SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 125
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Active
Learning
Kittipun Udomseth, Ph.D.
kttpud@yahoo.com
การเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
Active Learning
ที่มาและความสาคัญของปัญหา
ความหมาย/ความสาคัญ
แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้แบบเชิงรุก
PART I
Traditional Learning
การเรียนการสอนเน้นการบรรยาย
ความเข้มงวดของครูผู้สอน
การจัดการความรู้
เวลาของการปฏิบัติถูกเบียดบัง
ผู้เรียนไม่มีปากเสียง
ผู้เรียนไม่ได้เป็นเจ้าของความรู้
การเรียนการสอนไม่เน้นการมีส่วนร่วม
กิจกรรมการเรียนการสอนไม่หลากหลาย
กิจกรรมไม่สอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียน
ผู้เรียนขาดการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
ผู้เรียนขาดความกระตือรือร้นในการเรียน
ผู้เรียนขาดแรงจูงใจในการเรียน
การเรียนการสอนไม่เน้นการปฏิบัติ ผู้เรียนไม่ถูกฝึกให้เรียนรู้/ทางานร่วมกับผู้อื่น
ผู้เรียนไม่สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา
การเรียนการสอนไม่พัฒนาการคิดขั้นสูง ผู้เรียนขาดทักษะ/กระบวนการคิดขั้นสูง
ผู้เรียนคิดไม่เป็น/ตัดสินใจไม่ถูก/แก้ปัญหาไม่ได้
/สร้างสรรค์งานคุณภาพไม่ได้
LECTURE
การบรรยาย
“กลายเป็นจาเลยของสังคม”
ไม่ได้ห้ามการบรรยาย
แต่...จะทาอย่างไร
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
ในชั่วโมงเรียน/ด้วยตัวของเขาเอง
Practices/การปฏิบัติ
ลดการบรรยายและเพิ่มการปฏิบัติ
ที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และ
สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
การถ่ายทอดเนื้อหาจากครู
ไปสู้ผู้เรียนโดยตรง
ผู้เรียนเข้าร่วมและเรียนรู้อย่าง
กระตือรือร้น
การเรียนการสอนแบบเดิม การเรียนการสอนแบบเชิงรุก
“ถึงเวลาของการเปลี่ยนแปลง”
It’s Time to Change !!
ครูเป็นแหล่งความรู้หลักของ
นักเรียนและการบรรยายก็เป็น
วิธีการถ่ายทอดความรู้
ครูมีหน้าที่สนับสนุนหรือ
ช่วยเหลือหรือแนะนาผู้เรียนผ่าน
กิจกรรมโดยให้ผู้เรียนควบคุม
การเรียนของตัวเอง
การเรียนการสอนไม่เน้นการบรรยาย
ลดความเข้มงวดของครูผู้สอน
การจัดการความรู้
เวลาของการปฏิบัติมีมากขึ้น
ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ผู้เรียนเป็นเจ้าของความรู้
การเรียนการสอนเน้นการมีส่วนร่วม
ใช้กิจกรรมการเรียนการสอนหลากหลาย
กิจกรรมสอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียน
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชั้นเรียนมากขึ้น
ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน
ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียน
การเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ ผู้เรียนถูกฝึกให้เรียนรู้/ทางานร่วมกับผู้อื่น
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา
การเรียนการสอนพัฒนาการคิดขั้นสูง ผู้เรียนมีทักษะ/กระบวนการคิดขั้นสูง
ผู้เรียนคิดเป็น/ตัดสินใจได้ดี/แก้ปัญหาได้
/สร้างสรรค์งานคุณภาพได้
Active Learning
“การเรียนแบบกระตือรือร้น”
“การเรียนรู้แบบลงมือทา”
“การเรียนแบบใฝ่รู้”
“การเรียนรู้เชิงปฏิบัติ”
“การเรียนรู้แบบเชิงรุก”
Active Learning
“Active learning is a teaching method
focused on the classroom practices”
“เป็นวิธีการสอนที่เน้นการปฏิบัติในชั้นเรียน”
“students doing things and thinking about
the things they are doing”
“ผู้เรียนลงมือทาและคิดในสิ่งที่เขากาลังทา”
(Bonwell, 2000)
“A method of learning allows students to use
many skills such as analysis, synthesis and
evaluation of what they are learning to achieve
effective learning outcomes”
“เป็นวิธีการสอนที่ทาให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะการคิดที่หลากหลาย
เช่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินในสิ่งที่กาลังเรียน
เพื่อบรรลุผลของการเรียนรู้ตามเป้าหมายที่กาหนด”
http://www.queensu.ca/teachingandlearning/modules/active/04_what_is_active_learning.html
“ช่วยส่งเสริม
ทักษะการคิด
ระดับสูง
การนาความรู้ไปใช้
การวิเคราะห์และ
การสังเคราะห์”
“ผู้เรียนมีส่วนร่วม
ในการเรียนรู้เชิงลึก
และ
ผู้เรียนประยุกต์ใช้
ความรู้ได้ดีขึ้น”
การเรียนรู้แบบเชิงรุก
ประกอบด้วยกลยุทธ์ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดโดยการตั้งคาถามและหาวิธีการแก้ปัญหา
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในบทเรียน
http://www.queensu.ca/teachingandlearning/modules/active/04_what_is_active_learning.html
การเรียนรู้แบบเชิงรุก
เน้นการมีส่วนร่วมอย่างจริงจังกับเนื้อหาหลักสูตร
ผ่านการอภิปราย การแก้ปัญหา กรณีศึกษา การแสดงบทบาทสมมุติ และวิธีการอื่น ๆ โดยให้ความสาคัญ
กับความรับผิดชอบต่อผู้เรียนมากกว่าวิธีการแบบเชิงรับ (Passive) เช่น การบรรยาย
โดยอาจใช้เวลาเพียงไม่กี่นาที ไปจนถึงตลอดคาบเรียน หรือหลายคาบเรียน
Active Learning
“การเรียนรู้เป็นเรื่องของนักเรียนที่อยู่ภายใต้การช่วยเหลือของครู”
แนวคิดและทฤษฎีที่สาคัญ
Active Learning
1. วจนสัญลักษณ์
2. ภาพสัญลักษณ์
3. เสียง
4. ภาพนิ่ง
5. ภาพเคลื่อนไหว
6. โทรทัศน์รายการสด
7. นิทรรศการ
8. ทัศนศึกษา
9. การสาธิต
10. การแสดง
11. การฝึกประสบการณ์
12. การปฏิบัติจริง
แหล่งประสบการณ์การเรียนรู้
Edgar Dale (1969)
รับรู้/
ตีความ
(นามธรรม)
สังเกต
/รับรู้
(รูปธรรม)
ปฏิบัติ
การรับรู้
การปฏิบัติ
คำสั่งประมวลผล
Encoding
ทฤษฎีการประมวลสารสนเทศ (Information Processing theory)
เป็นแนวคิดที่มำจำกกำรทำงำนของสมอง เพื่อให้รู้จักและเข้ำใจกำรทำงำนของสมองใน
กำรจัดกำรข้อมูล สำมำรถควบคุมอัตรำควำมเร็วของกำรเรียนรู้ จัดระบบข้อมูล และเรียกใช้ข้อมูลได้
Working
(Short term)
memory
Sensory
memory
Long term
memory
กระบวนการประมวลผลข้อมูล
Sensory
input Output
Retrieval
Attention
ประสำทสัมผัส
ควำมจำระยะสั้น
ควำมจำระยะยำว
หน่วยควำมจำทำงำน
กำรรับรู้
กำรเข้ำรหัส กำรเรียกทวน
ข้อมูลส่งออก
½ วินำทีสำหรับกำรเห็น
3 วินำที สำหรับกำรได้ยิน
15-30 วินำที - ไม่เกิน 20 นำที
จำได้ครั้งละ 7+ 2 อย่ำง
Sensory register
กำรท่องจำ
กำรบันทึก
กำรจัดระบบ
กำรฝึกฝน
กำรถ่ำยโยง
ฯลฯ
ข้อมูลนำเข้ำ
กำรรับรู้
กำรอ่ำน
กำรฟัง
กำรสังเกต
กำรสัมผัส
กำรพูด
กำรเขียน
กำรกระทำ
กำรนำเสนอ
พฤติกรรม
อุปนิสัย
Kittipun Udomseth, 2018
คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory)
เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ของผู้เรียน
เชื่อว่า การเรียนรู้หรือการสร้างความรู้
เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน
ผู้เรียนสร้างความรู้โดยนาประสบการณ์หรือข้อมูลใหม่
ที่ได้รับมาเชื่อมโยงกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม
เกิดเป็นความรู้ความเข้าใจของตนเอง
ผู้เรียนแต่ละคนอาจสร้างความหมายที่แตกต่างกัน
เพราะมีประสบการณ์ หรือ ความรู้เดิมที่แตกต่างกัน
Constructivism
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการสร้างมากกว่าการรับ
ความรู้ ดังนั้น เป้าหมายของการจัดการเรียนการ
สอนจะสนับสนุนการสร้างมากกว่าความพยายามใน
การถ่ายทอดความรู้ โดยมุ่งเน้นการสร้างความรู้ใหม่
อย่างเหมาะสมของแต่ละบุคคล และเชื่อว่า
สิ่งแวดล้อมมีความสาคัญในการสร้างความหมาย
ตามความเป็นจริง
(Duffy and Cunningham, 1996)
Constructivism
“วิธีการจัดการเรียนการสอน มีหลักสาคัญคือ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนลงมือกระทาเพื่อสร้างความรู้แบบ
Actively construct มิใช่ Passive receive ที่เป็นการรับข้อมูลหรือสารสนเทศและพยายามจดจา
เท่านั้น”
Self-Regulation
“บางที...สิ่งที่สาคัญที่สุด ที่บ่งบอกถึงประสิทธิภาพของมนุษย์ก็คือ
ความสามารถในการกากับตนเอง ซึ่งทาให้มนุษย์สามารถปรับตัวและดารงเผ่าพันธุ์
ให้อยู่รอดท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ มาจนถึงทุกวันนี้โดยไม่สูญสิ้นไป”
การกากับตนเอง
B. J. Zimmermann (2000)
B. J. Zimmermann (2000)
การกากับตนเองมีการปฏิบัติอย่างเป็นวงจร เนื่องจากมีการให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) จากการ
ปฏิบัติก่อนหน้าและนาไปใช้ในการปรับปรุงระหว่างความพยายามในการปฏิบัติครั้งต่อไป ปัจจัยสาคัญ 3
ประการที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอในระหว่างการเรียนรู้และการกระทา คือ พฤติกรรม (Behavioral) บุคคล
(Person) และสิ่งแวดล้อม (Environment)
Self-Regulation
การกากับตนเอง (Self-Regulation) เป็นภาวะที่ผู้เรียนสามารถกาหนดกฎเกณฑ์ และกลยุทธ์ในการเรียนรู้ของตนเองได้ โดยมี
ความตระหนักในความสามารถของตนเองสูง เป็นผู้ริเริ่มกระบวนการเรียนรู้ มีกลยุทธ์ในการเรียนรู้ที่สามารถวางแผนตรวจสอบ
และประเมินการเรียนรู้เพื่อการปรับปรุงแก้ไขได้ด้วยตนเอง เป็นผู้ตระหนักรู้ว่าตนเองรู้และมีทักษะในเรื่องหนึ่งๆ เพียงใด และรู้
ว่าการได้มาซึ่งความรู้เป็นระบบและกระบวนการที่สามารถควบคุมได้ ประกอบด้วยลักษณะสาคัญ 3 ประการ (Bandura, 1986)
คือ 1) การสังเกตตนเอง (self-observation) 2) การตัดสินตนเอง (Self-judgment) และ 3) การให้ผลป้อนกลับแก่ตนเอง
(self-reaction) โดยมีวงจรการเรียนรู้คือ การวางแผน การตรวจสอบ และการประเมิน
(ใจทิพย์ ณ สงขลา 2550 : 157)
การกากับตนเอง
Self-judgment
self-observation
self-reaction
Self-Efficacy การรับรู้ในความสามารถของตนเอง
ความเชื่อของบุคคลที่มีต่อความสามารถในการพัฒนาและสร้างสรรค์ให้เกิดผลต่างๆ ขึ้นได้ โดยการ
ประเมินจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ซึ่งจะมีผลต่อการตัดสินใจแสดงพฤติกรรมใด ๆ เพื่อจัดการกับสถานการณ์ที่
ต้องเผชิญให้เป็นไปตามที่คาดหวังไว้
Bandura (1997)
บุคคล พฤติกรรม
และทางเลือก
ผลที่เกิดขึ้น
เปรียบเทียบความสามารถ
ของตนเองกับผลของการกระทา
การรับรู้ความสามารถ
ของตนเอง คือ ความคาดหวัง
เกี่ยวกับความสามารถของตนเอง
ความคาดหวังในผล
ของการกระทา
Self-Efficacy การรับรู้ในความสามารถของตนเอง
พฤติกรรมและสภาวะทางอารมณ์ที่เกิดจากการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อ
ความความผวังผลที่จะเกิดขึ้น
Bandura (1997)
ไม่ยอมรับ ไม่พอใจ ไม่เกิดแรงจูงใจ
มีแนวโน้มไม่แสดงพฤติกรรม
ไม่สนใจ หลีกเลี่ยง มีแนวโน้ม
ไม่แสดงพฤติกรรมอย่างแน่นอน
มีความพึงพอใจ มีแรงจูงใจ
ในการกระทา มีความมั่นใจ มีแนวโน้ม
แสดงพฤติกรรม
เกิดความท้อแท้รู้สึกว่าตนเอง
ไม่มีคุณค่า ไม่แสดงพฤติกรรม
ความความหวังต่อผลที่จะเกิดขึ้น
การรับรู้
ความสามารถ
ของตนเอง
สูง
ต่า
สูงต่า
Co-Operative Learning & Collaborative Learning
การเรียนแบบร่วมมือ และ การเรียนรู้ร่วมกัน
การเรียนแบบร่วมมือ
(Cooperative Learning)
การเรียนรู้ร่วมกัน
(Collaborative Learning)
วิธีการจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนทางาน
ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ โดยทั่วไปมีสมาชิกกลุ่มละ
4-6 คน สมาชิกกลุ่มมีความสามารถในการเรียน
ต่างกัน สมาชิกในกลุ่มจะรับผิดชอบในสิ่งที่ได้รับการ
มอบหมายและช่วยเพื่อนสมาชิกให้เกิดการเรียนรู้
มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เป้าหมายในการ
ทางานของกลุ่มคือ ผลงาน/ชิ้นงานที่เกิดจากความ
ร่วมมือในการทางานของและคน
วิธีการจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
ร่วมกันเป็นกลุ่ม เพื่อศึกษาในสิ่งที่ตนเองชอบและ
สนใจ โดยใชความรู้และประสบการณของผู้เรียนแต่
ละคนและนาเสนอผลงานเพื่อศึกษาร่วมกันและเกิด
ความรู้ไปด้วยกัน เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม
ผู้เรียน มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ
ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เป้าหมายของ
กลุ่มคือ ความรู้ของสมาชิกแต่ละคน
(บุบผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2543)
Cooperative Learning & Collaborative Learning
การเรียนแบบร่วมมือ และ การเรียนรู้ร่วมกัน
การเรียนแบบร่วมมือ
(Cooperative Learning)
การเรียนรู้ร่วมกัน
(Collaborative Learning)
1. การเรียนแบบกล่มเล็ก
2. การปฏิบัติงานกลุ่ม
3. การค้นพบความรู้
4. การแลกเปลี่ยนความรู้
5. ความรู้ในระดับพื้นฐาน
6. ค่อนข้างผู้สอนเป็นศูนย์กลาง
7. เป็นการเรียนค่อนข้างมีขอบเขต
8. เน้นผลงานที่เป็นชิ้นงาน
9. กระบวนการเรียนมีโครงสร้างเป็นระบบ
10. ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องมีประสบการณ์
11. พัฒนาความรู้ความสามารถของตัวผู้เรียน
ในระดับหนึ่ง
1. การเรียนแบบกล่มเล็ก
2. การปฏิบัติงานกลุ่ม
3. การค้นพบความรู้
4. การแลกเปลี่ยนความรู้
5. การสร้างความรู้จากสังคม
6. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
7. เป็นการเรียนแบบเปิดกว้าง
8. เน้นกระบวนการมีปฏิสัมพันธ์
9. กระบวนการเรียนเป็นธรรมชาติ
10. ผู้เรียนต้องมีประสบการณ์
11. พัฒนาความรู้ความสามารถของตัวผู้เรียน
อย่างเต็มที่
(พิชัย ทองดีเลิศ, 2548)
กิจกรรม 1 : สรุปลักษณะสาคัญของการเรียนรู้แบบเชิงรุก
1. ...............................................................................................
2. ................................................................................................
3. ................................................................................................
4. ................................................................................................
5. ................................................................................................
6. ................................................................................................
7. ................................................................................................
8. ................................................................................................
Active Learning
ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้แบบเชิงรุก
1. เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม
2. เน้นการเรียนแบบร่วมมือหรือการเรียนรู้ร่วมกัน
3. เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ/ครูเป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือ
4. เน้นการส่งเสริมและพัฒนาการคิดขั้นสูง
5. เน้นการสร้างองค์ความรู้และประยุกต์ใช้ความรู้
6. เน้นปฏิสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม
7. มีการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
8. ผู้เรียนเป็นเจ้าของความรู้/กากับการเรียนรู้ของตนเอง
Active Learning
Kittipun Udomseth, 2018
จบตอนที่ 1
PART II
- กิจกรรมการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
- ลักษณะของกิจกรรม – Receive – Response – Practices – Share - Check
- ลักษณะของกิจกรรมแบ่งตามผู้เรียน – Individual – Group – Class
- อุปสรรค/ความท้าทาย/ความเสี่ยง
- บทบาทของผู้เรียน
- บทบาทครูผู้สอน / ก่อนการสอน / ระหว่างการสอน / หลังการสอน
- การเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
Active Learning
ภาพของ
การเรียนในศตวรรษที่ 21
กิจกรรมการเรียนการสอน
แบบการเรียนรู้เชิงรุก
Active Learning
1. การฟัง (Listening) เป็นการให้ผู้เรียนได้ฟังเรื่องราวต่าง ๆ ในประเด็นที่ครูผู้สอนกาหนด
2. การดู (Watching) เป็นการให้ผู้เรียนได้ดูเรื่องราวต่าง ๆ ในประเด็นที่ครูผู้สอนกาหนด
3. การพูด (Talking) เป็นการให้ผู้เรียนได้พูดถึงเรื่องราวต่าง ๆ ในประเด็นที่ครูผู้สอนกาหนด
4. การอ่าน (Reading) เป็นการให้ผู้เรียนได้ฟังเรื่องราวต่าง ๆ ในประเด็นที่ครูผู้สอนกาหนด
5. การเขียน (Writing) เป็นการให้ผู้เรียนได้เขียนเรื่องราวต่าง ๆ ในประเด็นที่ครูผู้สอนกาหนด
6. การสะท้อนคิด (Reflect & Feedback) เป็นการให้ผู้เรียนได้สะท้อนความคิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งการพูดหรือการเขียน
Kittipun Udomseth, 2018
7. การปฏิบัติ (Practices) เป็นการให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติงานหรือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูผู้สอน
กาหนดทั้งภายในและภายนอกชั้นเรียน ได้แก่
7.1 การถามคาถามและการตอบคาถาม
7.2 การจดบันทึกหรือการสรุปรวบรวมเนื้อหาที่เรียนในรูปแบบต่าง ๆ
7.3 การทาแบบฝึก/แบบฝึกหัด/แบบวัด/แบบทดสอบ/แบบประเมิน ฯลฯ
7.4 การฝึกปฏิบัติ/การทดลอง/การสร้างสรรค์ผลงานหรือชิ้นงาน
7.5 การสารวจ/การเก็บรวบรวมข้อมูล/การสืบค้นข้อมูล/การวิเคราะห์ข้อมูล/การสรุปข้อมูล
7.6 การอภิปราย/การแสดงความคิดเห็น/การระดมสมอง/การวิพากษ์/การวิจารณ์
7.7 การวิเคราะห์งานและการวางแผนการทางาน
7.8 การนาเสนอผลงานในชั้นเรียน
7.9 ฯลฯ
Kittipun Udomseth, 2018
8. การแบ่งปันและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Sharing) เป็นการให้ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้หรือแลกเปลี่ยน
ข้อมูลซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนมากขึ้น
9. การตรวจสอบข้อมูล (Checking) เป็นการให้ผู้เรียนได้ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจหรือตรวจสอบผลงาน
ของเพื่อน เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องหรือได้ผลงานที่คุณภาพมากขึ้น
10. การแข่งขันและเกม (Competition & Game) เป็นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมการ
แข่งขันในลักษณะต่าง ๆ ในชั้นเรียนโดยอาจนากิจกรรมเกมมาใช้เพื่อจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียน
Kittipun Udomseth, 2018
Center for Research on Learning and Teaching, University of Michigan
http://www.ljcreate.com/uk/programs/primary-school/primary-school-curriculum
การวัดผล
การปฏิบัติงาน
การนาเสนอ
การตรวจสอบ
การจาลอง
จาแนกกิจกรรมตามจานวนผู้เรียน
Active Learning
- รายบุคคล (Individual)
- รายคู่ (Pair)
- รายกลุ่ม (Group)
- ชั้นเรียน (Class)
Individual/Pair Group Class
งานเขียนหนึ่งนาที
บันทึกรายวัน
การทาแบบฝึก/แบบฝึกหัด
การทดสอบ
การฟัง/การพูด/การอ่าน/การเขียน
การสะท้อนความคิดเห็น
การวางแผนปฏิบัติงาน
กรณีศึกษา
การตั้งคาถาม/ตอบคาถาม
การเขียนกระดาน
การทาผังความคิด
การสืบค้นข้อมูล
การเรียนรู้ผ่านสื่อ
การนาเสนองาน
การประเมินตนเอง
Peer Review
Pair – Share
Active Review
ฯลฯ
การระดมสมอง
การสะท้อนความคิดเห็น
การวางแผนปฏิบัติงาน
กรณีศึกษา
การโต้วาที
การเขียนกระดาน
การอภิปราย
การละลายพฤติกรรม
การทาผังความคิด
การตั้งคาถาม/ตอบคาถาม
การสืบค้นข้อมูล
การเรียนรู้ผ่านสื่อ
การนาเสนองาน
การทาโครงงานกลุ่ม
การแสดงบทบาทสมมุติ
การใช้สถานการณ์จาลอง
การทัศนศึกษา
การเล่นเกม
การสอนเพื่อน
ฯลฯ
การทดสอบ
การสะท้อนความคิดเห็น
การวางแผนปฏิบัติงาน
กรณีศึกษา
การตั้งคาถาม/ตอบคาถาม
การเขียนกระดาน
การทาผังความคิด
การเรียนรู้ผ่านสื่อ
การนาเสนองาน
การทัศนศึกษา
การสาธิต
การทดลอง
การละลายพฤติกรรม
การวิเคราะห์ปัญหา
การเล่นเกม
การสอนพื่อน
การชมภาพยนตร์
ฯลฯ
Kittipun Udomseth, 2018
จาแนกกิจกรรมตามลักษณะการเรียนรู้
Active Learning
- การรับรู้ (Receive)
- การตอบสนอง (Response & Feedback)
- การปฏิบัติ (Practices)
- การแบ่งปัน (Share)
- การทดสอบ (Check)
Receive
Response/Feedback
Practices Share
Check
การฟัง / การอ่าน
การเรียนรู้ผ่านสื่อ
การสาธิต
การทัศนศึกษา
การสืบค้นข้อมูล
ศูนย์การเรียน
การชมภาพยนตร์
สถานการณ์จาลอง
การสะท้อนความคิดเห็น
การสะท้อนการปฏิบัติ
การตั้งคาถาม/ตอบคาถาม
การอภิปรายกลุ่ม
เกม
การเขียนกระดาน
ฯลฯ
Peer Review
Pair – Share
Active Review
การสอนเพื่อน
การนาเสนองาน
การแบ่งปันข้อมูลบันทึก
จับคู่ถาม-ตอบ
ฯลฯ
การทาแบบฝึกหัด
การทดสอบ
เกม
การตอบคาถาม
การประเมินตนเอง
การประเมินผลงานของเพื่อน
ฯลฯ
การพูด / การเขียน
การระดมสอง
บันทึกรายวัน
การทาแบบฝึก/แบบฝึกหัด
การวางแผนปฏิบัติงาน
กรณีศึกษา
การตั้งคาถาม/ตอบคาถาม
การเขียนกระดาน
การทาผังความคิด
บทบาทสมมุติ
การทดลอง
การโต้วาที
การทาโครงงาน
เกม
การทางานเดี่ยว/คู่/กลุ่ม
การฝึกปฏิบัติ
การนาเสนองาน
สมุดจดปฏิชสัมพันธ์
การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
ฯลฯ
Kittipun Udomseth, 2018
ข้อจากัดของการสอนแบบบรรยาย
- ผู้เรียนมีบทบาทน้อย
- ผู้เรียนมีข้อจากัดในการฟังหรือการรับข้อมูล
- ผู้เรียนมีความเบื่อหน่าย
- ผู้เรียนมีความสนใจในระยะเวลาจากัด
- สภาพแวดล้อมไม่เอื้ออานวย
- ความสามารถในการบรรยายของครูผู้สอน
- คุณภาพของสื่อประกอบการบรรยาย
Kittipun Udomseth, 2018
Interactive Lecture
1. ขั้นเตรียมการบรรยาย
1. กาหนดเป้าหมายและหัวข้อที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
2. ตรวจสอบความรู้พื้นฐานของผู้เรียน
3. ศึกษาเนื้อหาสาระที่จะบรรยาย
4. เลือกใช้เทคนิคและสื่อประกอบการบรรยาย
2. ขั้นบรรยาย
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน
2.2 บรรยายเนื้อหาโดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการนาเสนอเนื้อหา
และมีสื่อประกอบการบรรยาย
3. สรุปการบรรยาย
3.1 สรุปสาระสาคัญ/ย้าในประเด็นที่สาคัญ
3.2 ตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน
“การบรรยายแบบมีปฏิสัมพันธ์”
Kittipun Udomseth, 2018
Interactive Lecture
ขั้นบรรยาย
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน อาจเป็นการทบทวนความรู้เดิม หรือนาเสนอความเป็นมา/
ความสาคัญของเรื่องที่จะบรรยาย
2.2 การบรรยาย
2.2.1 นาเสนออย่างเป็นลาดับขั้นตอน
2.2.2 เนื้อหาไม่มากและไม่น้อยเกินไป
2.2.3 ไม่พูดช้าหรือเร็วเกินไป
2.2.4 มีการเน้นในส่วนที่สาคัญและแนวคิดหลักให้ชัดเจน
2.2.5 อธิบายคาเฉพาะใหม่ให้ชัดเจน บางครั้งอาจต้องอธิบายซ้าในเนื้อหาที่เป็น
นามธรรมเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและไม่สับสน
2.2.6 มีการเชื่อมโยงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาที่บรรยาย
2.2.7 ใช้สื่อประกอบการที่เหมาะสม
2.2.8 ตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน
2.2.9 ตรวจสอบความสนใจของผู้เรียน
2.2.10 สร้างบรรยากาศที่ดีในชั้นเรียนระหว่างการบรรยาย
Kittipun Udomseth, 2018
กิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุกที่สามารถนามาใช้ในระหว่างการบรรยาย
Minute Paper
การนาเสนอผ่านสื่อ
การถาม-ตอบ
การสะท้อนความคิดเห็น
กรณีศึกษาการเล่นเกม
การอ่าน
การพูด
การเขียน
แผนผังความคิด
การสาธิต
การทดลอง
Kittipun Udomseth, 2018
Interactive Lecture
ขั้นสรุป
1. ผู้สอนสรุปสาระสาคัญที่ผู้สอนนาเสนอไปแล้ว
2. ย้าในประเด็นที่เป็นการเชื่อมโยงความรู้ใหม่เข้ากับความรู้เดิมของผู้เรียน
3. ดูการสะท้อนความคิดของผู้เรียนเพื่อการตรวจสอบความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
4. แก้ไขความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนของผู้เรียน
5. สรุปสารสาคัญทั้งหมดที่ผู้สอนนาเสนอไป โดยอาจใช้คาถามหรือตั้งประเด็นเพื่อ
ตรวจสอบการนาสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้และเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น
หรือการเรียนในครั้งต่อไป
Kittipun Udomseth, 2018
ผังกราฟิก (Graphic Organizer)
คือ ภาพกราฟิกที่นามาใช้เพื่อจัดระบบข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน
ให้เป็นระบบ ง่ายต่อการทาความเข้าใจ สามารถใช้ในการทบทวนความรู้และ
การนาเสนอความรู้ โดยทั่วไปประกอบด้วยภาพ สัญลักษณ์ และข้อความ
- ผังความคิด (Mind Map)
- ผังสัมพันธ์ความหมาย (Semantic Map)
- ผังความคิดรวบยอด (Concept Map)
- แผนที่ (Map)
- แผนภูมิ (Graph/Chart)
- แผนภาพ (Diagram)
- ผังแมงมุม (Web)
- แบบจาลอง (Model)
- Infographic ฯลฯ
Kittipun Udomseth, 2018
TimeLine Road Map
Flow Chart Number Porn
Comparison Structure
การใช้ผังกราฟิก
Graphic Organizer
Kittipun Udomseth, 2018
ภาพจาก Infographic Thailand
การใช้ผังกราฟิก
Graphic Organizer
การใช้ผังกราฟิก
Graphic Organizer
Infographic = Information + Graphic
Kittipun Udomseth, 2018
อุปสรรคในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้แบบเชิงรุก
อุปสรรคของการจัดการเรียนการสอน
แบบการเรียนรู้เชิงรุก
วิธีการแก้ปัญหา
1. ครูไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ครอบคลุมเนื้อหา
หลักสูตรได้มากพอในเวลาที่มี
1. หาวิธีการที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาที่ครบถ้วนตามหลักสูตร เช่น การ
อ่าน การเขียน ฯลฯ ผ่านการทาแบบฝึกหัดในชั้นเรียน
2. การออกแบบการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิง
รุกต้องมีการเตรียมล่วงหน้าค่อนข้างมาก
2. การปรับปรุงเนื้อหาและการนาเสนอข้อมูลจากงานบรรยายเก่า ๆ ที่ไม่
จาเป็นต้องใช้เวลามากนัก
3. ชั้นเรียนขนาดใหญ่เป็นอุปสรรคต่อการจัดการเรียนการ
สอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
3. ชั้นเรียนขนาดใหญ่อาจแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ บางกิจกรรมเช่น การอ่าน
การเขียน การสนทนา ผู้เรียนสามารถดาเนินการได้โดยไม่ต้องใช้ครูผู้สอน
4. ครูส่วนใหญ่คิดว่าตนเองบรรยายเก่ง 4. แม้ว่าการบรรรยายจะมีความสาคัญและครูคิดว่าตนเองบรรยายได้ดี แต่ครูไม่
สามารถควบคุมความสม่าเสมอหรือเท่าเทียมของการบรรยายในแต่ละครั้ง สิ่งที่
บอกได้ชัดเจนว่าเราเป็นครูที่สอนดีอยู่ที่สิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยดูจากผลการ
ทดสอบความรู้ของผู้เรียน
5. ขาดวัสดุหรืออุปกรณ์ที่จาเป็นที่สนับสนุนแนวทางการ
จัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
5. เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุกจานวนมากไม่จาเป็นต้องต้องใช้อุปกรณ์
ใด ๆ ถ้าครูขาดอุปกรณ์ก็ควรเลือกวิธีการที่ไม่จาเป็นต้องใช้อุปกรณ์
6. นักเรียนไม่ชอบการเรียนการสอนที่ครูไม่บรรยาย 6. เป็นเพราะความเคยชินของผู้เรียนที่เรียนโดยการนั่งฟังเฉย ๆ ดังนั้น การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุกที่น่าสนใจและท้าทาย จะช่วยเปลี่ยนความคิดของ
ผู้เรียนไปสู่การจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ที่มีความหมายมากขึ้นกว่าเดิม
(Bonwell, 2000)
อุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุก
ความเสี่ยง (Risks)
ด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน
1. ผู้เรียนไม่เข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ 1. ไม่สามารถควบคุมและการจัดการชั้นเรียน
ได้ดีพอ
2. ผู้เรียนไม่ได้เรียนรู้เนื้อหาตามหลักสูตร
อย่างเพียงพอ
2. ขาดความมั่นใจในการจัดการเรียนการ
สอนแบบเชิงรุก
3. ไม่สามารถพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง 3. ขาดทักษะที่จาเป็นในการจัดการเรียนการ
สอน
4. ผู้เรียนไม่รู้สึกยินดีกับการเข้าร่วมกิจกรรม 4. ถูกมองว่าจัดกิจกรรมที่ต่างออกไปจากครู
คนอื่น ๆ
ความเสี่ยง (Risks) ของการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
(Bonwell, 2000)
ระดมความคิดเห็น
เกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุก
กิจกรรม 2 : ปัญหาและอุปสรรค
1. ...............................................................................................
2. ................................................................................................
3. ................................................................................................
4. ................................................................................................
5. ................................................................................................
6. ................................................................................................
7. ................................................................................................
8. ................................................................................................
ระดมความคิดเห็น
เกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุก
กิจกรรม 3 : ปัญหาและอุปสรรค
1. ผู้เรียนไม่ต้องการให้สอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
2. ผู้เรียนบ่นเรื่องการให้ทากิจกรรมของครูผู้สอน
3. ผู้สอนควบคุมกิจกรรมในชั้นเรียนไม่ได้
4. กิจกรรมใช้เวลามากเกินไป
5. ผู้เรียนไม่ร่วมทางานในกลุ่ม
6. ผู้เรียนไม่ตรจสอบผลงานอย่างจริงจัง
7. ผู้สอนไม่ตรจสอบผลงานอย่างจริงจัง
Kittipun Udomseth, 2018
มิติของการสอน ความเสี่ยงต่า ความเสี่ยงสูง
เวลาที่ใช้สอน ใช้เวลาค่อนข้างน้อย ใช้เวลาค่อนข้างนาน
ระดับการวางแผน วางแผนอย่างรอบคอบ ตามธรรมชาติ
เนื้อหา รูปธรรม นามธรรม
ศักยภาพในการโต้เถียงขัดแย้ง น้อย มาก
การชี้แจง มีการชี้แจงมาก มีการชี้แจงน้อย
ประสบการณ์การเรียนรู้ของนักเรียน วิธีการที่คุ้นเคย วิธีการที่ไม่คุ้นเคย
ประสบการณ์การสอนของครู มาก น้อย
รูปแบบการปฏิสัมพันธ์ ครูกับนักเรียน ระหว่างนักเรียน
กลยุทธ์การสอนที่มีความเสี่ยงต่าและความเสี่ยงสูง
ในการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
(Bonwell, 2000)
1. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนมากกว่านั่งฟังอยู่เฉย ๆ
2. ผู้เรียนเข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูจัดขึ้นในชั้นเรียน
(เช่น การอ่าน การเขียน การอภิปราย ฯลฯ)
3. ให้ความสาคัญกับการพัฒนาทักษะของผู้เรียนมากกว่า
การนาเสนอเนื้อหาข้อมูล
4. ให้ความสาคัญกับกิจกรรมที่ส่งเสริมหรือตรวจสอบ
เจตคติและค่านิยมของผู้เรียน
5. เพิ่มความกระตือรือร้นและแรงจูงในในการเรียน
6. ผู้เรียนได้รับการตอบสนองทันทีจากครูผู้สอน
7. ผู้เรียนมีส่วนร่วมและได้รับการพัฒนาการคิดระดับสูง
(เช่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และ การประเมิน)
บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้แบบเชิงรุก
(Bonwell, 2000)
1. เป็นนักแก้ปัญหา
2. ค้นพบตัวเอง
2. พัฒนาสติปัญญา
3. ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
4. เห็นความผิดพลาดเป็นโอกาสของการเรียนรู้
5. มีการจัดการที่ดี
6. เรียนรู้ที่จะทดลอง
7. พัฒนาการคิดแบบวนซ้า
7. คิดนอกกรอบ
8. เป็นนักสารวจ
9. คิดอย่างเป็นระบบ
10. มีความพร้อมในโลกยุคใหม่
11. สามารถชี้นาตนเอง
คุณลักษณะของผู้เรียนที่จะเกิดขึ้นจาก
การเรียนการสอนแบบเชิงรุก
1. เข้าใจผู้เรียนและวิธีการเรียน
2. กาหนดจุดประสงค์ให้สอดคล้อง
กับวิธีการวัด
3. ออกแบบการประเมินการเรียนรู้
4. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
5. ผสมผสานกิจกรรมก่อน-หลัง
เรียนผ่านระบบออนไลน์
6. ใช้กลยุทธ์การเรียนรู้แบบเชิงรุก
เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ
เรียน
7. ประเมิน สะท้อนผลและปรับปรุง
การสอน
8. เป็นนักวิชาการและเข้าใจ
บทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
https://www.monash.edu/learning-teaching/development/ceed/foundations-for-effective-teaching
คุณลักษณะของครูผู้สอน
คุณลักษณะและบทบาทของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
1. เห็นความสาคัญของการเปลี่ยนแปลงไปสู่การจัดการเรียน
การสอนในศตวรรษที่ 21
2. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ
3. มีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสาคัญของการเรียนแบบเชิงรุก
4. มีความพยายาม ความตั้งใจ และความอดทนต่อการพัฒนา
งานในวิชาชีพ
5. หมั่นศึกษาหาความรู้และนาเทคนิควิธีการใหม่ ๆ มาใช้ใน
การจัดการเรียนการสอน
6. รู้จักผู้เรียนและเข้าใจความแตกต่างระหว่างผู้เรียน
7. มีความรู้ความเข้าใจในการนาแนวคิด ทฤษฎีมาประยุกต์ใช้
ในการจัดการเรียนการสอน
8. มีความรู้ชัดเจนและถูกต้องในเนื้อหาวิชาที่สอน
9. มีความสามารถในการออกแบบการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ
Kittipun Udomseth, 2018
คุณลักษณะและบทบาทของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
10. มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการจัดการเรียนการ
สอนที่ส่งเสริมการคิดระดับสูง
11. มีความสามารถในการเลือก ผลิต พัฒนาและใช้สื่อการเรียนการ
สอน
12. มีความสามารถในการสร้างเครื่องมือวัดประเมินผลการเรียนรู้
ของผู้เรียน
13. สามารถกากับ ดูแล ควบคุมให้ผู้เรียนทากิจกรรม และอานวย
ความสะดวกให้กับผู้เรียนในระหว่างการทากิจกรรมในชั้นเรียน
14. คอยส่งเสริมและช่วยเหลือการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งในและนอก
ชั้นเรียน
15. ใช้วิธีการที่เหมาะสมที่ทาให้กิจกรรมในชั้นเรียนมีความน่าสนใจ
สนุกสนานและได้ความรู้ตามจุดประสงค์
16. ผู้สังเกตและสรุปผลที่ได้จากกิจกรรมที่นักเรียนทาเพื่อนาผล
ไปปรับปรุงและพัฒนาต่อไป
17. มีอุปนิสัยเชิงบวก ใจดี มีเมตตา และมีอารมณ์ขัน
Kittipun Udomseth, 2018
ชี้แจง มอบหมายงาน/กิจกรรม แจกสื่อ-วัสดุ-อุปกรณ์ และอานวยความสะดวกในการเรียนรู้
ของผู้เรียนในชั้นเรียน
ใช้คาถามและกิจกรรมที่กระตุ้นและพัฒนาทักษะการคิดระดับสูงของผู้เรียน
กากับ ดูแลให้ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน และช่วยเหลือผู้เรียนที่ต้องการ
ความช่วยเหลือทุกคนอย่างทั่วถึง
ตรวจสอบความถูกต้องและให้ข้อมูลป้อนกลับแก่ผู้เรียนได้ในทันที
สรุปสาระสาคัญของบทเรียนร่วมกับผู้เรียนได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม (ท้ายชั่วโมง)
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสภาพจริงของผู้เรียน
มีการจูงใจ กระตุ้น เสริมแรง แนะนา ตักเตือน ฯลฯ ตามที่เห็นสมควร
ชี้แจงหรือมอบหมายกิจกรรมล่วงหน้าสาหรับการเรียนการสอนครั้งต่อไป
ภารกิจของผู้สอนในชั้นเรียน
Kittipun Udomseth, 2018
ในกรณีที่สิ้นสุดการเรียนการสอนตามหน่วยการเรียนรู้ ครูมีหน้าที่ประเมินผลงาน (ชิ้นงาน)
ผลการปฏิบัติงาน (ภาระงาน) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในหน่วยการเรียนรู้/
แผนการเรียนรู้นั้น ๆ
ในกรณีที่ยังไม่สิ้นสุดหน่วยการเรียนรู้ และยังมีการมอบหมายงานต่อเนื่อง ครูอาจต้องให้คา
ชี้แนะ แนะนา หรือตรวจสอบเบื้องต้นให้กับผู้เรียนโดยการติดต่อสื่อสารทางระบบออนไลน์
ครูจึงต้องเข้าตรวจสอบข้อมูลที่ผู้เรียนส่งมาให้ทางระบบออนไลน์อย่างสม่าเสมอ
บันทึกข้อมูลต่าง ๆ ลงในบันทึกหลังสอนของครู ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงการ
สอนและการวิจัยปฏิบัติในชั้นเรียนและใช้ประเมินสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนของ
ครูได้
ภารกิจของผู้สอนหลังการเรียนในชั้นเรียน
Kittipun Udomseth, 2018
http://www.nativeamericanscience.org/about-us/overview/constructivist-classrooms
- ปฏิสัมพันธ์กับเนื้อหา
- ปฏิสัมพันธ์กับครู
- ปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน
การจัดสภาพแวดล้อม
ของการเรียนรู้
เพื่อเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์การอภิปราย
สนับสนุน
การคัดเลือก
เนื้อหา
การสร้าง
บรรยากาศ
1. ด้านผู้เรียน ครูควรทาการชี้แจงให้ผู้เรียนทราบเกี่ยวกับ
- วิธีการสอน
- บทบาทของผู้เรียน
- ปรับกระบวนทัศน์จากการเรียนรู้แบบรับ (Passive) เป็นการเรียนรู้เชิงรุก (Active)
- ทาข้อตกลงต่าง ๆ กับผู้เรียน (ถ้ามี)
การจัดสภาพแวดล้อมของการจัดการเรียนกาสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
Kittipun Udomseth, 2018
2. ด้านสภาพแวดล้อมและบรรยากาศของชั้นเรียน ครูควรจัดเตรียมสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้แก่
ห้องเรียน ห้องประกอบหรือห้องปฏิบัติงาน (ถ้ามี) ให้พร้อมใช้งาน เป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด ปลอดภัยไร้
สิ่งรบกวนเช่น เสียง แสง ฝุ่นละออง ฯลฯ โดยประสานกับผู้รับผิดชอบช่วยดูแล นอกจากนี้ยังควรตรวจสอบวัสดุ-
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องเรียนให้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก ปลอดภัยและเพียงพอกับจานวนของผู้เรียน
Kittipun Udomseth, 2018
3. ด้านสื่อ-วัสดุการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ ครูควรจัดหา จัดทา จัดเตรียมสื่อและวัสดุการเรียนรู้ให้
พร้อมก่อนทาการสอน มีการทดสอบการใช้งาน มีความเหมาะสมและเพียงพอต่อจานวนนักเรียน จัดเตรียมแหล่งเรียนรู้
ที่สาคัญและจาเป็นสาหรับผู้เรียนในการศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูลต่าง ๆ ไว้ก่อนล่วงหน้าและสอดคล้องกับกิจกรรมการ
เรียนการสอนที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ นอกจากนี้ควรเลือกใช้สื่อและเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับสมรรถนะ
ทางเทคโนโลยีของผู้เรียนส่วนใหญ่
Kittipun Udomseth, 2018
4. ด้านเทคโนโลยีที่สนับสนุนการเรียนรู้ จัดเตรียม จัดหาเทคโนโลยีที่ส่งเสริมกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ จัดเตรียมช่องทางสาหรับการนาเสนอสื่อการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนไปศึกษา
เนื้อหาเพิ่มเติมและช่องทางการติดต่อสื่อสารกับผู้เรียนทางระบบออนไลน์
Kittipun Udomseth, 2018
5. ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อจะได้ทราบ
ว่าในช่วงเวลาใดจะประเมินอะไรบ้าง ประเมินอย่างไรและใช้เครื่องมืออะไร แล้วไปจัดเตรียมเครื่องมือต่าง ๆ ให้
ครบถ้วนและมีคุณภาพ
Kittipun Udomseth, 2018
Active Learning
บรรยากาศชั้นเรียน
Active Learning
Active Learning
Kinesthetic Classroom
Active Learning
Active Learning
Active Learning
Active Learning
Active Learning
Active Learning
จบตอนที่ 2
การออกแบบการเรียนการสอน
แบบการเรียนรู้เชิงรุก
Active Learning
Instructional Design
Kittipun Udomseth, Ph.D.
kttpud@yahoo.com
การออกแบบการเรียนการสอน...คือ
การวางแผนพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็น
ระบบ มีความเหมาะสมสอดคล้องกับลักษณะของผู้เรียน
บริบทและสภาพแวดล้อมของการเรียนการสอน รวมถึง
องค์ประกอบอื่นๆ ของการเรียนการสอน เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพของการเรียนการสอนและส่งผลถึงคุณภาพ
การเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
ทาไมต้องมีการออกแบบการเรียนการสอน...?
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิมเกิดปัญหา หรือไม่เหมาะสม
ไม่สามารถพัฒนาผู้เรียนได้ตามเป้าหมายที่กาหนด หรือ มีความต้องการที่
จะพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
1. เป้าหมายการเรียนการสอนเปลี่ยน
2. เนื้อหามีการเปลี่ยนแปลง
3. วิธีการสอนมีการเปลี่ยนแปลง
4. ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลง
5. บริบทและสภาพแวดล้อมเปลี่ยน
6. ระยะเวลาเปลี่ยน
7. ฯลฯ
“มีแต่คนเสียสติเท่านั้น
ที่ทาแต่สิ่งเดิมซ้า ๆ
แล้วหวังว่าจะได้ผลลัพธ์
ที่แตกต่าง”
บทบาทหนึ่งที่สาคัญของครูคือ...นักออกแบบการสอน....
ระบบการจัดการเรียนการสอน (Instructional System)
Input ผู้เรียน (ความพร้อม โอกาส ลักษณะ)
ผู้สอน (ศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนของครู)
หลักสูตร (สาระและมาตรฐานการเรียนรู้) / เป้าหมายการจัดการเรียนการสอน
ทรัพยากร สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่ สภาพแวดล้อม เวลา
นโยบายและการสนับสนุน
การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ / กระบวนการคิด / กระบวนการปฏิบัติ
การเลือกใช้กลยุทธ์การเรียนการสอน / การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ / การจัดการชั้นเรียน
การวัดประเมินผลการเรียนการสอน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนตามหลักสูตร / เป้าหมายฯ
ความรู้ / ความคิด / ทักษะ / เจตคติ
ผลงานของนักเรียน
ความสามารถในการแข่งขัน
ผลการสอบวัดความรู้ระดับชาติ
Process
Input
สมรรถะสาคัญตาม
หลักสูตรและทักษะสาคัญใน
ศตวรรษที่ 21
กระบวนการ
พัฒนาระบบการเรียนการสอน
A D D I E
การวิเคราะห์
การออกแบบ
การพัฒนาการใช้
การประเมิน
การพัฒนาการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ
A
D
D
I
E
วิเคราะห์ - หลักสูตร เนื้อหา เป้าหมาย นโยบาย จุดเน้น ความต้องการ ฯลฯ
- ผู้เรียน ผู้สอน บริบทและสภาพแวดล้อม ความพร้อม ฯลฯ
ออกแบบ - กาหนดเป้าหมาย เนื้อหา จุดประสงค์ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัด
- กาหนดกลยุทธ์ / วิธีสอน สื่อ-เทคโนโลยี วิธีการวัดและการประมิน
พัฒนา - เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ฯลฯ
- พัฒนาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี พัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล
- พัฒนาสภาพแวดล้อมของการเรียน แหล่งเรียนรู้
การใช้ - เตรียมความพร้อมก่อนการสอน
- จัดการเรียนการสอน (ในชั้นเรียน - นอกชั้นเรียน)
ประเมิน - วัดและประเมินผลการจัดการเรียนการด้วยวิธีการและเครื่องมือที่กาหนด
- ประเมินความรู้ ความคด ทักษะ เจตคติ
- สรุปผลการประเมิน นาข้อมูลไปใช้ปรับปรุงและพัฒนาวิธีการสอนและผู้เรียน
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
Active Learning Instructional Design
Analysis
Design Develop
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้เชิงรุก
ขั้นตอนหลัก ขั้นตอนย่อย
1. ขั้นการวิเคราะห์
(Analysis)
1.1 วิเคราะห์เนื้อหา
1.2 วิเคราะห์ผู้เรียน
1.3 วิเคราะห์บริบทและสภาพแวดล้อม
2. ขั้นการออกแบบ
(Design)
2.1 กาหนดเนื้อหา
2.2 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
2.3 กาหนดภาระงานและเกณฑ์การประเมิน
2.4 กาหนดกลยุทธ์การสอน
2.5 กาหนดสื่อและอุปกรณ์การสอน
3. ขั้นการพัฒนา
(Develop)
3.1 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
3.2. จัดทาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
3.3 จัดทาสื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอน
3.4 จัดเตรียมสภาพแวดล้อมของการเรียนการสอน
ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis)
1.1 วิเคราะห์เนื้อหา
1.2 วิเคราะห์ผู้เรียน
1.3 วิเคราะห์บริบทและสภาพแวดล้อม
1.1 วิเคราะห์เนื้อหา
เนื้อหา (Contents) คือ “เรื่องที่จะสอน” ซึ่งการเลือก “เรื่อง
ที่จะสอน” จะพิจารณาจากหลักสูตรที่ใช้อยู่ในปัจจุบันโดยเลือกดูสาระ
การเรียนรู้ที่เห็นว่า ผู้เรียนสามารถศึกษาเรียนรู้เนื้อหานั้น ๆ ด้วยการ
ปฏิบัติในชั้นเรียน
ทั้งนี้ครูอาจพิจารณาหน่วยการเรียนรู้ที่มีอยู่แล้วในโครงสร้าง
รายวิชา และเสริมกิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุกเข้าไปในหน่วยการ
เรียนรู้นั้น ๆ หรือผสมผสานหน่วยการเรียนรู้ที่มีอยู่ให้เป็นหน่วยการ
เรียนรู้ใหม่ก็ได้
1. เนื้อหาที่เป็นการ
อธิบายเพื่อให้เกิด
ความเข้าใจ
2. เนื้อหาที่เป็น
แนวคิด ทฤษฎี
หลักการ
3. เนื้อหาที่เป็น
เรื่องราว เหตุการณ์
หรือสถานการณ์
4. เนื้อหาที่แสดง
วิธีการหรือลาดับขั้นตอน
การปฏิบัติ
5. เนื้อหาที่แสดง
ถึงความสัมพันธ์
ของสิ่งต่าง ๆ
6. เนื้อหาที่ต้อง
อาศัยการคิดระดับสูง
7. เนื้อหาที่เน้น
ความเข้าใจเพื่อ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เนื้อหาสาหรับการ
จัดการเรียนการสอน
แบบเชิงรุก
ผลการเรียน
รูปแบบการเรียน
ความพร้อม
ของผู้เรียน
อื่น ๆ
การวิเคราะห์
ผู้เรียน
1.2 วิเคราะห์ผู้เรียน
รูปแบบการเรียน
Learning Styles
- การเห็น
- การฟัง
- การปฏิบัติ
วิธีการวิเคราะห์ผู้เรียน สามารถดาเนินการดังนี้
1. เก็บรวบรวมข้อมูลผู้เรียน โดยใช้แบบสอบถามเพื่อการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคล
โดยออกแบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลในประเด็นต่าง ๆ ทั้ง 4 ประเด็น
2. วิเคราะห์ผู้เรียน โดยนาข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูลของเป็น
ภาพรวมของทั้งชั้นเรียน
3. ระบุลักษณะผู้เรียน สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน ซึ่งจะทาให้ครูผู้สอนทราบว่า
3.1 ผู้เรียนโดยเฉลี่ยมีผลการเรียนในระดับใด เก่ง ปานกลาง อ่อน มีเท่าใด
3.2 ผู้เรียนมีความถนัดในการเรียนรายวิชานี้มากน้อยอย่างไร
3.3 ลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนมีแบบใดบ้าง มากน้อยอย่างไร
3.4 ผู้เรียนมีทักษะเฉพาะในการเรียนรู้รายวิชาอย่างไร
1.3 วิเคราะห์บริบทและสภาพแวดล้อม
สภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ (Learning Environment)
สภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ หมายถึง สภาพการณ์ที่มีผลต่อการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน รวมถึงเงื่อนไขและ
สถานการณ์ต่าง ๆ ที่สามารถส่งผลต่อการเรียนรู้ทั้งในทางบวกและทางลบต่อผู้เรียน
สภาพแวดล้อมของการเรียนมีทั้งสภาพแวดล้อมที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ผู้สอน
ต้องออกแบบการจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมและควบคุม
สภาพแวดล้อมในแต่ละพื้นที่ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
1.3 วิเคราะห์บริบทและสภาพแวดล้อม
1. ความพร้อมของผู้เรียน
2. ความพร้อมด้านเวลา
3. ความพร้อมด้านครูผู้สอน/ผู้ช่วยสอน
4. ความพร้อมของโสตทัศนูปกรณ์
5. ความพร้อมด้านสื่อและอุปกรณ์การสอน
6. ความพร้อมด้านสถานที่
7. ความพร้อมด้านเทคโนโลยี
8. ความพร้อมด้านอื่น ๆ
ขั้นการออกแบบ (Design)
2.1 กาหนดเนื้อหา
2.2 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
2.3 กาหนดภาระงานและเกณฑ์การประเมิน
2.4 กาหนดกลยุทธ์การสอน
2.5 กาหนดสื่อและอุปกรณ์การสอน
2.1 กาหนดเนื้อหา 1. เลือกเนื้อหา
2. ปรับปรุง/แก้ไข/เพิ่มเติม
/บูรณาการเนื้อหา
3. จัดลาดับเนื้อหา
4. แบ่งเนื้อหาออกเป็น
บทเรียนย่อย ๆ
+ +
2.2 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objectives) เป็นจุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนการสอนที่
ระบุพฤติกรรมคาดหวังของผู้เรียนที่จะต้องแสดงออกมาหรือมีการกระทาที่สามารถสังเกตเห็นได้
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมประกอบด้วยข้อความ 3 ส่วน คือ พฤติกรรมที่คาดหวัง สถานการณ์หรือ
เงื่อนไขและเกณฑ์ ดังนี้
1. พฤติกรรมที่คาดหวัง เป็นข้อความที่ระบุถึงความสามารถหรือพฤติกรรมของของ
ผู้เรียนหลังจบบทเรียน
2. สถานการณ์ หรือเงื่อนไข คือการกาหนดเนื้อหาและกิจกรรมที่สอดคล้องกับการ
เรียนการสอน
3. เกณฑ์ หมายถึง ข้อความที่อธิบายให้ทราบว่าผู้เรียนจะต้องปฏิบัติให้ดีเพียงใด
150
26
21
24
26
30
23
Kittipun Udomseth, 2018
Kittipun Udomseth, 2018
Kittipun Udomseth, 2018c
2.3 กาหนดภาระงานและเกณฑ์การประเมิน
ภาระงาน ที่สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก
ได้แก่ การพูด การรายงานปากเปล่า การอภิปราย การอ่าน การเล่าเรื่อง
การกล่าวรายงาน การโต้วาที ร้องเพลง เล่นดนตรี การเขียน การนาเสนอ
การแสดง การเคลื่อนไหวร่างกาย การเล่นกีฬา การทดสอบสมรรถภาพ
การทาแบบทดสอบ-แบบฝึก-แบบวัดต่าง ๆ การปฏิบัติ การทดลอง
การวางแผนการทางาน การสรุป การทบทวน การสืบค้น การเปรียบเทียบ
การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมิน เป็นต้น
ชิ้นงาน เช่น รายงาน เรียงความ จดหมาย โคลง กลอน
หนังสือเล่มเล็ก ภาพวาด แผนภาพ แผนผัง แผนภูมิ งานประดิษฐ์
นิทรรศการ แบบจาลอง แบบฝึกหัด ใบงาน แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ งานที่มี
ลักษณะผสมผสานกันระหว่างชิ้นงานกับภาระงาน เช่น โครงงาน การ
ทดลอง การสาธิต ละคร วีดีทัศน์ แผนงาน โครงการ เป็นต้น
2.4 กาหนดกลยุทธ์การเรียนการสอน
กลยุทธ์การสอน (Instructional Strategy) คือ วิธีการหรือเทคนิคการสอนที่ครูนามาใช้
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่กาหนด สาหรับการ
เรียนรู้เชิงรุกจะเน้นที่กิจกรรมในชั้นเรียน (in-class activities) เป็นหลัก
ขั้นนา ขั้นสอน ขั้นปฏิบัติ ขั้นสรุป ขั้นใช้ความรู้
1. ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรม
2. เน้นการพัฒนาการคิดระดับสูง
3. เน้นการเรียนรู้ร่วมกัน/การเรียนแบบร่วมมือ
4. ผู้เรียนดูแลและตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง
5. เน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติ
6. มีการวัด/ประเมินควบคู่ไปกับกิจกรรมการเรียนการสอน
เน้น
1. การฟัง (Listening)
2. การดู (Watching)
3. การพูด (Talking)
4. การอ่าน (Reading)
5. การเขียน (Writing)
6. การสะท้อนคิด (Reflect & Feedback)
7. การปฏิบัติ (Practices)
8. การแบ่งปันและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Sharing)
9. การตรวจสอบข้อมูล (Checking)
10. การแข่งขันและเกม (Competition & Game)
2.1 2.2 2.32.4 2.5
Kittipun Udomseth, 2018
ขั้นการพัฒนา (Develop)
3.1 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
3.2. จัดทาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
3.3 จัดทาสื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอน
3.4 จัดเตรียมสภาพแวดล้อมของการเรียนการสอน
3.1 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการสอนหรือแผนการจัดการ
เรียนรู้ เป็นแนวทางการจัดการเรียนการ
สอนในแต่ละบทเรียน ซึ่งเป็นผลงานที่บ่ง
บอกถึงความสามารถในการออกแบบการ
จัดการเรียนการสอนของครู
โดยทั่วไปมักเริ่มจากหน่วยการ
เรียนรู้ไปสู่แผนการจัดการเรียนรู้ซึ่งอาจ
เป็นรายคาบ (ชั่วโมง) หรือรายบทเรียน
สาหรับองค์ประกอบของแผนการจัดการ
เรียนรู้ให้ยึดถือตามที่สถานศึกษาแต่ละ
แห่งกาหนด
1. มีรายละเอียดสาคัญ ครบถ้วน
2. มีความถูกต้อง ละเอียด ชัดเจน
3. มีความเหมาะสม และสอดคล้อง
กันทุกส่วน
4. สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง
3.2 จัดทาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แบบสังเกต
(Observation)
แบบสัมภาษณ์
(Interview)
แบบสารวจ
(Survey)
แบบทดสอบ
(Testing
แบบวัดเจตคติ
(Attitude test)
แบบวัดภาคปฏิบัติ
(Performance test)
แบบสอบถาม
(Questionnaire)
3.3 จัดทาสื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอน
1. เลือกสื่อการสอนที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
2. เลือกสื่อการสอนที่ตรงกับลักษณะของเนื้อหาของบทเรียน
3. เลือกสื่อการสอนให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน
4. เลือกสื่อการสอนให้เหมาะสมกับจานวนของผู้เรียนและกิจกรรมการเรียนการสอน
5. เลือกสื่อการสอนที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
6. เลือกสื่อการสอนที่มีลักษณะน่าสนใจและดึงดูดความสนใจ
7. เลือกสื่อการสอนที่มีวิธีการใช้งาน เก็บรักษา และบารุงรักษาได้สะดวก
3.4 จัดเตรียมสภาพแวดล้อมของการเรียนการสอน
1. ด้านผู้เรียน
2. ด้านสภาพแวดล้อมและบรรยากาศของชั้นเรียน
3. ด้านสื่อ-วัสดุการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
4. ด้านเทคโนโลยีที่สนับสนุนการเรียนรู้
5. ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
สภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่ดี จะเอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
Active Learning kttpud_2018
Active Learning kttpud_2018

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
yuiops
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
computer1437
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1
thanakit553
 

Was ist angesagt? (20)

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
 
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)ใบงานที่ 4   เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
ใบงานที่ 4 เรื่อง การสืบค้นข้อมูล(search engine)
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1
 

Ähnlich wie Active Learning kttpud_2018

วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
an1030
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
panggoo
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
kungcomedu
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Chaya Kunnock
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
nan1799
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
Amu P Thaiying
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
Sukanya Burana
 

Ähnlich wie Active Learning kttpud_2018 (20)

วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
Assure
AssureAssure
Assure
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
Thai edu21n2
Thai edu21n2Thai edu21n2
Thai edu21n2
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 
Tl 620611
Tl 620611Tl 620611
Tl 620611
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 

Mehr von Kittipun Udomseth

Mehr von Kittipun Udomseth (13)

Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
 
Info 001
Info 001Info 001
Info 001
 
Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59
 
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-ResearchFlipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
 
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาการผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
 
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
Flipped 2014
Flipped 2014Flipped 2014
Flipped 2014
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3
 
Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2
 
Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1
 

Active Learning kttpud_2018