งความทุกข์ในจิตใจ นั้น มันจะแสดงตนออกมาเป็นสภาวะที่เราคุ้นเคยกันดี ที่เรียกว่า “อารมณ์” อารมณ์ (Emotion) หมายถึง สภาวะของจิตใจที่เกิดความปั่นป่วน เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น ทาให้เกิดภาวะที่ผิดไปจากธรรมดา แสดงออกมาเป็นความรู้สึกพอใจ หรือ ไม่พอใจ เช่น โกรธ กลัว โศกเศร้า เสียใจ เบื่อหน่าย ดีใจ หรือ ตื่นเต้น เป็นต้น และอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางปัญญา กริยาอาการภายนอก การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา และด้านแรงจูงใจ (วิภาพร มาพบสุข, ม.ป.ป.: 290) หากจะถามว่า คุณสมบัติใดที่จะทาให้บุคคลผู้หนึ่งมีความสุขและประสบความสาเร็จใน ชีวิต.....ถ้าตอบว่า I.Q. หรือความสามรถทางด้านสติปัญญาหรือศักยภาพของสมองแล้ว คาตอบนี้ถูกเพียงครึ่ง เดียวเท่านั้น E.Q. หรือ การบริหารอารมณ์อย่างฉลาด เป็นทักษะหนึ่งที่กาลังกล่าวถึงกันมากใน ปัจจุบัน และเป็นที่ยอมรับกันทุกวงการแล้วว่าเป็นปัจจัยหนึ่งที่สาคัญที่สุดสาหรับการมีความสุขและประสบ ความสาเร็จในทุกด้านของชีวิตอย่างแท้จริง
  • 6. 6 “การบริหารอารมณ์อย่างฉลาด” หรือ “EQ” หมายถึง ความสามารถในการ บริหารอารมณ์ให้เป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ มีความ เข้าใจในอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น รู้จักควบคุมอารมณ์ของตนเองอย่างมีเหตุผล รู้จักข้อดีข้อเสียของตนเอง รู้จักผิดชอบชั่วดี สามารถสร้างแรงขับเคลื่อนจาก ภายในเพื่อผลักดันตนเองไปสู่เป้าหมายอย่างมีสติและปัญญา และท้ายที่สุดคือ มี ทัศนคติที่ดีต่อชีวิต มองโลกในแง่ดี สามารถสร้างสรรค์อารมณ์ในด้านบวก และสามารถ จัดการกับความเครียดหรือแก้ปัญหาได้อย่างรอบคอบและรู้เท่าทัน หรือ อธิบายอย่างง่ายๆ ว่า E.Q. ก็คือ ความสามารถในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขและอย่างสร้างสรรค์นั่นเอง กล่าวได้ว่า การเฝ้าติดตามดูอารมณ์ของตนเอง และบริหารมันอย่างฉลาด มีสติ และรู้เท่า ทัน เป็นการเข้าถึงแก่นแท้ของความสับสนทางอารมณ์ทั้งมวล ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานของความสุข ความสาเร็จใน ชีวิต ตามหลักการของ E.Q. มนุษย์สามารถใช้ทักษะในการบริหารอารมณ์เพื่อจัดการปรับเปลี่ยนอารมณ์ในแง่ลบที่ เกิดขึ้นให้กลายเป็นอารมณ์ในแง่บวกได้ การศึกษาเรื่อง E.Q. จึงมีความสาคัญที่จะช่วยเสริมสร้างทักษะในการบริหารอารมณ์เพื่อ สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ง่าย ใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างไม่มีอคติและไม่เอาความคิดของตน เป็นใหญ่ สามารถปรับมุมมองความคิดและมีทัศนคติที่ดีต่อตัวเองและคนรอบข้าง รู้เท่าทันอารมณ์ของตนเอง มี ความสุขง่าย เกิดความทุกข์ยาก และตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง......เมื่อใดที่เกิดอารมณ์ในด้านลบขึ้น คนที่มี ทักษะในการบริหารอารมณ์ที่ดี หรือคนที่มี E.Q. สูง จะรู้จักปรับเปลี่ยนอารมณ์ดังกล่าวให้เป็นอารมณ์ใน ด้านดีได้ และรู้จักสร้างเกราะป้องกันการเกิดอารมณ์ที่ไม่พึงปรารถนาอย่างมีสติ (mindfulness) และรู้เท่า ทัน (consciousness) ในครั้งต่อๆ ไป องค์ประกอบของ E.Q. 1. มีความรู้ความเข้าใจในอารมณ์ของตนเอง )Self Awareness) หมายถึงการรู้ให้เท่าทันอารมณ์ที่เกิดขึ้นในทุกขณะของตน เช่น หากเรากาลังโกรธ เราก็สามารถรู้ว่าเรากาลังโกรธ อยู่ ซึ่งก็ทาให้เราสามารถควบคุมตัวเองได้ในระดับหนึ่ง....การรู้จัก รู้ใจตนเอง จะทาให้เราไม่ต้องตกเป็นทาสของ อารมณ์ในแง่ร้ายอื่นๆ 2. มีความสามารถในการจัดการกับอารมณ์ของตนเองได้ )Managing Emotion) หมายถึง การเรียนรู้ที่จะจัดการกับอารมณ์ที่เกิดขึ้นของตัวเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. มีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับคนอื่น )Social Skills) หมายถึง การเป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมอย่างมีความสุขและราบรื่น สร้างสรรค์ 4. มีความเห็นใจผู้อื่น )Empathy) หมายถึง สามารถรับรู้และเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เกิดความเห็นใจต่อกัน
  • 7. 7 5. มีความสามารถในการสร้างแรงจูงใจให้กับตนเองได้ )Motivating Oneself ) หมายถึง มีความสามารถในการรู้จักและความเข้าใจกับอารมณ์และความต้องการของตัวเราเอง ว่าเรานั้นมีความ ต้องการ มีความปรารถนาอะไรบ้าง และสามารถจัดการกับความต้องการหรือ ความปรารถนาเหล่านั้นให้เป็นจริง ขึ้นได้ โดยส่วนใหญ่แล้วจะต้องอาศัยความอดทน รู้จักการรอคอยเวลาและความสาเร็จ รู้จักมองโลกในแง่ดี มีความ ซื่อสัตย์ มีความคิดใหม่ๆ ที่สร้างสรรค์ มีพลังอันแรงกล้า และมีความพยายาม เป็นต้น ลักษณะของผู้ที่มี E.Q. สูง 1. เป็นผู้ที่สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข และเป็นคนมองโลกในแง่ดี 2. เป็นผู้ที่รู้จักจิตใจและอารมณ์ของตนเองเป็นอย่างดี 3. เป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ดี 4. เป็นผู้ที่มีความสุขในชีวิตอย่างแท้จริง 5. เป็นผู้ที่มีเหตุผล จิตใจหนักแน่นมั่นคง และมีคุณธรรม 6. เป็นผู้ที่มีมองเห็นคุณค่าความดีงามในตัวเองและมีความเชื่อมั่นในตนเอง 7. เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบสูงในเรื่องต่างๆ 8. เป็นผู้ที่สามารถเข้าใจในความแตกต่างของผู้อื่นเสมอ นามาซึ่งความเห็นอกเห็นใจ การให้อภัยและลดความขัดแย้ง 9. เป็นผู้ที่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข E.Q. ที่ดีต้องมีครบทั้ง 3 ส่วน คือ มีอารมณ์ในด้านที่ดี...... มีความคิดในด้านที่ดี.... มีการกระทาในด้านที่ดี....... จุดมุ่งหมายของ E.Q. คือ 1. มีสติ (conciousness) 2. มีพลังความคิด 3. รู้จักและเข้าใจในคุณค่าและความหมายของชีวิต 4. มีความสามารถในการสื่อสารกับผู้อื่น หลักการบริหารอารมณ์อย่างฉลาด - เข้าใจผู้อื่นมากขึ้น........เอาใจเขามาใส่ใจเรา.....จงปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างที่ต้องการให้เขาปฏิบัติ ต่อเรา - หาข้อดีของตัวเองให้เจอ.....คนเราล้วนสวยงามและแตกต่าง - แก้ไขข้อบกพร่อง.....ยอมรับในตนเองและพร้อมในการเปลี่ยนแปลงสู่สิ่งที่ดีกว่า
  • 8. 8 - ใช้สตินาทาง....ระลึกรู้เท่าทันอารมณ์ ความคิด และการกระทาของตน เลือกที่จะกระทาในสิ่ง ที่ดี และยับยั้งไม่ทาในสิ่งที่เป็นทุกข์โทษ - รับมือกับอุปสรรคด้วยปัญญา มีเทคนิค คือ ...... 1. อันดับแรก มองว่าอุปสรรคนั้นไม่มีตัวตน 2. ให้คุณลองหาจุดที่ดีของอุปสรรคว่ามีอะไรบ้าง 3. ให้คุณใช้ความคิดหาเหตุผลว่าทาไมจะต้องจัดการกับอุปสรรคนั้นๆ 4. คุณควรใช้จินตนาการในการคิดภาพการแก้ไขอุปสรรคนั้นๆ ของคุณเองก่อนการลง มือปฏิบัติจริงๆ 5. ขั้นสุดท้ายลงมือปฏิบัติจริงๆด้วยกาลังใจและไม่ย่อท้อ แม้ไม่สาเร็จก็พยายามหาวิธี ใหม่โดยอาศัยการเรียนรู้ - สร้างสรรค์สังคม...บนพื้นฐานของการพึ่งพาอาศัยและเอื้ออาทร - ยิ้มและหัวเราะ...มีจิตใจที่สนุกสนานเบิกบาน ไม่เครียด - พิจารณาอารมณ์ด้วยความเข้าใจ...มีสติรู้เท่าทันอารมณ์ว่าในขณะนี้เรามีอารมณ์อะไรเกิดขึ้น หรือเรารู้สึกอย่างไร...และจัดการกับอารมณ์ที่เป็นด้านลบ...โดยการเฝ้าดู หรือ เอาใจของเรา ติดตามอารมณ์ในด้านลบนั้นไปเรื่อยๆ โดยไม่ต้องพยายามไปกดหรือทาลายมันแต่อย่างใด .....เมื่อถึงจุดๆ หนึ่งเราจะรู้สึกเหมือนกับว่าตัวเราและอารมณ์นั้นๆ ไม่ได้เป็นของกันและกันอีก ต่อไปแล้ว อารมณ์นั้นๆ ไม่ใช่ของเราอีกต่อไปแล้ว เป็นคนละส่วนกัน.....เมื่อมีสติรู้ทันเช่นนี้ อารมณ์ด้านลบ เช่น อารมณ์โกรธ เสียใจ เครียด เบื่อ เหงา ก็จะค่อยๆ คลายลง และหมดไป เอง....นี่แหละคือเทคนิคในการรู้อารมณ์ เพื่อตัดตอนอารมณ์ที่ไม่ดี ไม่ให้มามีอิทธิพลหรือบง การเราได้..จิตใจของเราก็จะเบิกบานได้อย่างอิสระ - เชื่อมใจกับธรรมชาติ.....หาวิธีสัมผัสกับธรรมชาติที่บริสุทธิ์หรือใช้ชีวิตที่สอดคล้องกับธรรมชาติ เพื่อสร้างสรรค์จิตใจที่อ่อนโยนและสุขภาพทั่ดีมีสุข - นาพลังความรักมาใช้ให้เป็นประโยชน์ - กลุ้มนักก็พักเสียก่อน......โดยการ พยายามทาจิตใจของตนเองให้สงบมากที่สุด/ มองอุปสรรค หรือปัญหาที่มีนั้นในแง่ที่ดีไว้ก่อน/ไม่นาปัญหากลับมาสานต่อที่บ้าน/ให้อภัยเพื่อช่วยลด ความเครียด/หยุดตัวเองสักพักก่อนลุยงานต่อ - ฝึกเป็นคนที่สุขง่าย แต่ทุกข์ยาก.....ค้นให้พบว่าความสุขอยู่ที่ใจ....และความพอเพียงของชีวิต .....คนที่สุขง่ายสามารถทาให้สิ่งรอบตัวของเขากลายเป็นสิ่งที่พิเศษไปได้...คนที่สุขง่ายอย่าง ฉลาดนั้น จะเลือกมองในส่วนที่ดี และเห็นสิ่งดีๆ ในสิ่งที่ไม่ดีเสมอ
  • 9. 9 - เป็นผู้ฟังที่ดีสรรสร้างมิตรภาพ....กระตือรือร้นในการฟัง/ใส่ใจในการพูดของผู้พูด/เปิดโอกาสให้ เขาพูดออกมาได้อย่างเต็มที่/ถามเมื่อสงสัย/แทรกอย่างมีมารยาท - รู้จักให้อภัย มีจิตใจที่ชุ่มเย็น - รู้เท่าทันความโกรธ...จัดการความโกรธด้วยสติและเหตุผล ไม่เก็บกด - ร่าเริงอยู่เสมอ..หัดยิ้มแย้ม และมองทุกๆสิ่งที่รายล้อมรอบตัวด้วยหัวใจที่เบิกบาน - ฝึกกากับลมหายใจเข้าออกเพื่อคลายความเครียดหรือวิตกกังวล โดยหายใจยาวๆ เข้าไปจน ท้องป่อง แล้วจึงค่อยๆผ่อนลมหายใจออกจนท้องค่อยๆยุบลงเรื่อยๆ ฝึกเป็นประจาวันละ 10- 20 นาที เพื่อเสริมสร้างสมาธิ - ใช้ธรรมะดับความรุ่มร้อน.....เมื่อมีความทุกข์จงทาใจยอมรับกับความทุกข์ที่เกิดขึ้น (ทุกข์) จากนั้นจึงพิจารณาหาสาเหตุแห่งความทุกข์(สมุทัย)แล้วจึงค่อยกาหนดเป้าหมายในการแก้ไข ปัญหาหรือความทุกข์เหล่านั้น (นิโรธ) แล้วเดินหน้าในการแก้ไขปัญหานั้นโดยการแก้ไขที่ สาเหตุของปัญหาหรือความทุกข์จนกระทั่งปัญหาได้รับการสะสางจนลุล่วงไป (สมุทัย)...นี่เป็น เทคนิคการแก้ปัญหาแบบ “อริยสัจ” - รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น วิพากษ์วิจารณ์ให้เป็นบนพื้นฐานของความจริงใจและห่วงใย - มีจุดมุ่งหมายในชีวิตที่ชัดเจน เพื่อสร้างพลังและคุณค่าแก่ชีวิต - สร้างเกราะป้องกันความทุกข์......โดยการ ทาตัวเองให้มีอารมณ์ที่ดีอยู่เสมอ/ควบคุมจิตใจของ ตนเองให้สงบเยือกเย็น/ดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์อยู่เสมอ/ควรสร้างขวัญและ กาลังใจให้เกิดกับตนเองมากๆ - รู้จักไว้วางใจผู้อื่น...แต่ก็มีความระมัดระวัง ถ้ามีอะไรไม่ชอบมาพากลก็สามารถถอยออกมาได้ โดยไม่รู้สึกแย่ - รู้จักรักและเห็นคุณค่าในตนเอง บนพื้นฐานของการเข้าใจและจริงใจต่อตนเอง - ยอมรับการเปลี่ยนแปลง อย่างผู้ที่เข้าใจชีวิตและโลกเพื่อสร้างภูมิคุ้มใจให้เข้มแข็ง ( สัณห์ ศัลยศิริ และคณะ, 2548: 14-149)
  • 10. 10 ปัญหาทางจิตใจ – ความเครียด (Mental Problem – Tension) เป็นเรื่องธรรมดาที่ไม่ธรรมดาสาหรับโลกในยุคปัจจุบันที่คนในสังคมต่างก็ประสบปัญหา ทางจิตใจกันอย่างกว้างขวาง บางคนมีพื้นฐานทางจิตใจที่ดี มีความสุข มั่นคง เข้มแข็ง มี E.Q. สูง ปัญหาทางจิตใจ ก็น้อยกว่าเมื่อเทียบกับคนที่ยังไม่ได้หันมาสารวจ และปรับปรุงพัฒนาจิตใจของตนหรือยังไม่มีสติรู้เท่าทันตนเอง เมื่อเกิดเหตุการณ์ใดๆ ที่ไม่พอใจขึ้น ภาวะความทุกข์ กดดัน บีบคั้น ก็ยังเกิดขึ้นในจิตใจ บั่นทอนให้ชีวิตของคนผู้ นั้นไม่มีความสุข หมดกาลังใจที่จะทาอะไร ภาวะแห่งความทุกข์ บีบคั้น ไม่พอใจ หรือไม่สบายใจนี้คือ “ความเครียด” ซึ่งเป็นภาวะของอารมณ์ทางลบ นั่นเอง แต่ถ้าจะมองในอีกแง่หนึ่ง ชีวิตก็ต้องการการตึงเครียด เพื่อเป็นพลังผลักดันให้เราไปสู่ ความสาเร็จ ดังนั้นการเคร่งขรึมเคร่งเครียดเอาจริงเอาจัง และวิตกกังวลต่อการเรียน การงาน การดาเนินชีวิต และ การดารงชีวิตของเราจึงไม่ใช่อาชญากรรม คนที่ประสบความสาเร็จในการงานคือคนที่ทุ่มเทชีวิตให้กับมันอย่างถึง ที่สุด.........แต่ปัญหาของคนอยู่ตรงไม่รู้จักความพอดี คนส่วนใหญ่ทุ่มเทความตึงเครียดให้ตัวเองมากที่สุด เพื่อจะได้ ประสบความสาเร็จที่สุด ที่สุดเหนือคนอื่น แต่ธรรมชาติก็เป็นธรรม มิได้ยินยอมให้คนเราแย่งได้แย่งเอาตาม อาเภอใจ ดังนั้นผู้ที่ทะเยอทะยานจะไม่บรรลุความสาเร็จที่มากเกินไปนานเกินไป เพราะความไม่รู้จักพอจึงถูก ร่างกายประท้วงด้วยความเจ็บป่วย อันเนื่องมาจากความเครียด ความเครียด เป็นตัวบั่นทอนสุขภาพทั้งกายใจ เป็นตัวชักนาให้เกิดโรคจิต โรคประสาท ความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะ ปวดศรีษะ เจ็บหน้าอก ปวดหลัง ท้องผูก ท้องเดิน เพลีย เวียนศรีษะ นอนไม่หลับ หรือแม้แต่มะเร็ง.....ดังนั้นเพื่อให้เราไม่ต้องมีชีวิตที่ย่าแย่ลงเพราะความเครียด...เราลองมาศึกษาถึงสาเหตุของ ความเครียด และวิธีในการแก้เครียดเพื่อสุขภาพจิตที่ดี กันดีกว่า สาเหตุของความเครียด (เพ็ชร ณ ป้อมเพ็ชร อ้างถึง ประเวศ วะสี, 2548: 57-62) 1. ไม่ได้ออกกาลัง....ทาให้สารอะดรีนาลินคั่งค้าง เกิดความไม่สมดุล ของระบบประสาท ทาให้ความเครียดเกิดขึ้น 2. ใช้สมองซีกซ้ายมากกว่าซีกขวา (หรือใช้ความคิด มากกว่าความรู้สึก ขาดความสมดุล) 3. ทางานที่จาเจซ้าซาก ขาดความสุขในการทางาน 4. เผชิญต่อสิ่งที่ไม่คุ้นเคย 5. รีบร้อน 6. ถูกบีบคั้นทั้งทางวัตถุ สังคม และจิตใจ 7. การทางานมากเกินไป 8. การหมกมุ่นอยู่กับอบายมุขต่างๆ 9. ไม่มีความหวังในอนาคต
  • 11. 11 10. ปัญหาทางอารมณ์ เช่นความกลัว ความวิตกกังวล และความโกรธ ฯลฯ วิธีแก้ไขความเครียด (เพ็ชร ณ ป้อมเพ็ชร, 2548:62-74) 1. พยายามทาความเข้าใจในชีวิตและสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง คลายความยึดมั่นถือ มั่นในสิ่งต่างๆ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยใจที่เข้มแข็ง สงบและปล่อยวาง 2. ออกกาลังกายทุกวัน เพื่อให้ร่างกายหลั่งสารสุข (สารเอนดอร์ฟิน) และระบายสาร เครียด หรือ อะดรีนาลิน ออกไป รักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง 3. พยายามหาสิ่งแวดล้อมที่เป็นคุณแก่สมองซีกขวา.....หรือให้เกิดความรื่นรมย์แก่ชีวิต เช่น ต้นไม้ ใบหญ้า หรือธรรมชาติ 4. หลีกความจาเจ ซ้าซาก ของชีวิต....สร้างความสุขสดใสในชีวิตและการทางาน โดย การมองสิ่งทีเรามี หรือ ที่เราทา หรือ ที่เราต้องเกี่ยวข้องในแง่ดี เห็นคุณค่าของสิ่ง เหล่านั้น รวมทั้งหาโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ๆ ที่สร้างสรรค์ 5. รู้จักหาความสุขให้ได้ทุกวัน ชื่นชมในสิ่งเล็กน้อยทุกอย่าง...มองสิ่งต่างๆ ผู้คน และ ชีวิตในแง่ดี 6. แก้ความบีบคั้นทางวัตถุ...มีชีวิตที่สันโดษ และพอเพียง เป็นอิสระจากวัตถุ 7. พยายามฝึกควบคุมอารมณ์ ใช้เหตุผล และความยุติธรรม 8. รู้จักเสียสละ รู้แพ้ รู้ชนะ มีเมตตา และให้อภัย 9. ดาเนินชีวิตสายกลาง ไม่ตึงหรือหย่อนเกินไป มีความเชื่อมั่นและศรัทธาในตนเอง 10. วางโครงการของชีวิตไว้อย่างเหมาะสม 11. ปรับตัวเองให้อยู่ร่วมในสังคมได้อย่างเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 12. มีความรักและพอใจในอาชีพหรือการงานของตน 13. ทาตัวให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม และช่วยเหลือผู้อื่นบ้าง 14. หมั่นตรวจสอบและปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ เปิดทางเลือกให้แก่ชีวิต 15. เมื่อมีปัญหาควรปรึกษากับบุคคลที่เราไว้ใจและเข้าใจที่สามารถแนะนาสิ่งที่ดีแก่เรา ได้ 16. อย่าคาดหวังอะไรในชีวิตให้มากเกินไป รู้จักปล่อยวางเสียบ้าง อย่าเป็นคนสมบูรณ์ แบบที่ต้องทุกข์เพราะไม่ได้ดังใจและขี้หงุดหงิด 17. จงมานะและอดทน ที่จะสู้ชีวิตต่อไป ความล้มเหลวมักจะมาก่อนความสาเร็จเสมอ คนเราจะสาเร็จได้ มักจะต้องอาบเหงื่อและน้าตามาก่อน 18. เป็นคนสร้างสรรค์........ดร.เบิร์นส์ นักจิตวิทยา แนะให้แก้ความเฉื่อยชา ด้วยการเขียน แผนกิจกรรมของแต่ละวัน ตั้งแต่ตื่นนอนตอนเช้าจนถึงเข้านอนตอนกลางคืน เพื่อฝึก ความกระตือรือร้น และอาจมีความคิดที่จะพัฒนาชีวิตของตนเองได้อย่างสร้างสรรค์
  • 12. 12 19. แบ่งเวลาพักผ่อนให้เหมาะสม...รมีกิจกรรมหรืองานอดิเรกที่ผ่อนคลายที่ตนชื่นชอบ 20. พยายามยิ้มหรือหัวเราะ ท่าทางของเราสามารถปรุงแต่งอารมณ์ของเราได้ เช่น หาก รู้สึกเศร้า จงอย่าเดินเอื่อยเฉื่อย ตรงกันข้าม จงเดินด้วยท่าทางทะมัดทะแมง ยิ้มและ หัวเราะ...เพียงการพยายามฝืนใจเล็กๆน้อยๆ เหล่านี้สามารถเปลี่ยนอารมณ์ของเรา ให้ดีขึ้น
  • 13. 13 กาลังใจ ^__< ในการสร้างเสริมสุขภาพของจิตใจให้แข็งแรง มีชีวิตที่ดีและมีความสุขนั้น นอกจากการ จัดการกับปัญหาสาคัญที่บั่นทอนสุขภาพโดยตรง คือ เรื่องของ “ความเครียด” แล้ว อีกเรื่องหนึ่งที่ไม่ควร มองข้าม ก็คือ ภาวะของจิตใจที่ไร้ซึ่งพลังความคิดฝัน ไร้ซึ่งเรี่ยวแรงในการต่อสู้ และไร้ซึ่งความเบิกบานสดใส ซึ่งเป็นสภาวะที่คนทั่วไป ต่างเคยได้สัมผัสมาแล้วทั้งนั้น นั่นก็คือ ภาวะของการขาด “กาลังใจ”………เป็น ความจริงที่ว่าชีวิตของเราทุกคน ต่างเคยประสบพบเจอเรื่องราวทั้งสุขและทุกข์ในชีวิต คนที่พบเจอกับ ความสุข ความสมหวัง ก็เป็นธรรมดาที่เขาจะมีกาลังใจ หรือพลังในการดาเนินชีวิตต่อไป แต่สาหรับคนที่ต้อง เจอกับความทุกข์ ความผิดหวัง หลายๆ คนต้องทุกข์ทรมานกับความเศร้าโศก เสียใจ ไม่มีแรงกายแรงใจที่จะ คิดหรือทาสิ่งใดได้ อาจจะหนักหนาถึงขั้นเกลียดตัวเอง เกลียดผู้อื่น ประชดชีวิต หรือไม่อยากจะทนมีชีวิตอยู่ ต่อไปได้......ถ้าเราต้องตกอยู่ในภาวะเช่นนี้เราจะทาอย่างไรเพื่อสร้างเสริมพลังใจให้เกิดมีขึ้นอีกครั้ง..... …...ความเฉื่อยชา ความขี้เกียจ เป็นอุปสรรคของชีวิต คนเรานั้น จะพุ่งขึ้นสู่ที่สูง สวย สง่า ดุจน้าพุร้อนได้.......เมื่อคนๆนั้น “สามารถเจาะผ่านก้อนหินของความเฉื่อยชา เกียจคร้านไปได้” มีสิ่งเดียวในชีวิต ที่จะสามารถพิชิตได้ โดยไม่ต้องใช้ความพยายามมากมายเลย นั่นก็คือ ความล้มเหลว วิธีการสร้างกาลังใจให้แข็งแกร่ง 1. พยายามรักษาสุขภาพกายและจิตใจให้ดีอยู่เสมอ เพี่อเป็นพลังในการต่อสู้ชีวิต เว้นวรรคให้ชีวิตได้พักบ้าง โดยเฉพาะจิตใจที่เหนื่อยล้าจากความเครียด ความทุกข์ ความกดดัน หันมาดูแลจิตใจตนเอง ปล่อยให้ใจของเราได้พักโดยการทาสมาธิผ่อนคลายให้ใจสงบ ปล่อยวาง เรื่องที่เราทุกข์ต่างๆ แล้วจะพบว่าที่จริงแล้ว ความทุกข์เกิดจากการที่ใจเราไปยึดติดอยากที่จะให้สิ่งต่างๆ เป็นอย่างใจ ถ้าเราเข้าใจความจริงว่า เงินทอง ตาแหน่งการงาน คาชื่นชม คาตาหนินินทา ความสุข ความ ทุกข์ มันไม่มีอะไรแน่นอน ขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยมากมายที่เราไปควบคุมบังคับไม่ได้ เราทาได้เพียง ดูแลใจ ของเรา ปรับปรุงพัฒนาตนเองตามความสามารถด้วยใจที่ปล่อยวางและสงบ แล้วเราจะพบว่า
  • 14. 14 กาลังใจสร้างได้เสมอตราบใดที่ใจของเราพร้อมและต้องการ...จงยิ้มและลุกขึ้นสู้...เราสามารถสร้าง ชีวิตใหม่ของเราได้ทุกวินาที....เรื่องที่ผ่านไปแล้วแม้ชั่ววินาทีก็เป็นเพียงอดีตที่ไร้ตัวตน “ปัจจุบันขณะ” นี้เท่านั้นที่เป็นความจริง ที่เป็นชีวิตที่กาลังดารงอยู่...และจงใช้มันให้คุ้มค่าที่สุด ที่สาคัญอย่า ลืมเติมความสดใสเบิกบานให้แก่ชีวิต..อย่าปล่อยให้ใครหรือสิ่งใดมาทาให้เราทุกข์ได้....เพราะแท้จริงแล้ว สุข ทุกข์อยู่ที่ใจหรือ ความคิด ความรู้สึกของเราเท่านั้น...จงสู้ต่อไปด้วยใจที่เป็นอิสระและเต็มเปี่ยมไปด้วยความ รักตนเองและเพื่อนมนุษย์ 2. ค้นหาความดีงามในตัวเองให้พบ...ดีและเก่งในแบบของเรา เพื่อสร้างความ ภาคภูมิใจและคุณค่าในสิ่งที่ตนเป็ น อย่าดูถูกตนเองแต่ก็อย่าละเลยหรือตามใจตนเองจนกลายเป็นคน เห็นแก่ตัว......ตราบใดที่คุณมีคุณธรรม คุณก็สามารถภูมิใจในตนเองได้แม้ว่าจะไม่มีเงินเลยสักบาท...เพราะ อย่างน้อยคุณก็ยังได้ทาสิ่งดีๆ ให้แก่โลกใบนี้....ความจริงใจ น้าใจ และมิตรไมตรีนี่เองคือความสวยงามของ มนุษย์ 3. มองโลกในแง่ดี.....ถ้าสมหวังถือเป็นรางวัลแก่ชีวิต แต่ถ้าผิดหวัง ให้ถือเป็นบทเรียน ถือเป็นครูของเรา....จาไว้ว่า“สิ่งใดเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดีเสมอ”.....ถ้าไม่เคยเจอความทุกข์ ความผิดพลาดเลย ชีวิตก็จะอยู่อย่างไร้ภูมิคุ้มกัน.....“ไฟ สามารถหลอมเหล็กธรรมดาให้เป็นเหล็กกล้า ได้ฉันใด ความทุกข์และอุปสรรคก็สามารถหลอมใจธรรมดาให้แข็งแกร่งดุจเหล็กกล้าได้ฉันนั้น 4. ควรให้รางวัลแก่ชีวิตบ้าง....ไม่ว่าจะผิดหวังหรือสมหวัง...จงรักตนเองและภูมิใจใน ความเป็ นนักสู้ของตนเอง.....รู้จักสารวจ ตักเตือนตนเอง....ทาหน้าที่ให้สุดความสามารถ...แม้ว่า ผลงานจะไม่ดีที่สุดในสายตาใครๆ แต่ถ้าสาหรับตัวเรา เราได้ทาเต็มที่แล้ว และสามารถไหว้ตัวเองได้ ...ก็คงพอแล้วสาหรับความอิ่มใจ ความภูมิใจ และความเหน็ดเหนื่อยในวันนี้….จงรักและศรัทธาใน ตนเอง โอบกอดและชื่นชมตนเอง 5. อย่ายอมแพ้ ล้มแล้วต้องรีบลุก....การยอมแพ้ที่แท้จริง คือ การยอมแพ้ต่อกิเลสตัณหา หรือจิตใจด้านไม่ดีของตน.....ความเกียจคร้าน ความเบื่อหน่าย ท้อแท้ล้วนเป็นกิเลสที่บั่นทอนให้ชีวิตเสื่อมลง .....จงลุกขึ้นสู้ด้วยแรงกาย แรงใจ บวกด้วยสติปัญญา...การสู้ชีวิตอย่างฉลาดจะต้องไม่ให้ ทุกข์เกิดขึ้นแก่ จิตใจ....เข้าทานอง เหนื่อยกายแค่ไหน แต่ใจยังเบิกบาน และยิ้มได้แม้จะอยู่ท่ามกลางปัญหาที่หนักหนา เพียงใด 6. จงใช้ความกลัวเป็นตัวสร้างกาลังใจ เช่นกลัวสอบตก ก็จงมุมานะอ่านหนังสือ แต่ก็อย่า เป็นทาสของความกลัว จงใช้ความกลัวหรืออุปสรรคแปรเปลี่ยนเป็นพลัง ทาไปให้สุดความสามารถ จงมั่นใจ ว่าเมื่อเราสร้างเหตุปัจจัยที่ดี ย่อมได้รับผลที่ดี 7. นึกถึงจุดมุ่งหมายของชีวิตที่เราต้องการ...และจงเพียรพยายามเพื่อไปถึงจุดหมาย ปลายทางนั้นด้วยหัวใจของนักสู้ผู้ที่ศรัทธาในตนเองและสิ่งที่ตนทา อย่างไม่ยอมแพ้ต่อความยากลาบาก
  • 15. 15 8. ควรหาโอกาสศึกษาประสบการณ์ หรือเรื่องราวชีวิตของผู้ที่สามารถต่อสู้กับปัญหาและ อุปสรรคในชีวิตของตน หรือผู้ที่ประสบความสาเร็จ หรือผู้ที่มีชีวิตที่น่าสนใจน่าชื่นชม รวมทั้งผู้ที่ทาความดี เสียสละเพื่อสังคม .....ซึ่งอาจะทาให้เราได้รับข้อคิด แนวทางการดาเนินชีวิตรวมทั้งกาลังใจจากนักสู้เหล่านั้น ...บทเรียนชีวิตเหล่านี้เป็ นได้ดังครูที่ดีของเรา...เมื่อเราทุกข์ อย่างน้อยก็รู้ว่ามีคนที่ทุกข์ยิ่งกว่าเรา แล้วเขาสามารถผ่านมันไปได้....เราเองก็น่าจะผ่านมันไปได้เช่นกัน 9. จงกล้าใฝ่ ฝันแล้วกล้าฟันฟ่ า......มนุษย์ทุกคนมีความกลัวเป็นพื้นฐานอยู่ในจิตใจ จน อาจจะทาให้ไม่กล้าทาสิ่งใดๆ กลัวที่จะผิดพลาด กลัวที่จะเริ่มต้นใหม่ ไม่กล้าที่จะเผชิญปัญหา ก็ย่อมทาให้ ขาดความก้าวหน้า ยากที่จะบรรลุเป้าหมายในชีวิต มีแต่ความทุกข์ และปิดกั้นโอกาสของความสาเร็จทุกๆ สิ่งของตนเอง ...........อย่าหยุดแค่ที่มีอยู่ จงกล้าที่จะเผชิญกับอุปสรรคและปัญหาที่อาจเกิดขึ้น มีเพียงจิตใจ ที่กล้าหาญ กล้าเผชิญหน้ากับความยากลาบากเท่านั้นที่จะสามารถฟันฝ่าไปได้........ชีวิตจึงเปรียบเสมือน เรือที่ต้องออกจากท่า เพื่อแล่นไปในท้องทะเลที่สวยงาม ดังนั้นอย่ากลัวที่จะเริ่มต่อสู้ชีวิต ดังคากล่าวที่ว่า “เรือที่จอดอยู่ในท่าจะปลอดภัยที่สุด แต่เรือมิได้ถูกออกแบบมาเพื่อจอดอยู่แต่ในท่า เราจะพบความสวยงามของมหาสมุทรได้อย่างไร หากไม่กล้าพอที่จะออกไปไกลจากฝั่ง จงกล้าที่จะใฝ่ฝันถึงความสวยงามของชีวิต และกล้าที่จะฟันฝ่าอุปสรรคเพื่อให้ถึงฝั่งฝัน” 10. จงบอกกับตนเองว่า ความล้มเหลวที่เกิดขึ้นนั้น เป็ นบทเรียนที่ช่วยให้ได้เรียนรู้ และฝึกความแข็งแกร่งให้กับจิตใจ หากพบกับความผิดหวังและล้มเหลวอีกครั้ง จะสามารถรับมือได้ อีก ทั้งยังได้เรียนรู้วิธีแก้ไขจากประสบการณ์ที่ผ่านมา.......จงใช้ความผิดหวังที่เกิดขึ้นเป็นประโยชน์ในการเตือน ตนเองให้มีความรอบคอบและมีความระมัดระวังในการทาสิ่งต่างๆมากขึ้น สารวจจุดเด่น จุดด้อยของตนเอง แล้วปรับปรุงจุดด้อยและพัฒนาจุดเด่นให้ดียิ่งขึ้น 11. จงเริ่มต้นคิดและตั้งเป้าหมายใหม่ให้ตนเองอีกครั้ง ไม่เสียดายกับสิ่งที่ผิดพลาด ล้มเหลวไปแล้ว รีบลงมือทาสิ่งใหม่ๆ เพื่อวันพรุ่งนี้ที่ดีกว่าเดิม
  • 16. 16 วันนี้ อาจะพบกับความผิดหวัง ล้มเหลว พ่ายแพ้ หรือ โศกเศร้า .....แต่ไม่เป็นไร.......เพราะว่าชีวิตจะเริ่มต้นใหม่ในวันพรุ่งนี้ จะมีโอกาสสาหรับพยายามใหม่และเริ่มต้นกันใหม่เสมอ.... อย่ามัวเสียเวลากับความล้มเหลว ....ชีวิตใหม่ เริ่มต้นได้ทุกวัน ศิลปะการสร้างความสุข กล่าวได้ว่า คนทุกคนล้วนแสวงหาความสุข แต่ไม่เข้าใจว่า “ความสุขแท้จริง” คืออะไร และจะแสวงหามันได้อย่างไร แม้ว่าโดยทั่วไปแล้ว คนรวยมีโอกาสหาความสุขได้มากกว่าคนจน ถ้าใช้เงินเป็นและทาใจ เป็น แต่ในโลกที่เป็นจริง เศรษฐีไม่ได้มีความสุข ความพอใจ มากกว่าคนรายได้ปานกลางหรือคนรายได้น้อย เสมอไป คนจนทั่วโลกก็ยังมีคนที่มีความสุขได้ในระดับต่างกัน แล้วแต่คน ความสุขจึงเป็นเรื่องที่ขึ้นกับ ปัจจัยหลายอย่างนอกจากเงิน ดังที่เราได้ศึกษามาแล้วว่า.....เป็นไปได้ที่ความสุขจะเริ่มต้นจากจิตใจที่ สงบสุขตั้งมั่น เข้มแข็ง อันเนื่องมาจากการเข้าใจธรรมชาติของชีวิตและสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง เป็น จิตใจที่กระทบแต่ไม่กระเทือน เป็นจิตใจที่มีความสุขได้เพราะความทุกข์ที่มีน้อยลง ความสุขคืออะไร นักจิตวิทยาอธิบายว่า “ความสุข” เป็นสภาพการณ์ทางจิตใจของมนุษย์เรา ซึ่ง ประกอบไปด้วยองค์ประกอบที่สาคัญ 4 อย่าง คือ 1. ความสาราญ (Pleasure) การมีอารมณ์ความรู้สึกที่ดี หรือ อารมณ์ในทางบวก ความสนุก ความพอใจ ความรื่นเริง ความปิติยินดี ความรู้สึกรักชอบพอ บางคน เรียกว่าความสุขทางโลก หรือ ความสุขทางกาย 2. การปลอดโปร่งจากสภาพที่ไม่น่าพึงพอใจ (Absence of displeasure) เช่น การมีอารมณ์เศร้า กังวล กลัว โกรธ รู้สึกผิด อิจฉา หรือละอาย
  • 17. 17 3. ความพึงพอใจ (Satisfaction) การตัดสินใจหรือการประเมินว่า คุณพึงพอใจ กับชีวิตของคุณโดยทั่วไปหรืออย่างน้อยในเรื่องหนึ่งเรื่องใดในชีวิตคุณ นั่นก็คือ ความสุขอยู่ที่การคิดพิจารณาของตัวเราด้วย ไม่ได้ขึ้นอยู่กับอารมณ์อย่างดียว 4. ความรู้สึกว่าชีวิตของคุณมีความหมาย มีเป้าหมาย หรือเป็นประโยชน์ต่อ คนอื่นๆ ในสังคม วิธีการสร้างความสุข (วิทยากร เชียงกูร, 2548: 22-27) 1. ตั้งใจจะมีชีวิตอยู่อย่างคนมีค่าและมีชีวิตชีวา 2. อย่ารีบมีปฏิกิริยาต่ออารมณ์ในทางลบทันที พยายามหยุดคิด เพื่อที่จะเรียนรู้ที่จะ ตระหนักถึงอารมณ์ของตนเองและค่อยตอบสนองในทางที่เป็นประโยชน์กับตัวเรา 3. รู้จักรักหรือเมตตากรุณาและให้อภัยต่อตนเองและผู้อื่น 4. การเป็นเพื่อนกับสิ่งที่เราไม่รู้ พอใจกับผลที่ไม่อาจคาดหมายได้ 5. พัฒนาความสัมพันธ์ที่ดีกับครอบครัวและเพื่อน 6. หาความหมายและความพอใจในการทางานและกิจกรรม 7. สร้างความสมดุลระหว่าง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต 8. เรียนรู้ที่จะมองคนและสิ่งต่างๆ ในแง่ดี 9. เรียนรู้เรื่องความพอเพียงในเรื่องเงินทองและการบริโภคสิ่งต่างๆ 10. ฝึกการมองเห็นความสวยงามในสรรพสิ่งต่างๆที่หลายคนอาจะมองข้าม 11. ยิ้ม หัวเราะ หาความเพลิดเพลินจากอารมณ์ขัน 12. มองเรื่องเป้าหมาย ความสาเร็จเป็นเรื่องการสนองความพอใจภายในของเรา มากกว่าขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอกที่เราควบคุมไม่ได้ เช่น เราเรียนเพราะเราอยากรู้ ทางานเพราะเราพอใจที่ จะทา 13. มีศรัทธาในศาสนาหรือความเชื่ออุดมการณ์บางอย่าง ที่ทาให้เรามีจุดยืนที่ แน่นอน พอทาความเข้าใจกับชีวิตและโลกว่ามีความหมายอย่างไร ทาให้เรารู้สึกว่าชีวิตนี้มีความหมาย มี ความมั่นคง 14. เรียนรู้การดูแลรักษาสุขภาพกาย สุขภาพใจของเราให้ดี 15. เปิดกว้างที่จะเรียนรู้ ขยายของเขตของประสบการณ์ เปิดหู เปิดตา ทากิจกรรม ใหม่ๆ ที่สร้างสรรค์ และเลือกจดจาประสบการณ์ที่ดีๆ ไว้ 16. เรียนรู้ว่าการมีความสุขไม่ใช่เรื่องที่ขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอก เท่ากับปัจจัยในตัว ของเรา เช่น วิธีการมองโลก และการตัดสินใจของเรา ว่าเราจะมองเห็นว่าสิ่งนั้นสิ่งนี้เป็นความสุขหรือไม่
  • 18. 18 ความสุขอยู่ที่ใจนั่นเอง......คอยดูแลชีวิตของเราเองในการสร้างความสมดุลระหว่างงาน ชีวิตครอบครัวและ ชีวิตทางสังคม รวมทั้งความสมดุลระหว่างความต้องการทางร่างกายและความต้องการทางจิตใจิตวิญญาณ ฯลฯ วิธีอื่นๆ นอกจากนี้ ....ลองมองหาด้วยตัวของคุณเอง...เพราะชีวิตทุกชีวิตย่อม สวยงามและแตกต่าง และอย่าลืมแบ่งปันความสุขนี้ให้กับผู้คนและชีวิตรอบข้างคุณนะ ศิลปะในการพัฒนาชีวิตเพื่อการมีสุขภาพจิตที่ดีและมีสุข ด้วยการฝึกสมาธิและเจริญสติ 1. จิตของเรา ชีวิตของคนเราดูแล้วหลากหลาย แตกต่างกันราวฟ้ากับดิน ชีวิตของคนแก่เฒ่ากับคนหนุ่มสาว คนรวยเป็นมหาเศรษฐีกับยาจก คนเก่งระดับดอกเตอร์กับคนไม่รู้หนังสือ อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ คนดีที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพหรืออาชญากรชั่วร้ายที่มีแต่คนสาปแช่ง ไม่ว่าคนเราจะมีสถานะภายนอกที่แตกต่างกันมากขนาดไหน ไม่ว่าคนเราจะนับถือศาสนาใด ผิวขาวผิวดา เชื้อชาติไหน พูดภาษาใดก็ตาม แต่ธรรมชาติของจิตสาหรับมนุษย์เราทุกคนที่มีความเหมือนกัน คือ ประภัสสร สะอาด สงบ ผ่องใสก็มีอยู่แต่ดั้งเดิม เหมือนน้าใสสะอาดที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เปรียบธรรมชาติของจิตกับน้า น้าที่ใสสะอาดมีอยู่แต่เดิม แต่เมื่อผสมเป็นน้าชา กาแฟ น้า ผลไม้ น้าซุป เมื่อนามาบริโภคก็ให้รสชาติ กลิ่น สี แตกต่างกันไปตามสิ่งที่นามาผสม ตรงกันข้าม น้าใส สะอาดที่ถูกเจือปนด้วยสิ่งสกปรก เป็นน้าซักผ้า น้าล้างจาน เป็นน้าเน่า ก็มีสีส่งกลิ่นเหม็น ทั้งสองกรณีนี้ไม่ ว่าน้าจะถูกเจือปนด้วยอะไรก็ตาม น้าที่เจือปนด้วยสี กลิ่น รส อยู่ที่ไหน น้าที่ใสสะอาดก็อยู่ที่นั่น เปรียบกับ จิตใจ จิตที่เศร้าหมอง ทุกข์ ไม่สบายใจอยู่ที่ไหน.......จิตที่เป็นประภัสสร สะอาด สงบ สบาย ก็อยู่ที่นั่น - จิตกับอารมณ์....... “จิต” คือ สภาวะที่รับรู้อารมณ์ บางทีก็เรียกว่า ผู้รู้ ธาตุรู้ สภาวะรู้ คือสิ่งเดียวกัน จิตทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ คาว่า “อารมณ์” ในภาษาธรรม หมายถึงสิ่งที่ถูกรับรู้ผ่าน อายตนะภายในทั้ง 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ดังนั้น อารมณ์ จึงได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส สิ่งสัมผัส ทางกาย และธรรมารมณ์หรืออารมณ์ทางใจ เช่น เมื่อตามองไปเห็นตุ๊กแก รูปตุ๊กแกก็เป็นอารมณ์ที่ปรากฏ
  • 19. 19 ทางตา เมื่อได้ยินเสียงตุ๊กแกร้อง เสียงตุ๊กแกก็เป็นอารมณ์ที่ปรากฏทางหู เมื่อเรานึกคิดปรุงแต่ง ไม่ว่าจะดี ชั่ว หรือ เป็นกลางๆ ความนึกคิดปรุงแต่งเหล่านั้น ก็เป็นอารมณ์ที่ปรากฏทางใจ เป็นต้น อารมณ์ที่เกิดขึ้นกับใจ ได้แก่ ความยินดีพอใจ (สุขเวทนา) ความยินร้ายไม่พอใจ (ทุกขเวทนา) หรือเกิดความรู้สึกเป็นกลางวางเฉย (อทุกขมสุขเวทนา) การดาเนินชีวิตของคนเรา สิ่งที่เรามีประสบการณ์ ทั้งพอใจ และไม่พอใจ มีเหตุปัจจัยจาก โลกธรรมแปด โลกธรรมฝ่ายน่าปรารถนา ได้ลาภ ได้ยศ สรรเสริญ สุข ทาให้เกิดยินดี พอใจ โลกธรรมฝ่ายไม่ น่าปรารถนา เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์ ทาให้เกิดยินร้าย ไม่พอใจ อย่างไรก็ตาม ความยินดี ยินร้าย เป็นอารมณ์ที่เกิดจากกิเลสตัณหา คือ โลภ โกรธ หลง ที่เข้ามาปรุงแต่งจิต แต่ไม่ใช่จิตซึ่งเป็นสภาวะที่รู้ อารมณ์ตามความเป็นจริง เป็นสภาวะของผู้รู้ เป็นธาตุที่มีแต่รู้ ๆ ๆ รู้แล้วปล่อยๆ ปล่อยวางจากอารมณ์นั้น มนุษย์ทุกคนล้วนมีประสบการณ์จากความทุกข์ ไม่ใช่เราเพียงคนเดียวที่มีทุกข์ บางคนทุกข์ มากถึงขั้นฆ่าตัวตาย แต่จริงๆ แล้ว ที่คนเราเป็นทุกข์กันอยู่ทุกวันนี้ ปัญหาครอบครัว ปัญหาสังคม ปัญหา ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลก ล้วนเกิดขึ้นเพราะเรามีความยึดมั่นถือมั่นกับอารมณ์กันทั้งนั้น ดังนั้นการ ดาเนินชีวิตของเรา จึงควรระมัดระวัง ไม่หลงในอารมณ์ ไม่ปล่อยให้อารมณ์มามีอิทธิพลครอบงาจิต วิธีการหนึ่งที่จะให้เราค้นพบตัวผู้รู้ ที่อยู่เหนืออารมณ์ เพื่อสัมผัสกับสภาวะแห่งการรู้ตื่น และ เบิกบานที่มีอยู่ในตัวเราทุกคน คือ การปฏิบัติธรรมตามหลักของอานาปานสติ คือ การมีสติสัมปชัญญะ อยู่กับลมหายใจเข้า ลมหายใจออก จนจิตใจสงบแล้ว เราจะสัมผัสกับสภาวะของจิตที่เป็ นปกติ เห็นจิตแยกต่างหากจากอารมณ์ เห็นจิตเป็ นจิต เห็นอารมณ์เป็ นอารมณ์ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เป็ นอนัตตา ทาให้เราเข้าถึงธรรมชาติจิตใจของเราเองที่มีความเป็ นปกติ สะอาดผ่องใส เป็ น สภาวะจิตของผู้รู้ ที่ไม่มีทุกข์ ไม่มีอุปาทานยึดมั่นถือมั่น ปล่อยวางความเห็นแก่ตัว ไม่มีความยินดียิน ร้าย หรืออย่างน้อยก็ทาให้เราเข้าถึงสุขภาพใจที่ดี......(ศึกษาวิธีปฏิบัติจากหัวข้อการปฏิบัติสมาธิภาวนา)