SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
World
Think Tank
Monitor ปี ที่ 4 ฉบับที่ 2
กุมภาพันธ์ 2561
สหรัฐ—จีน
แข่งขันและร่วมมือ
อย่างไรให้เกิดสันติภาพ
ข้อเสนอเพื่อ
ยกระดับ
ความสัมพันธ์
สหภาพยุโรป-จีน
การวางตัว
เป็ นกลางของ
อินเดีย
ต่อการรักษา
ความสัมพันธ์
สหรัฐ-จีน
2 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
ที่ปรึกษา: ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: คุณยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: นายอุสมาน วาจิ
นางสาวปลายฟ้า บุนนาค
นายปาณัท ทองพ่วง
ที่มาภาพปก: U.S. Embassy and Consulates in China website https://china.usembassy-
china.org.cn/statement-death-human-rights-attorney-dr-li-baiguang/
เผยแพร่: กุมภาพันธ์ 2561
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนน
ลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
บทบรรณาธิการ
สวัสดีค่ะท่านผู้อ่าน World Think Tank Monitor ฉบับนี้นาบทวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับมหาอานาจสาคัญๆ ของโลก โดย Think Tank ชั้นนาของโลก
มานาเสนอ ไม่ว่าจะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับสหรัฐ กับสหภาพยุโรป และกับ
อินเดีย เพราะปฏิเสธไม่ได้ว่าการเมืองโลกนั้นยังคงขับเคลื่อนจากบทบาทของมหาอานาจ
อยู่เป็นหลัก
เชิญติดตามค่ะ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
BROOKINGS INSTITUTION
มองความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน : แข่งขันและร่วมมืออย่างไรให้เกิดสันติภาพ 5
การวางตัวเป็นกลางของอินเดียต่อการรักษาความสัมพันธ์ที่มีต่อสหรัฐฯ และจีน 10
BRUEGEL
ข้อเสนอเพื่อยกระดับความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปและจีน 18
5 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
มองความสัมพันธ์สหรัฐฯ และ จีน : แข่งขันและร่วมมือ
ที่มาภาพ https://www.politico.com/story/2013/02/how-to-improve-us-china-relations-088040
Victory.jpg
อุสมาน วาจิ
หนึ่งในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ถูกจับตามองมากที่สุดคือความสัมพันธ์
ระหว่างสหรัฐฯ และจีน เพราะทุกวันนี้ แม้สหรัฐฯ จะเป็นประเทศที่มีอานาจทางเศรษฐกิจ
มากที่สุด แต่จีนซึ่งยกระดับเศรษฐกิจของตนได้อย่างรวดเร็วก็ไล่ตามสหรัฐฯ อย่างต่อเนื่อง
ยิ่งไปกว่านั้นหากพิจารณา G D P ด้วยอานาจซื้อที่เป็นจริง (P P P ) หรือการปรับให้
สอดคล้องกับค่าเงินและค่าครองชีพแล้ว เศรษฐกิจของจีนได้นาหน้าสหรัฐฯ ไปแล้ว หาก
มองในประเด็นอื่นๆ แล้ว ในด้านการทหารนั้นนับวันจีนจะยิ่งขยายอิทธิพลออกมานอก
พรมแดนของตนมากขึ้น ซึ่งเท่ากับการท้าทายสหรัฐฯ ที่มีกองเรือและฐานทัพของตน
กระจายอยู่ในหลายประเทศ ในด้านการทูตนั้นจีนได้เปลี่ยนไปมาก จากอดีตที่เคยเป็น
ประเทศปิดซึ่งไม่นิยมการสร้างสัมพันธ์กับต่างชาตินัก แต่ในปัจจุบันจีนเล็งเห็นแล้วว่าหาก
ไร้ความสัมพันธ์ทางการทูตแล้วก็ยากที่จะรักษาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมิให้เสื่อม
ถอยได้จึงได้ริเริ่มความสัมพันธ์และสร้างสถานทูตขึ้นในหลายประเทศเช่น ในประเทศกลุ่ม
6 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
แอฟริกาและอเมริกาใต้ ก้าวใหม่ๆ เหล่านี้
ของจีนคือสิ่งที่ยืนยันปาฐกถาเปิดประชุม
สมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีนครั้งล่าสุด
โดยประธานาธิบดีสีจิ้นผิง ที่กล่าวว่าจีนยุค
ต่อไปนั้นจะเข้าหาโลกมากขึ้นอย่างแน่นอน
ว่าเป็นเรื่องจริงอย่างไม่ต้องสงสัย
เมื่อสหรัฐฯ ถูกท้าทายมากขึ้นเช่นนี้จะ
ทาให้เกิดสงครามขึ้นจากความต้องการ
รักษาการเป็นผู้นาโลกของสหรัฐฯ หรือไม่?
หรือจะมีทางเลือกอื่นๆ ซึ่งรักษาสันติภาพ
ข อ ง โ ล ก ไ ว้ ไ ด้ โ ด ย ไ ม่ ต้ อ ง ซ้า ร อ ย
ประวัติศาสตร์ที่สงครามครั้งใหญ่มักเกิดจาก
การแข่งขันกันของมหาอานาจ ทางสถาบัน
Brooking จึงได้จัดเสวนาขึ้นเพื่อหาคาตอบ
ในเรื่องนี้
ภายหลังการประกาศเปิดประเทศและ
เปิดรับการลงทุนในยุคของเติ้ง เสี่ยว ผิง
เศรษฐกิจของจีนก็เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วมา
โดยตลอด โดยเฉพาะเมื่อรัฐบาลเน้นการวัด
ความสาเร็จจากการเติบโตของ GDP เป็น
หลัก แต่ในระยะยาวแล้วการเน้นแต่เพียง
GDP อย่างเดียว แม้จะทาให้เศรษฐกิจ
ยกระดับได้อย่างรวดเร็วก็จริงแต่ในทางหนึ่ง
ก็เป็ นรูปแบบการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืนนัก
เนื่องจากเกิดผลกระทบด้านสังคมและ
สิ่งแวดล้อมตามมา แน่นอนว่าผู้กาหนด
นโยบายของจีนนั้นย่อมตระหนักเรื่องนี้ดี
กราฟแสดงงบประมาณด้านการการทหารของจีนที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี
ที่มา Stockholm International Peace Research Institute
7 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
ในปาฐกถาล่าสุดในการประชุมพรรค
คอมมิวนิสต์ประธานาธิบดีสีจิ้นผิง จึงได้
ประกาศว่าต่อไปนี้จีนจะเน้นการพัฒนาอย่าง
ยั่งยืนที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาอย่าง
สมดุลรอบด้าน ซึ่งเห็นได้ชัดเจนจากการ
ลงทุนด้านพลังงานทดแทนที่เพิ่มขึ้นอย่าง
มากในรอบหลายปีที่ผ่าน และยังมีแผนที่จะ
พัฒนาและเพิ่มกาลังการผลิตจากแหล่ง
พลังงานสะอาดเหล่านี้ในอนาคต
ฉะนั้นแล้ว จึงคาดการณ์ได้ว่า
ความสาเร็จของจีนที่ผ่านมานั้นจะไม่จบลง
ในช่วงเวลานี้ หากจะยังคงพัฒนาต่อไปได้
อีกด้วยการคิดและวางแผนของจีนเองที่
ไม่ได้เดินตามแนวทางตะวันตก การที่จีนมี
แนวทางที่เป็นเอกลักษณ์นั้นทาให้เกิดความ
มั่นใจต่อจีนว่าสามารถเป็นแนวทางให้โลก
นาไปเป็นแบบอย่างได้ ความมั่นใจนี้ไม่
เพียงเกิดขึ้นในด้านเศรษฐกิจ แต่ยังรวมไป
ถึงด้านการเมืองทั้งในและระหว่างประเทศ
อีกด้วย จึงเห็นได้ว่าจีนได้เข้าไปสานสัมพันธ์
ทางการทูตกับชาติต่างๆ โดยเฉพาะชาติใน
เอเชียซึ่งเปรียบได้กับหลังบ้านของตน ซึ่งก็
ไม่ใช่เรื่องง่ายเพราะต้องรับมือกับความท้า
ทายทั้งภายในและภายนอกประเทศ ความ
ท้าทายจากภายในคือกระแสชาตินิยมในหมู่
ชาวจีนที่เพิ่มมากขึ้นตามความเจริญก้าวหน้า
ของจีน จนบางครั้งสร้างกระแสกดดันให้
รัฐบาลต้องมีท่าทีที่แข็งกร้าวต่อความขัดแย้ง
กับเพื่อนบ้านมากขึ้น ส่วนจากภายนอก
ประเทศคือชาติในอาเซียนนั้นหลายชาติอยู่
ใต้อิทธิพลของสหรัฐฯ มีฐานทัพสหรัฐฯ
ตั้งอยู่ หรือแม้ไม่ได้อยู่ใต้อิทธิพลสหรัฐฯ ก็
ไม่อยากที่จะอยู่ใต้อิทธิพลของจีนจนเกินไป
ซึ่งสภาพเช่นนี้เป็นความเสี่ยงหากชาติใน
เอเชียเกรงกลัวอิทธิพลของจีนกระทั่ง
ร่วมมือกันเพื่อคัดค้านจีนในที่สุด แต่หากจีน
เน้นความเป็นมิตรและความร่วมมือที่ให้
ประโยชน์ทั้งสองฝ่ายแล้วจีนก็จะมีพันธมิตร
ใหม่ๆ เพิ่มขึ้นได้ไม่ยากนัก ก็นับว่าใน
ปัจจุบันจีนสามารถสร้างความสมดุลระหว่าง
การขยายอิทธิพลและการสร้างมิตรประเทศ
ได้ดีพอสมควร
แน่นอนว่าสหรัฐฯ ย่อมไม่ต้องการ
ให้จีนขยายอิทธิพลทางทหารของตนไป
มากกว่านี้อย่างแน่นอน โดยเฉพาะหากจีน
หวังที่จะเป็นมหาอานาจทางทหารของเอเชีย
ฉะนั้น อนาคตความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสอง
ชาติจึงเป็ นที่ถกเกียงกันว่าควรจะเป็ น
8 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
อย่างไร โดยเห็นตรงกันว่าสงครามคือสิ่งที่ต้อง
หลีกเลี่ยงมากที่สุด หากสหรัฐฯ จะรักษาอานาจ
ในภูมิภาคเอเชียไว้ก็ต้องเลี่ยงการสู้รบ แต่การ
มองว่าสหรัฐฯ และจีนต้องร่วมมือกันอย่างเดียว
หรือเป็นคู่แข่งขันกันอย่างเดียวนั้นเป็นการมอง
ที่หยาบเกินไป ในความเป็นจริงเป็นเรื่องปกติที่
จะมีทั้งการร่วมมือและการแข็งขันกัน ทั้งใน
ด้านเศรษฐกิจ ความมั่นคง และการทูต
ทุกวันนี้สหรัฐฯ และจีน มีผลประโยชน์
ทางการค้าระหว่างกันสูงมาก จีนเป็นคู่ค้าอันดับ
หนึ่งของสหรัฐฯ และขณะเดียวกันสหรัฐฯ ก็
เป็นคู่ค้าอันดับหนึ่งของจีน นี่คือสิ่งที่เป็นหลัก
ยึดให้ทั้งสองชาตินั้นพยายามรักษาสันติภาพ
ระหว่างกัน แต่มีประเด็นที่มีความเปราะบางอยู่
สองประเด็นซึ่งทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันมิให้เป็น
ตัวจุดชนวนความขัดแย้ง ประการแรกคือการที่
สหรัฐฯ ส่งกองเรือและฐานทัพออกไป
ประจาการในเอเชีย ส่วนจีนนั้นต้องการสร้าง
อิทธิพลเหนือทะเลจีนใต้และทะเลจีนตะวันออก
ซึ่งหมายถึงการผลักดันมิให้กาลังทหารของ
สหรัฐฯ เข้ามาในพื้นที่ อีกประการหนึ่งคือ
วิกฤติการณ์เกาหลีเหนือที่สหรัฐฯ และจีนมี
จุดยืนต่างกันและมีความเสี่ยงจากภัยนิวเคลียร์
ไม่เท่ากันด้วย
ที่มา United States Census Bureau
มูลค่าการนาเข้าสินค้าจากจีนมายังสหรัฐฯ มูลค่าการส่งออกสินค้าจากสหรัฐฯ มายังจีน
9 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
กล่าวโดยสรุปแล้ว หากสหรัฐฯ คิดว่า
ตนเป็ นฝ่ ายตั้ งรับและต้ องการรักษา
ผลประโยชน์ของตนในภูมิภาคเอเชียไว้ ใน
ขณะเดียวกันก็ไม่ต้องการให้เกิดสงครามขึ้น ผู้
ที่เกี่ยวข้องกับการกาหนดนโยบายต่างประเทศ
ของสหรัฐฯ ต้องเริ่มด้วยการวิเคราะห์
ผลประโยชน์ที่สหรัฐฯ ได้จากการมีสัมพันธภาพ
กับจีน และผลเสียที่อาจเกิดขึ้นหากจีนขยาย
อิทธิพลมายังภูมิภาคเอเชียอย่างต่อเนื่อง
เพราะสหรัฐฯ นั้นขาดบรรยากาศของการถูกท้า
ท้ายเช่นนี้มานานอาจทาให้การวิเคราะห์นั้นไม่
ตรงกับความเป็นจริง อย่างที่เห็นในความ
ขัดแย้งทะเลจีนใต้ที่สหรัฐฯ มีบทบาทน้อย ซึ่ง
เกิดจากการไม่สามารถนิยามผลประโยชน์ที่มีใน
ภูมิภาคนี้ได้ชัดเจนเพียงพอ กระบวนการ
ตอบสนองต่อจีนจึงเป็นไปอย่างล่าช้า ในขณะที่
จีนนั้นยังคงแข็งกร้าวในจุดยืนที่มี ฉะนั้น เพื่อ
ไม่ให้การแข่งขันด้านการทหารของทั้งสองชาติ
เกิดความตึงเครียดขึ้นนัก การมีสนธิสัญญา
จากัดอาวุธที่ทั้งสองฝ่ายต้องลงนามร่วมกันจึง
เป็นทางออกที่น่าสนใจ
ในมุมของผู้เรียบเรียงมีความเห็น
เพิ่มเติมว่าในปัจจุบันที่สหรัฐฯ เป็นผู้นาโลกนั้น
ในหลายพื้นที่สหรัฐฯ มิได้มีผลประโยชน์
โดยตรงมากนักหรืออาจจะเคยมีผลประโยชน์
ในพื้นที่อยู่แต่ในปัจจุบันลดบทบาทลงแล้วตาม
เศรษฐกิจที่ไม่ได้ยิ่งใหญ่เท่าอดีต ในทาง
กลับกันจีนนั้นขยายเศรษฐกิจของตนไปยัง
ประเทศต่างๆ ทั่วโลก หลายประเทศโดยเฉพาะ
ในเอเชียต่างมีจีนเป็ นคู่ค้าอันดับแรก มี
โครงสร้างพื้นฐานที่จีนเข้าไปก่อสร้างด้วย
ยุทธศาสตร์ Belt & Road จึงต้องมีการขยาย
อานาจทางทหารและการทูตเป็ นปกติ
เช่นเดียวกับที่สหรัฐฯ เคยทามาแล้วในอดีต
ด้วยการส่งกาลังทหารไปทั่วโลก ฉะนั้น ผู้เรียบ
เรียงเห็นด้วยว่าทางออกที่น่าจะเป็นไปได้จริงจึง
มิใช่การสกัดกั้นกาลังทหารของจีนอย่างสิ้นเชิง
หากแต่การที่ทั้งสองฝ่ ายทาสัญญาร่วมกัน
เพื่อให้เกิดความชัดเจนถึงการแผ่ขยายกาลัง
ทหารของตนก็จะเป็นประโยชน์ต่อการร่วม
เจรจาเพื่อหาทางออกต่อไป
อ้างอิง
David Dollar, et al. “Avoiding war:
Containment, competition, and cooperation
in U.S.-China relations”. ออนไลน์ https://
www.brookings.edu/research/avoiding-war
-containment-competition-and-cooperation
-in-u-s-china-relations/. พ ฤ ศ จิ ก า ย น
2560
10 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
การวางตัวเป็ นกลางของอินเดีย
ต่อการรักษาความสัมพันธ์ที่มีต่อสหรัฐฯ และจีน
ที่มาภาพ http://www.scmp.com/comment/insight-opinion/article/1970372/one-eye-china-modis-india-strikes-firm-
friendship-us-will-it
อุสมาน วาจิ
ในปัจจุบันที่โลกถูกนาโดยสหรัฐฯ และจีน อินเดียได้วางตาแหน่งของตนไม่ให้เอียงเข้า
หาฝั่งใดฝั่งหนึ่งมากเกินไปจนทาให้อีกฝ่ายมองว่าตนเป็นศัตรู การพยายามวางตัวเป็นกลางนี้
คือสิ่งที่อินเดียทามาตลอด นับแต่ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี 1947 บทบาท
ของอินเดียค่อยๆ ถูกยกระดับกลายเป็นตัวกลางระหว่างมหาอานาจของโลกเสมอมา นับแต่
ช่วงสงครามเย็นที่เป็นการขับเคี่ยวระหว่างฝ่ายโลกเสรี และคอมมิวนิสต์ อินเดียมีบทบาท
สาคัญในการลดความร้อนแรงของสงครามเกาหลีด้วยการเป็นตัวกลางเจรจาระหว่างสหรัฐฯ
และจีน รวมถึงความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฯ และสหภาพโซเวียตที่อินเดียเป็นตัวกลางเจรจา
ในการแลกเปลี่ยนเชลยสงครามระหว่างกัน แต่ในภายหลังกลับเป็นอินเดียที่มีปัญหากับทั้ง
บทบาทในการเป็ นตัวกลางของอินเดีย
11 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
สหรัฐฯ และจีน สหรัฐฯ นั้นมองว่าอินเดียอาจ
ตกอยู่ใต้ อิทธิพลของจีนและแนวคิด
คอมมิวนิสต์ อีกทั้งสหรัฐฯ ยังให้ความสาคัญ
กับปากีสถานมากกว่า ส่วนกับจีนนั้นอินเดียมี
ปัญหาเรื่องพรมแดนจนกระทั่งเกิดสงคราม
ระหว่างกันในปี 1962 ซึ่งอินเดียเป็นฝ่ าย
ปราชัย
หลังสงครามเย็น: ก้าวสาคัญของอินเดีย
เมื่อสงครามเย็นจบลงในปี 1991 ใน
ห้วงเวลานี้เป็นช่วงสมัยที่สหรัฐฯ เป็นผู้นาโลก
เพียงหนึ่งเดียวและจีนเริ่มยกระดับเศรษฐกิจ
ของตนอย่างรวดเร็ว อินเดียสามารถที่จะสาน
สัมพันธ์กับทั้งสหรัฐฯ และจีนได้สาเร็จอีกครั้ง
สหรัฐฯ เริ่มกลับมาให้ความสาคัญกับอินเดีย
เนื่องจากมองว่าอินเดียคือประเทศเอกราชที่
ปกครองในระบอบประชาธิปไตย อีกทั้งเป็น
ตลาดขนาดใหญ่สาหรับสหรัฐฯ ส่วนจีนนั้นก็
เริ่มการเจรจาเรื่องพรมแดนกับอินเดียเพื่อปู
ทางไปสู่การสานสัมพันธ์ในด้ านอื่นๆ
โดยเฉพาะเริ่มการค้าระหว่างกันอย่างเป็น
ทางการ ความสาเร็จของอินเดียที่ได้สร้าง
ความสัมพันธ์กับทั้งสองชาติเกิดจากความ
พร้อมของอินเดียเองที่สามารถจัดการปัญหา
เสถียรภาพทางการเมืองและปฏิรูปเศรษฐกิจ
ให้มีความเสรีมากขึ้น เมื่อการเมืองและ
เศรษฐกิจมีความชัดเจนจึงส่งผลให้การดาเนิน
นโยบายต่างประเทศมีความต่อเนื่องชัดเจน
มากขึ้นด้วย
อินเดียในศตวรรษที่ 21: เมื่อจีนเป็ น
มหาอานาจใหม่
ในช่วงต้นของศตวรรษที่ 21 เศรษฐกิจ
ของจีนได้เติบโตถึงขีดสุด มูลค่าการค้าที่มีกับ
อินเดียพุ่งสูงถึง 7.3 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐฯ
ทั้งที่พึ่งเริ่มต้นไม่นาน เศรษฐกิจจีนยังมีความ
ผูกโยงกับเศรษฐกิจของสหรัฐฯ มากขึ้นด้วยทา
ให้ทั้งสองชาติต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
กันมากขึ้น ในอีกทางหนึ่งก็เริ่มเห็นได้ว่าจีนนั้น
เริ่มท้าทายสหรัฐฯ จากอิทธิพลที่ตนมี แต่
อินเดียยังคงมองไปที่การไม่เลือกข้างฝ่ายหนึ่ง
ฝ่ ายใดจนเกินไป และไม่ต้องการให้ทั้งสอง
มหาอานาจเป็นศัตรูต่อกัน แต่การพยายามยืน
อยู่ ระหว่ างกลางอินเดียก็ได้ รั บการ
วิพากษ์วิจารณ์อยู่เช่นกันว่าทาให้เสียโอกาสที่
สาคัญไป เช่น ความสัมพันธ์ด้านการทหารและ
ความมั่นคงที่มีกับสหรัฐฯ ซึ่งอินเดียถูกตาหนิ
จากสหรัฐฯ ว่าไม่ดาเนินการพัฒนาตามที่ได้ให้
สัญญาไว้ ส่วนความสัมพันธ์ที่มีกับจีนแม้จะ
รักษาไว้ได้แต่ก็ไม่สามารถยกระดับให้ก้าวหน้า
ได้เช่นกัน
12 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
นเรณทรา โมดี เข้าพบประธานาธิบดี บารัค โอบามา ณ ทาเนียบขาว เมื่อปี 2014
ที่มาภาพ :https://c.tribune.com.pk/2014/10/769871-ModiObamaReuters-1412191661-110-640x480.jpg
อินเดียภายใต้โมดี : เข้าหาสหรัฐฯ แต่ไม่
ห่างเหินจีน
ภายหลังจาก นเรณทรา โมดี ได้รับ
ตาแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งอินเดียในปี 2014
แล้ว ภารกิจในการสานสัมพันธ์กับทั้งสอง
มหาอานาจยังคงมีอยู่เช่นเดิม โมดี ได้เดินทาง
ไปยังทาเนียบขาวเพื่อพบกับประธานาธิบดี
บารัค โอบามา หลังจากนั้นได้เดินทางไปยัง
มหานครนิวยอร์คเพื่อพบปะกับชาวอินเดียที่
อาศัยอยู่ในสหรัฐฯ ต่อมาอินเดียได้เชิญ
ประธานาธิบดีโอบามา เข้าร่วมเฉลิมฉลองวัน
ชาติอินเดียด้วย ซึ่งไม่เคยมีประธานาธิบดี
สหรัฐฯ คนใดได้ รับเกียรตินี้ มาก่อน
นอกจากนั้นยังสานสัมพันธ์กับญี่ปุ่ นซึ่งเป็น
พันธมิตรของสหรัฐฯ เพื่อสร้างเครือข่าย
ยุทธศาสตร์ อินโด – แปซิฟิก อีกด้วย อย่างไร
ก็ตาม ในอีกทาง หนึ่งอินเดียก็พยายามร่วมมือ
กับจีนมากเช่นกันแม้จะไม่เท่าสหรัฐฯ ก็ตาม
โดยเฉพาะในประเด็นที่สาคัญในระดับ
นานาชาติ เช่น การแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน
สถาบันการเงินระหว่างประเทศ แม้ทั้งสองจะมี
ปัญหาเรื่องพรมแดนที่ขัดแย้งกันอย่างยาวนาน
และอิทธิพลของจีนเริ่มมากขึ้นจนเข้าครอบงา
ประเทศเพื่อนบ้านของอินเดียอย่างศรีลังกา
เนปาล และมัลดีฟส์ แต่ทั้งสองฝ่ายก็พยายาม
จัดการมิให้ความขัดแย้งนี้ส่งผลกระทบต่อ
ความสัมพันธ์ในด้านอื่นๆ ที่มี การค้าระหว่าง
ทั้งสองยังคงดาเนินต่อไปได้อย่างราบรื่น
13 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
อินเดียยังเป็นตลาดใหญ่สาหรับสินค้าจีน และ
จีนก็เข้ามาลงทุนในอินเดียมากขึ้น
อินเดียในยุคประธานาธิบดีทรัมป์ : รับมือ
กับความไม่แน่นอน
ในยุคของประธานาธิบดี โดนัล ทรัมป์
แม้จะมีความไม่มั่นใจและความสงสัยจากชาติ
พันธมิตรว่าสหรัฐฯ จะยังให้ความสาคัญกับ
พันธมิตรของตนเหมือนที่ผ่านมาหรือไม่
เพราะด้วยปัญหาเศรษฐกิจทาให้สหรัฐฯ เริ่ม
ดาเนินนโยบายชาตินิยมแล้วลดความ
ช่วยเหลือที่เคยมีต่อชาติต่างๆ อย่างไรก็ตาม
สหรัฐฯ ก็ยังเป็นมหาอานาจโลกอยู่เช่นเดิม
และอินเดียก็ยังต้องพัฒนาความสัมพันธ์ที่มี
กับสหรัฐฯ ต่อไป รวมถึงการรักษา
ความสัมพันธ์กับจีนในฐานะผู้นาการค้าเสรี
โลกในปัจจุบันด้วยเช่นกัน แม้จีนกาลังทาให้
อินเดียรู้สึกถูกบีบคั้นจากการแผ่อิทธิพลเข้ามา
ในภูมิภาคของตนและภูมิภาคอาเซียน แต่
หนทางที่ยังเป็นประโยชน์ที่สุดก็คือการไม่ตั้ง
ตนเป็นศัตรูกับจีน เพราะการพึ่งพาระหว่าง
กันในทางเศรษฐกิจยังมีอยู่มาก และใน
อนาคตมีแนวโน้มว่าเศรษฐกิจภาคบริการใน
จีนจะเติบโต ส่วนอุตสาหกรรมการผลิต
บางส่วนจะย้ายออกจากจีน ซึ่งอินเดียก็มีความ
พร้อมในการรับการลงทุนต่อได้
ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง เดินทางเยือนอินเดียอย่างเป็นทางการในปี 2014
ที่มาภาพ http://www.thehindubusinessline.com/multimedia/dynamic/02112/Modi_Xi_2112166g.jpg
14 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
อ้างอิง
Dhruva Jaishankar, Uneasy triangle: In-
dia’s evolving relations with the United
States and China. อ อ น ไ ล น์ https://
www.brookings.edu/research/uneasy-
triangle-indias-evolving-relations-with-
the-united-states-and-china/
15 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
ตัวแทนจากสหภาพยุโรปและจีนประชุมร่วมกัน
ณ มหาศาลาประชาคม กรุงปักกิ่ง เมื่อปี 2016 ที่ผ่านมา
ที่มาภาพ https://www.chathamhouse.org/publication/eu-china-economic-relations-2025-building-common-future
ข้อเสนอรูปธรรมต่อการยกระดับความสัมพันธ์
ระหว่างสหภาพยุโรปและจีน
อุสมาน วาจิ
นับแต่ปี 1975 ที่จีนและประชาคม
เศรษฐกิจยุโรป (European Economic Com-
munity: EEC) ได้ริเริ่มความสัมพันธ์ระหว่าง
กันนั้น ทั้งสองฝ่ายต่างมีพัฒนาการที่รวดเร็ว
อย่างยิ่ง จีนได้พลิกตัวเองจากประเทศยากจน
กลายเป็นชาติที่มีขนาด GDP ใหญ่ที่สุดในโลก
เมื่อเทียบกับอานาจซื้ อ ส่วนประชาคม
เศรษฐกิจยุโรปก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพยุโรป
(European Union: EU) และได้สร้างระบบ
ตลาดเดียว (single market) ที่มีขนาดใหญ่
ที่สุดในโลก การค้าระหว่างทั้งสองก็เติบโตขึ้น
มากจนสหภาพยุโรปกลายเป็นคู่ค้าอันดับหนึ่ง
ของจีน และจีนเป็นตลาดส่งออกที่ใหญ่เป็น
อันดับสองของสหภาพยุโรป ฉะนั้น จึงไม่ใช่
เรื่องแปลกหากทั้งสองจะมีความสัมพันธ์
ห ล า ก ห ล า ย ด้ า น ที่ แ น บ แ น่ น ขึ้ น ต า ม
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
16 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
สหภาพยุโรปและจีนนั้นมีทั้งโอกาสและความ
ท้าทายร่วมกันในหลายประการ ไม่ว่าจะเป็น
ด้านเศรษฐกิจ การรักษาสิ่งแวดล้อม ธรรมา
ภิบาล รวมถึงด้านอื่นๆ ที่ล้วนเป็นปัญหาใน
ระดับโลก ฉะนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ทั้งสองซึ่ง
เป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจอันดับสองและ
สามของโลกต้องร่วมมือกันเพื่อก้าวผ่านปัญหา
ดังกล่าว โดยเฉพาะในปัจจุบันที่สหรัฐฯ
ภายใต้ประธานาธิบดีทรัมป์ มีแนวโน้มที่จะ
สนใจประเด็นระหว่างประเทศน้อยลงโดยมุ่ง
แก้ปัญหาภายในประเทศมากขึ้น ยิ่งมีความ
จาเป็นที่สหภาพยุโรปและจีนต้องเข้ามาแบก
รับภาระนี้มากขึ้น
การที่สหภาพยุโรปและจีนจะร่วมมือกัน
อย่างเป็นรูปธรรมได้นั้น สามารถเสริมสร้างได้
ผ่านหลายแนวทางด้วยกัน แนวทางแรกคือ
การส่งเสริมยุทธศาสตร์ความริเริ่ม Belt &
Road ของจีนซึ่งเป็นโครงการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานขนาดใหญ่ที่เชื่อมโลกไว้ด้วยกัน สิ่งที่
จีนคาดหวังคือการที่นานาชาติจับมือกับจีนใน
การพัฒนายุทธศาสตร์นี้เพื่อประโยชน์สูงสุด
ของทุกชาติมิใช่เฉพาะจีน โดยสหภาพยุโรป
นั้นมีบทบาทสาคัญเปรียบเสมือนสมอเรือของ
โลกตะวันตกที่เข้าเชื่อมกับยุทธศาสตร์นี้ แม้
จีนจะเป็นผู้ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ
เองเป็ นหลัก แต่ในด้ านการเงินและ
สิ่งแวดล้อมนั้นมีความยินดีที่จะเปิดโอกาสให้
ผู้เชี่ยวชาญจากสหภาพยุโรปที่มีประสบการณ์
มากกว่าได้ใช้องค์ความรู้ที่มีในการจัดการ
โครงการขนาดใหญ่นี้เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่
ยั่งยืนอันจะเป็นประโยชน์กับทั้งสหภาพยุโรป
และจีน สิ่งที่ทั้งสองฝ่ายจะได้รับคือการค้าการ
ลงทุนที่เพิ่มขึ้นอันเป็นผลจากโครงสร้าง
พื้นฐานที่ดีขึ้น มีการคาดการณ์ว่าหาก Belt &
Road สาเร็จด้วยดีแล้วจะกระตุ้นให้การค้า
ระหว่างประเทศของสหภาพยุโรปเพิ่มขึ้นร้อย
ละ 6 ทีเดียว
แนวทางต่อมาคือการร่วมมือกันในความ
มั่นคงด้านพลังงานและการรับมือกับภาวะโลก
ร้อน ในเรื่องนี้ ทั้งสองฝ่ ายได้ลงนามใน
สนธิสัญญาความร่วมมือเป็นที่เรียบร้อยในปี
2016 ที่ครอบคลุมทั้งด้านการวางนโยบาย
และข้อมูลเชิงเทคนิค นอกจากนี้ภายหลังจาก
ประธานาธิบดีทรัมป์ ประกาศว่าสหรัฐฯ ขอ
ถอนตัวจากข้อตกลงปารีสในปีที่ผ่านมา ทั้ง
สหภาพยุโรปและจีนได้ประกาศว่าจะปฏิบัติ
ตามข้อตกลงปารีสต่อไป ย่อมหมายถึงการที่
ทั้งสองจะร่วมมือกันให้มากขึ้นเพื่อทดแทน
บทบาทของสหรัฐฯ ที่ลดลง เช่น การลดการ
ปล่อยมลพิษจากภายในชาติของตนตามที่
สัญญาไว้ การให้เงินทุนสนับสนุนแก่ชาติต่างๆ
โดยเฉพาะชาติด้อยพัฒนาที่มีโครงการที่เป็น
17 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
มิตรกับสิ่งแวดล้อม การแลกเปลี่ยนข้อมูลและ
ให้ความร่วมมือในเวทีระหว่างประเทศ
ประการต่อมาคือการร่วมมือกันในการ
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ใหม่ที่มีผลต่อโลก ซึ่งสิ่งเหล่านี้ถือเป็นฐานราก
สาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจในปัจจุบัน การที่
ทั้งสองฝ่ ายซึ่งเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจ
อันดับสองและสามของโลกร่วมมือกันและลด
กาแพงระหว่างกันนั้นจะเป็นผลดีอย่างมาก การ
เปิดให้สินค้านวัตกรรมสามารถซื้อขายได้อย่าง
เสรีระหว่างทั้งสองฝ่ายคือแรงจูงใจให้เกิดการ
แข่งขันสร้างนวัตกรรมเพราะทั้งสองต่างเป็น
ตลาดขนาดใหญ่ที่มีกาลังซื้อสูง และการร่วมมือ
กันระหว่างหน่วยงานวิจัยทั้งภาครัฐและเอกชน
ของทั้งสองฝ่ายที่ง่ายขึ้นจะนามาสู่โอกาสของการ
สร้ างนวัตกรรมที่ดีขึ้ นด้ วย ในปัจจุบัน
บริษัทเอกชนของสหภาพยุโรปได้กระจายงาน
ส่วนของการค้นคว้าและพัฒนานวัตกรรมราว
ครึ่งหนึ่งไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะ
จีน ซึ่งถือเป็นการถ่ายทอดความรู้ไปยังนักวิจัย
ชาวจีนโดยตรงด้วย จนทาให้บริษัทสัญชาติจีน
บางบริษัทสามารถคิดค้นต่อยอดจนกลายเป็น
ผู้นาในนวัตกรรมบางด้านไปแล้ว ในทางกลับกัน
จีนเองต้องการเรียนรู้จากยุโรปมากขึ้นจึงเข้าไป
ลงทุนสร้างฝ่ายวิจัยและพัฒนาในยุโรปเช่นกัน
ประการสุดท้ายคือการเสริมสร้างธรรมาภิ
บาลและการค้าเสรีในระดับโลก ปฏิเสธไม่ได้ว่า
ในปัจจุบันทั้งสองมีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่มาก
ฉะนั้นการที่ทั้งสองร่วมมือกันในเรื่องค้าเสรีและ
ธรรมาภิบาลนั้นจะมีอิทธิพลต่อประเด็นดังกล่าว
ในระดับโลกด้วย อย่างไรก็ตามต้องเฝ้าระวังมิให้
การร่วมมือนี้ถูกมองว่าเป็นผลเสียต่อสหรัฐฯ ซึ่ง
อาจนามาสู่ความขัดแย้งใหม่ได้ จึงควรที่จะเชิญ
ชวนสหรัฐฯ ให้เข้ามามีส่วนร่วมในความสัมพันธ์
ระหว่างสหภาพยุโรปและจีนด้วย นอกจากนี้ยัง
ต้องอาศัยองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่
สหภาพยุโรปและจีนเป็ นสมาชิก เช่ น
สหประชาชาติ G20 องค์การการค้าโลก ในการ
ผลักดันประเด็นสาคัญหลายประเด็นที่เป็นเรื่อง
ซึ่งประชาคมนานาชาติต้องร่วมมือกันแก้ไข
กล่าวโดยสรุปแล้วด้วยการเติบโตทาง
เศรษฐกิจของทั้งสหภาพยุโรปและจีนได้นาพาให้
ทั้งสองฝ่ายมีความสัมพันธ์ในหลากหลายด้านที่
มากกว่าด้านเศรษฐกิจ แต่การที่จะยกระดับให้
ความสัมพันธ์เหล่านี้แข็งแกร่งมากขึ้นจาต้องมี
นโยบายและการดาเนินการที่เป็นรูปธรรมใน
หลากหลายด้านเช่นกัน เพื่อแก้ปัญหาซึ่งเป็น
วาระใหญ่ไม่เฉพาะต่อสหภาพยุโรปและจีน แต่
หากยังส่งผลถึงประชาคมโลกโดยรวมด้วย
18 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561
อ้างอิง
Alicia Garcí a-Herrero, K.C. Kwok, Liu
Xiangdong, Tim Summers and Zhang Yans-
heng, EU–China Economic Relations to
2025. ออนไลน์ http://bruegel.org/wp-
c o n t e n t / u p l o a d s / 2 0 1 7 / 0 9 /
CHHJ5627_China_EU_Report_170913_WE
B.pdf

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie World Think Tank Monitor มีนาคม 2561

ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
Klangpanya
 
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
Klangpanya
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
freelance
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
Taraya Srivilas
 

Ähnlich wie World Think Tank Monitor มีนาคม 2561 (20)

World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
 
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย   ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
 
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 
เส้นทางการพัฒนาประเทศจีน และความหมายทางสากล
เส้นทางการพัฒนาประเทศจีน และความหมายทางสากลเส้นทางการพัฒนาประเทศจีน และความหมายทางสากล
เส้นทางการพัฒนาประเทศจีน และความหมายทางสากล
 
Policy Brief 5/2562 เสริมสร้างหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียน: ทำไ...
Policy Brief 5/2562 เสริมสร้างหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียน: ทำไ...Policy Brief 5/2562 เสริมสร้างหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียน: ทำไ...
Policy Brief 5/2562 เสริมสร้างหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในอาเซียน: ทำไ...
 
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
Prawes wasi researchlocal
Prawes wasi researchlocalPrawes wasi researchlocal
Prawes wasi researchlocal
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 

Mehr von Klangpanya

การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

Mehr von Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 

World Think Tank Monitor มีนาคม 2561

  • 1. World Think Tank Monitor ปี ที่ 4 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ 2561 สหรัฐ—จีน แข่งขันและร่วมมือ อย่างไรให้เกิดสันติภาพ ข้อเสนอเพื่อ ยกระดับ ความสัมพันธ์ สหภาพยุโรป-จีน การวางตัว เป็ นกลางของ อินเดีย ต่อการรักษา ความสัมพันธ์ สหรัฐ-จีน
  • 2. 2 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 ที่ปรึกษา: ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: คุณยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: นายอุสมาน วาจิ นางสาวปลายฟ้า บุนนาค นายปาณัท ทองพ่วง ที่มาภาพปก: U.S. Embassy and Consulates in China website https://china.usembassy- china.org.cn/statement-death-human-rights-attorney-dr-li-baiguang/ เผยแพร่: กุมภาพันธ์ 2561 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนน ลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
  • 3. บทบรรณาธิการ สวัสดีค่ะท่านผู้อ่าน World Think Tank Monitor ฉบับนี้นาบทวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับมหาอานาจสาคัญๆ ของโลก โดย Think Tank ชั้นนาของโลก มานาเสนอ ไม่ว่าจะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับสหรัฐ กับสหภาพยุโรป และกับ อินเดีย เพราะปฏิเสธไม่ได้ว่าการเมืองโลกนั้นยังคงขับเคลื่อนจากบทบาทของมหาอานาจ อยู่เป็นหลัก เชิญติดตามค่ะ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 4. สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ BROOKINGS INSTITUTION มองความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน : แข่งขันและร่วมมืออย่างไรให้เกิดสันติภาพ 5 การวางตัวเป็นกลางของอินเดียต่อการรักษาความสัมพันธ์ที่มีต่อสหรัฐฯ และจีน 10 BRUEGEL ข้อเสนอเพื่อยกระดับความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปและจีน 18
  • 5. 5 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 มองความสัมพันธ์สหรัฐฯ และ จีน : แข่งขันและร่วมมือ ที่มาภาพ https://www.politico.com/story/2013/02/how-to-improve-us-china-relations-088040 Victory.jpg อุสมาน วาจิ หนึ่งในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ถูกจับตามองมากที่สุดคือความสัมพันธ์ ระหว่างสหรัฐฯ และจีน เพราะทุกวันนี้ แม้สหรัฐฯ จะเป็นประเทศที่มีอานาจทางเศรษฐกิจ มากที่สุด แต่จีนซึ่งยกระดับเศรษฐกิจของตนได้อย่างรวดเร็วก็ไล่ตามสหรัฐฯ อย่างต่อเนื่อง ยิ่งไปกว่านั้นหากพิจารณา G D P ด้วยอานาจซื้อที่เป็นจริง (P P P ) หรือการปรับให้ สอดคล้องกับค่าเงินและค่าครองชีพแล้ว เศรษฐกิจของจีนได้นาหน้าสหรัฐฯ ไปแล้ว หาก มองในประเด็นอื่นๆ แล้ว ในด้านการทหารนั้นนับวันจีนจะยิ่งขยายอิทธิพลออกมานอก พรมแดนของตนมากขึ้น ซึ่งเท่ากับการท้าทายสหรัฐฯ ที่มีกองเรือและฐานทัพของตน กระจายอยู่ในหลายประเทศ ในด้านการทูตนั้นจีนได้เปลี่ยนไปมาก จากอดีตที่เคยเป็น ประเทศปิดซึ่งไม่นิยมการสร้างสัมพันธ์กับต่างชาตินัก แต่ในปัจจุบันจีนเล็งเห็นแล้วว่าหาก ไร้ความสัมพันธ์ทางการทูตแล้วก็ยากที่จะรักษาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมิให้เสื่อม ถอยได้จึงได้ริเริ่มความสัมพันธ์และสร้างสถานทูตขึ้นในหลายประเทศเช่น ในประเทศกลุ่ม
  • 6. 6 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 แอฟริกาและอเมริกาใต้ ก้าวใหม่ๆ เหล่านี้ ของจีนคือสิ่งที่ยืนยันปาฐกถาเปิดประชุม สมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีนครั้งล่าสุด โดยประธานาธิบดีสีจิ้นผิง ที่กล่าวว่าจีนยุค ต่อไปนั้นจะเข้าหาโลกมากขึ้นอย่างแน่นอน ว่าเป็นเรื่องจริงอย่างไม่ต้องสงสัย เมื่อสหรัฐฯ ถูกท้าทายมากขึ้นเช่นนี้จะ ทาให้เกิดสงครามขึ้นจากความต้องการ รักษาการเป็นผู้นาโลกของสหรัฐฯ หรือไม่? หรือจะมีทางเลือกอื่นๆ ซึ่งรักษาสันติภาพ ข อ ง โ ล ก ไ ว้ ไ ด้ โ ด ย ไ ม่ ต้ อ ง ซ้า ร อ ย ประวัติศาสตร์ที่สงครามครั้งใหญ่มักเกิดจาก การแข่งขันกันของมหาอานาจ ทางสถาบัน Brooking จึงได้จัดเสวนาขึ้นเพื่อหาคาตอบ ในเรื่องนี้ ภายหลังการประกาศเปิดประเทศและ เปิดรับการลงทุนในยุคของเติ้ง เสี่ยว ผิง เศรษฐกิจของจีนก็เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วมา โดยตลอด โดยเฉพาะเมื่อรัฐบาลเน้นการวัด ความสาเร็จจากการเติบโตของ GDP เป็น หลัก แต่ในระยะยาวแล้วการเน้นแต่เพียง GDP อย่างเดียว แม้จะทาให้เศรษฐกิจ ยกระดับได้อย่างรวดเร็วก็จริงแต่ในทางหนึ่ง ก็เป็ นรูปแบบการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืนนัก เนื่องจากเกิดผลกระทบด้านสังคมและ สิ่งแวดล้อมตามมา แน่นอนว่าผู้กาหนด นโยบายของจีนนั้นย่อมตระหนักเรื่องนี้ดี กราฟแสดงงบประมาณด้านการการทหารของจีนที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี ที่มา Stockholm International Peace Research Institute
  • 7. 7 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 ในปาฐกถาล่าสุดในการประชุมพรรค คอมมิวนิสต์ประธานาธิบดีสีจิ้นผิง จึงได้ ประกาศว่าต่อไปนี้จีนจะเน้นการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาอย่าง สมดุลรอบด้าน ซึ่งเห็นได้ชัดเจนจากการ ลงทุนด้านพลังงานทดแทนที่เพิ่มขึ้นอย่าง มากในรอบหลายปีที่ผ่าน และยังมีแผนที่จะ พัฒนาและเพิ่มกาลังการผลิตจากแหล่ง พลังงานสะอาดเหล่านี้ในอนาคต ฉะนั้นแล้ว จึงคาดการณ์ได้ว่า ความสาเร็จของจีนที่ผ่านมานั้นจะไม่จบลง ในช่วงเวลานี้ หากจะยังคงพัฒนาต่อไปได้ อีกด้วยการคิดและวางแผนของจีนเองที่ ไม่ได้เดินตามแนวทางตะวันตก การที่จีนมี แนวทางที่เป็นเอกลักษณ์นั้นทาให้เกิดความ มั่นใจต่อจีนว่าสามารถเป็นแนวทางให้โลก นาไปเป็นแบบอย่างได้ ความมั่นใจนี้ไม่ เพียงเกิดขึ้นในด้านเศรษฐกิจ แต่ยังรวมไป ถึงด้านการเมืองทั้งในและระหว่างประเทศ อีกด้วย จึงเห็นได้ว่าจีนได้เข้าไปสานสัมพันธ์ ทางการทูตกับชาติต่างๆ โดยเฉพาะชาติใน เอเชียซึ่งเปรียบได้กับหลังบ้านของตน ซึ่งก็ ไม่ใช่เรื่องง่ายเพราะต้องรับมือกับความท้า ทายทั้งภายในและภายนอกประเทศ ความ ท้าทายจากภายในคือกระแสชาตินิยมในหมู่ ชาวจีนที่เพิ่มมากขึ้นตามความเจริญก้าวหน้า ของจีน จนบางครั้งสร้างกระแสกดดันให้ รัฐบาลต้องมีท่าทีที่แข็งกร้าวต่อความขัดแย้ง กับเพื่อนบ้านมากขึ้น ส่วนจากภายนอก ประเทศคือชาติในอาเซียนนั้นหลายชาติอยู่ ใต้อิทธิพลของสหรัฐฯ มีฐานทัพสหรัฐฯ ตั้งอยู่ หรือแม้ไม่ได้อยู่ใต้อิทธิพลสหรัฐฯ ก็ ไม่อยากที่จะอยู่ใต้อิทธิพลของจีนจนเกินไป ซึ่งสภาพเช่นนี้เป็นความเสี่ยงหากชาติใน เอเชียเกรงกลัวอิทธิพลของจีนกระทั่ง ร่วมมือกันเพื่อคัดค้านจีนในที่สุด แต่หากจีน เน้นความเป็นมิตรและความร่วมมือที่ให้ ประโยชน์ทั้งสองฝ่ายแล้วจีนก็จะมีพันธมิตร ใหม่ๆ เพิ่มขึ้นได้ไม่ยากนัก ก็นับว่าใน ปัจจุบันจีนสามารถสร้างความสมดุลระหว่าง การขยายอิทธิพลและการสร้างมิตรประเทศ ได้ดีพอสมควร แน่นอนว่าสหรัฐฯ ย่อมไม่ต้องการ ให้จีนขยายอิทธิพลทางทหารของตนไป มากกว่านี้อย่างแน่นอน โดยเฉพาะหากจีน หวังที่จะเป็นมหาอานาจทางทหารของเอเชีย ฉะนั้น อนาคตความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสอง ชาติจึงเป็ นที่ถกเกียงกันว่าควรจะเป็ น
  • 8. 8 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 อย่างไร โดยเห็นตรงกันว่าสงครามคือสิ่งที่ต้อง หลีกเลี่ยงมากที่สุด หากสหรัฐฯ จะรักษาอานาจ ในภูมิภาคเอเชียไว้ก็ต้องเลี่ยงการสู้รบ แต่การ มองว่าสหรัฐฯ และจีนต้องร่วมมือกันอย่างเดียว หรือเป็นคู่แข่งขันกันอย่างเดียวนั้นเป็นการมอง ที่หยาบเกินไป ในความเป็นจริงเป็นเรื่องปกติที่ จะมีทั้งการร่วมมือและการแข็งขันกัน ทั้งใน ด้านเศรษฐกิจ ความมั่นคง และการทูต ทุกวันนี้สหรัฐฯ และจีน มีผลประโยชน์ ทางการค้าระหว่างกันสูงมาก จีนเป็นคู่ค้าอันดับ หนึ่งของสหรัฐฯ และขณะเดียวกันสหรัฐฯ ก็ เป็นคู่ค้าอันดับหนึ่งของจีน นี่คือสิ่งที่เป็นหลัก ยึดให้ทั้งสองชาตินั้นพยายามรักษาสันติภาพ ระหว่างกัน แต่มีประเด็นที่มีความเปราะบางอยู่ สองประเด็นซึ่งทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันมิให้เป็น ตัวจุดชนวนความขัดแย้ง ประการแรกคือการที่ สหรัฐฯ ส่งกองเรือและฐานทัพออกไป ประจาการในเอเชีย ส่วนจีนนั้นต้องการสร้าง อิทธิพลเหนือทะเลจีนใต้และทะเลจีนตะวันออก ซึ่งหมายถึงการผลักดันมิให้กาลังทหารของ สหรัฐฯ เข้ามาในพื้นที่ อีกประการหนึ่งคือ วิกฤติการณ์เกาหลีเหนือที่สหรัฐฯ และจีนมี จุดยืนต่างกันและมีความเสี่ยงจากภัยนิวเคลียร์ ไม่เท่ากันด้วย ที่มา United States Census Bureau มูลค่าการนาเข้าสินค้าจากจีนมายังสหรัฐฯ มูลค่าการส่งออกสินค้าจากสหรัฐฯ มายังจีน
  • 9. 9 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 กล่าวโดยสรุปแล้ว หากสหรัฐฯ คิดว่า ตนเป็ นฝ่ ายตั้ งรับและต้ องการรักษา ผลประโยชน์ของตนในภูมิภาคเอเชียไว้ ใน ขณะเดียวกันก็ไม่ต้องการให้เกิดสงครามขึ้น ผู้ ที่เกี่ยวข้องกับการกาหนดนโยบายต่างประเทศ ของสหรัฐฯ ต้องเริ่มด้วยการวิเคราะห์ ผลประโยชน์ที่สหรัฐฯ ได้จากการมีสัมพันธภาพ กับจีน และผลเสียที่อาจเกิดขึ้นหากจีนขยาย อิทธิพลมายังภูมิภาคเอเชียอย่างต่อเนื่อง เพราะสหรัฐฯ นั้นขาดบรรยากาศของการถูกท้า ท้ายเช่นนี้มานานอาจทาให้การวิเคราะห์นั้นไม่ ตรงกับความเป็นจริง อย่างที่เห็นในความ ขัดแย้งทะเลจีนใต้ที่สหรัฐฯ มีบทบาทน้อย ซึ่ง เกิดจากการไม่สามารถนิยามผลประโยชน์ที่มีใน ภูมิภาคนี้ได้ชัดเจนเพียงพอ กระบวนการ ตอบสนองต่อจีนจึงเป็นไปอย่างล่าช้า ในขณะที่ จีนนั้นยังคงแข็งกร้าวในจุดยืนที่มี ฉะนั้น เพื่อ ไม่ให้การแข่งขันด้านการทหารของทั้งสองชาติ เกิดความตึงเครียดขึ้นนัก การมีสนธิสัญญา จากัดอาวุธที่ทั้งสองฝ่ายต้องลงนามร่วมกันจึง เป็นทางออกที่น่าสนใจ ในมุมของผู้เรียบเรียงมีความเห็น เพิ่มเติมว่าในปัจจุบันที่สหรัฐฯ เป็นผู้นาโลกนั้น ในหลายพื้นที่สหรัฐฯ มิได้มีผลประโยชน์ โดยตรงมากนักหรืออาจจะเคยมีผลประโยชน์ ในพื้นที่อยู่แต่ในปัจจุบันลดบทบาทลงแล้วตาม เศรษฐกิจที่ไม่ได้ยิ่งใหญ่เท่าอดีต ในทาง กลับกันจีนนั้นขยายเศรษฐกิจของตนไปยัง ประเทศต่างๆ ทั่วโลก หลายประเทศโดยเฉพาะ ในเอเชียต่างมีจีนเป็ นคู่ค้าอันดับแรก มี โครงสร้างพื้นฐานที่จีนเข้าไปก่อสร้างด้วย ยุทธศาสตร์ Belt & Road จึงต้องมีการขยาย อานาจทางทหารและการทูตเป็ นปกติ เช่นเดียวกับที่สหรัฐฯ เคยทามาแล้วในอดีต ด้วยการส่งกาลังทหารไปทั่วโลก ฉะนั้น ผู้เรียบ เรียงเห็นด้วยว่าทางออกที่น่าจะเป็นไปได้จริงจึง มิใช่การสกัดกั้นกาลังทหารของจีนอย่างสิ้นเชิง หากแต่การที่ทั้งสองฝ่ ายทาสัญญาร่วมกัน เพื่อให้เกิดความชัดเจนถึงการแผ่ขยายกาลัง ทหารของตนก็จะเป็นประโยชน์ต่อการร่วม เจรจาเพื่อหาทางออกต่อไป อ้างอิง David Dollar, et al. “Avoiding war: Containment, competition, and cooperation in U.S.-China relations”. ออนไลน์ https:// www.brookings.edu/research/avoiding-war -containment-competition-and-cooperation -in-u-s-china-relations/. พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2560
  • 10. 10 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 การวางตัวเป็ นกลางของอินเดีย ต่อการรักษาความสัมพันธ์ที่มีต่อสหรัฐฯ และจีน ที่มาภาพ http://www.scmp.com/comment/insight-opinion/article/1970372/one-eye-china-modis-india-strikes-firm- friendship-us-will-it อุสมาน วาจิ ในปัจจุบันที่โลกถูกนาโดยสหรัฐฯ และจีน อินเดียได้วางตาแหน่งของตนไม่ให้เอียงเข้า หาฝั่งใดฝั่งหนึ่งมากเกินไปจนทาให้อีกฝ่ายมองว่าตนเป็นศัตรู การพยายามวางตัวเป็นกลางนี้ คือสิ่งที่อินเดียทามาตลอด นับแต่ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี 1947 บทบาท ของอินเดียค่อยๆ ถูกยกระดับกลายเป็นตัวกลางระหว่างมหาอานาจของโลกเสมอมา นับแต่ ช่วงสงครามเย็นที่เป็นการขับเคี่ยวระหว่างฝ่ายโลกเสรี และคอมมิวนิสต์ อินเดียมีบทบาท สาคัญในการลดความร้อนแรงของสงครามเกาหลีด้วยการเป็นตัวกลางเจรจาระหว่างสหรัฐฯ และจีน รวมถึงความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฯ และสหภาพโซเวียตที่อินเดียเป็นตัวกลางเจรจา ในการแลกเปลี่ยนเชลยสงครามระหว่างกัน แต่ในภายหลังกลับเป็นอินเดียที่มีปัญหากับทั้ง บทบาทในการเป็ นตัวกลางของอินเดีย
  • 11. 11 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 สหรัฐฯ และจีน สหรัฐฯ นั้นมองว่าอินเดียอาจ ตกอยู่ใต้ อิทธิพลของจีนและแนวคิด คอมมิวนิสต์ อีกทั้งสหรัฐฯ ยังให้ความสาคัญ กับปากีสถานมากกว่า ส่วนกับจีนนั้นอินเดียมี ปัญหาเรื่องพรมแดนจนกระทั่งเกิดสงคราม ระหว่างกันในปี 1962 ซึ่งอินเดียเป็นฝ่ าย ปราชัย หลังสงครามเย็น: ก้าวสาคัญของอินเดีย เมื่อสงครามเย็นจบลงในปี 1991 ใน ห้วงเวลานี้เป็นช่วงสมัยที่สหรัฐฯ เป็นผู้นาโลก เพียงหนึ่งเดียวและจีนเริ่มยกระดับเศรษฐกิจ ของตนอย่างรวดเร็ว อินเดียสามารถที่จะสาน สัมพันธ์กับทั้งสหรัฐฯ และจีนได้สาเร็จอีกครั้ง สหรัฐฯ เริ่มกลับมาให้ความสาคัญกับอินเดีย เนื่องจากมองว่าอินเดียคือประเทศเอกราชที่ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย อีกทั้งเป็น ตลาดขนาดใหญ่สาหรับสหรัฐฯ ส่วนจีนนั้นก็ เริ่มการเจรจาเรื่องพรมแดนกับอินเดียเพื่อปู ทางไปสู่การสานสัมพันธ์ในด้ านอื่นๆ โดยเฉพาะเริ่มการค้าระหว่างกันอย่างเป็น ทางการ ความสาเร็จของอินเดียที่ได้สร้าง ความสัมพันธ์กับทั้งสองชาติเกิดจากความ พร้อมของอินเดียเองที่สามารถจัดการปัญหา เสถียรภาพทางการเมืองและปฏิรูปเศรษฐกิจ ให้มีความเสรีมากขึ้น เมื่อการเมืองและ เศรษฐกิจมีความชัดเจนจึงส่งผลให้การดาเนิน นโยบายต่างประเทศมีความต่อเนื่องชัดเจน มากขึ้นด้วย อินเดียในศตวรรษที่ 21: เมื่อจีนเป็ น มหาอานาจใหม่ ในช่วงต้นของศตวรรษที่ 21 เศรษฐกิจ ของจีนได้เติบโตถึงขีดสุด มูลค่าการค้าที่มีกับ อินเดียพุ่งสูงถึง 7.3 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐฯ ทั้งที่พึ่งเริ่มต้นไม่นาน เศรษฐกิจจีนยังมีความ ผูกโยงกับเศรษฐกิจของสหรัฐฯ มากขึ้นด้วยทา ให้ทั้งสองชาติต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง กันมากขึ้น ในอีกทางหนึ่งก็เริ่มเห็นได้ว่าจีนนั้น เริ่มท้าทายสหรัฐฯ จากอิทธิพลที่ตนมี แต่ อินเดียยังคงมองไปที่การไม่เลือกข้างฝ่ายหนึ่ง ฝ่ ายใดจนเกินไป และไม่ต้องการให้ทั้งสอง มหาอานาจเป็นศัตรูต่อกัน แต่การพยายามยืน อยู่ ระหว่ างกลางอินเดียก็ได้ รั บการ วิพากษ์วิจารณ์อยู่เช่นกันว่าทาให้เสียโอกาสที่ สาคัญไป เช่น ความสัมพันธ์ด้านการทหารและ ความมั่นคงที่มีกับสหรัฐฯ ซึ่งอินเดียถูกตาหนิ จากสหรัฐฯ ว่าไม่ดาเนินการพัฒนาตามที่ได้ให้ สัญญาไว้ ส่วนความสัมพันธ์ที่มีกับจีนแม้จะ รักษาไว้ได้แต่ก็ไม่สามารถยกระดับให้ก้าวหน้า ได้เช่นกัน
  • 12. 12 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 นเรณทรา โมดี เข้าพบประธานาธิบดี บารัค โอบามา ณ ทาเนียบขาว เมื่อปี 2014 ที่มาภาพ :https://c.tribune.com.pk/2014/10/769871-ModiObamaReuters-1412191661-110-640x480.jpg อินเดียภายใต้โมดี : เข้าหาสหรัฐฯ แต่ไม่ ห่างเหินจีน ภายหลังจาก นเรณทรา โมดี ได้รับ ตาแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งอินเดียในปี 2014 แล้ว ภารกิจในการสานสัมพันธ์กับทั้งสอง มหาอานาจยังคงมีอยู่เช่นเดิม โมดี ได้เดินทาง ไปยังทาเนียบขาวเพื่อพบกับประธานาธิบดี บารัค โอบามา หลังจากนั้นได้เดินทางไปยัง มหานครนิวยอร์คเพื่อพบปะกับชาวอินเดียที่ อาศัยอยู่ในสหรัฐฯ ต่อมาอินเดียได้เชิญ ประธานาธิบดีโอบามา เข้าร่วมเฉลิมฉลองวัน ชาติอินเดียด้วย ซึ่งไม่เคยมีประธานาธิบดี สหรัฐฯ คนใดได้ รับเกียรตินี้ มาก่อน นอกจากนั้นยังสานสัมพันธ์กับญี่ปุ่ นซึ่งเป็น พันธมิตรของสหรัฐฯ เพื่อสร้างเครือข่าย ยุทธศาสตร์ อินโด – แปซิฟิก อีกด้วย อย่างไร ก็ตาม ในอีกทาง หนึ่งอินเดียก็พยายามร่วมมือ กับจีนมากเช่นกันแม้จะไม่เท่าสหรัฐฯ ก็ตาม โดยเฉพาะในประเด็นที่สาคัญในระดับ นานาชาติ เช่น การแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน สถาบันการเงินระหว่างประเทศ แม้ทั้งสองจะมี ปัญหาเรื่องพรมแดนที่ขัดแย้งกันอย่างยาวนาน และอิทธิพลของจีนเริ่มมากขึ้นจนเข้าครอบงา ประเทศเพื่อนบ้านของอินเดียอย่างศรีลังกา เนปาล และมัลดีฟส์ แต่ทั้งสองฝ่ายก็พยายาม จัดการมิให้ความขัดแย้งนี้ส่งผลกระทบต่อ ความสัมพันธ์ในด้านอื่นๆ ที่มี การค้าระหว่าง ทั้งสองยังคงดาเนินต่อไปได้อย่างราบรื่น
  • 13. 13 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 อินเดียยังเป็นตลาดใหญ่สาหรับสินค้าจีน และ จีนก็เข้ามาลงทุนในอินเดียมากขึ้น อินเดียในยุคประธานาธิบดีทรัมป์ : รับมือ กับความไม่แน่นอน ในยุคของประธานาธิบดี โดนัล ทรัมป์ แม้จะมีความไม่มั่นใจและความสงสัยจากชาติ พันธมิตรว่าสหรัฐฯ จะยังให้ความสาคัญกับ พันธมิตรของตนเหมือนที่ผ่านมาหรือไม่ เพราะด้วยปัญหาเศรษฐกิจทาให้สหรัฐฯ เริ่ม ดาเนินนโยบายชาตินิยมแล้วลดความ ช่วยเหลือที่เคยมีต่อชาติต่างๆ อย่างไรก็ตาม สหรัฐฯ ก็ยังเป็นมหาอานาจโลกอยู่เช่นเดิม และอินเดียก็ยังต้องพัฒนาความสัมพันธ์ที่มี กับสหรัฐฯ ต่อไป รวมถึงการรักษา ความสัมพันธ์กับจีนในฐานะผู้นาการค้าเสรี โลกในปัจจุบันด้วยเช่นกัน แม้จีนกาลังทาให้ อินเดียรู้สึกถูกบีบคั้นจากการแผ่อิทธิพลเข้ามา ในภูมิภาคของตนและภูมิภาคอาเซียน แต่ หนทางที่ยังเป็นประโยชน์ที่สุดก็คือการไม่ตั้ง ตนเป็นศัตรูกับจีน เพราะการพึ่งพาระหว่าง กันในทางเศรษฐกิจยังมีอยู่มาก และใน อนาคตมีแนวโน้มว่าเศรษฐกิจภาคบริการใน จีนจะเติบโต ส่วนอุตสาหกรรมการผลิต บางส่วนจะย้ายออกจากจีน ซึ่งอินเดียก็มีความ พร้อมในการรับการลงทุนต่อได้ ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง เดินทางเยือนอินเดียอย่างเป็นทางการในปี 2014 ที่มาภาพ http://www.thehindubusinessline.com/multimedia/dynamic/02112/Modi_Xi_2112166g.jpg
  • 14. 14 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 อ้างอิง Dhruva Jaishankar, Uneasy triangle: In- dia’s evolving relations with the United States and China. อ อ น ไ ล น์ https:// www.brookings.edu/research/uneasy- triangle-indias-evolving-relations-with- the-united-states-and-china/
  • 15. 15 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 ตัวแทนจากสหภาพยุโรปและจีนประชุมร่วมกัน ณ มหาศาลาประชาคม กรุงปักกิ่ง เมื่อปี 2016 ที่ผ่านมา ที่มาภาพ https://www.chathamhouse.org/publication/eu-china-economic-relations-2025-building-common-future ข้อเสนอรูปธรรมต่อการยกระดับความสัมพันธ์ ระหว่างสหภาพยุโรปและจีน อุสมาน วาจิ นับแต่ปี 1975 ที่จีนและประชาคม เศรษฐกิจยุโรป (European Economic Com- munity: EEC) ได้ริเริ่มความสัมพันธ์ระหว่าง กันนั้น ทั้งสองฝ่ายต่างมีพัฒนาการที่รวดเร็ว อย่างยิ่ง จีนได้พลิกตัวเองจากประเทศยากจน กลายเป็นชาติที่มีขนาด GDP ใหญ่ที่สุดในโลก เมื่อเทียบกับอานาจซื้ อ ส่วนประชาคม เศรษฐกิจยุโรปก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพยุโรป (European Union: EU) และได้สร้างระบบ ตลาดเดียว (single market) ที่มีขนาดใหญ่ ที่สุดในโลก การค้าระหว่างทั้งสองก็เติบโตขึ้น มากจนสหภาพยุโรปกลายเป็นคู่ค้าอันดับหนึ่ง ของจีน และจีนเป็นตลาดส่งออกที่ใหญ่เป็น อันดับสองของสหภาพยุโรป ฉะนั้น จึงไม่ใช่ เรื่องแปลกหากทั้งสองจะมีความสัมพันธ์ ห ล า ก ห ล า ย ด้ า น ที่ แ น บ แ น่ น ขึ้ น ต า ม ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
  • 16. 16 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 สหภาพยุโรปและจีนนั้นมีทั้งโอกาสและความ ท้าทายร่วมกันในหลายประการ ไม่ว่าจะเป็น ด้านเศรษฐกิจ การรักษาสิ่งแวดล้อม ธรรมา ภิบาล รวมถึงด้านอื่นๆ ที่ล้วนเป็นปัญหาใน ระดับโลก ฉะนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ทั้งสองซึ่ง เป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจอันดับสองและ สามของโลกต้องร่วมมือกันเพื่อก้าวผ่านปัญหา ดังกล่าว โดยเฉพาะในปัจจุบันที่สหรัฐฯ ภายใต้ประธานาธิบดีทรัมป์ มีแนวโน้มที่จะ สนใจประเด็นระหว่างประเทศน้อยลงโดยมุ่ง แก้ปัญหาภายในประเทศมากขึ้น ยิ่งมีความ จาเป็นที่สหภาพยุโรปและจีนต้องเข้ามาแบก รับภาระนี้มากขึ้น การที่สหภาพยุโรปและจีนจะร่วมมือกัน อย่างเป็นรูปธรรมได้นั้น สามารถเสริมสร้างได้ ผ่านหลายแนวทางด้วยกัน แนวทางแรกคือ การส่งเสริมยุทธศาสตร์ความริเริ่ม Belt & Road ของจีนซึ่งเป็นโครงการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานขนาดใหญ่ที่เชื่อมโลกไว้ด้วยกัน สิ่งที่ จีนคาดหวังคือการที่นานาชาติจับมือกับจีนใน การพัฒนายุทธศาสตร์นี้เพื่อประโยชน์สูงสุด ของทุกชาติมิใช่เฉพาะจีน โดยสหภาพยุโรป นั้นมีบทบาทสาคัญเปรียบเสมือนสมอเรือของ โลกตะวันตกที่เข้าเชื่อมกับยุทธศาสตร์นี้ แม้ จีนจะเป็นผู้ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เองเป็ นหลัก แต่ในด้ านการเงินและ สิ่งแวดล้อมนั้นมีความยินดีที่จะเปิดโอกาสให้ ผู้เชี่ยวชาญจากสหภาพยุโรปที่มีประสบการณ์ มากกว่าได้ใช้องค์ความรู้ที่มีในการจัดการ โครงการขนาดใหญ่นี้เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ ยั่งยืนอันจะเป็นประโยชน์กับทั้งสหภาพยุโรป และจีน สิ่งที่ทั้งสองฝ่ายจะได้รับคือการค้าการ ลงทุนที่เพิ่มขึ้นอันเป็นผลจากโครงสร้าง พื้นฐานที่ดีขึ้น มีการคาดการณ์ว่าหาก Belt & Road สาเร็จด้วยดีแล้วจะกระตุ้นให้การค้า ระหว่างประเทศของสหภาพยุโรปเพิ่มขึ้นร้อย ละ 6 ทีเดียว แนวทางต่อมาคือการร่วมมือกันในความ มั่นคงด้านพลังงานและการรับมือกับภาวะโลก ร้อน ในเรื่องนี้ ทั้งสองฝ่ ายได้ลงนามใน สนธิสัญญาความร่วมมือเป็นที่เรียบร้อยในปี 2016 ที่ครอบคลุมทั้งด้านการวางนโยบาย และข้อมูลเชิงเทคนิค นอกจากนี้ภายหลังจาก ประธานาธิบดีทรัมป์ ประกาศว่าสหรัฐฯ ขอ ถอนตัวจากข้อตกลงปารีสในปีที่ผ่านมา ทั้ง สหภาพยุโรปและจีนได้ประกาศว่าจะปฏิบัติ ตามข้อตกลงปารีสต่อไป ย่อมหมายถึงการที่ ทั้งสองจะร่วมมือกันให้มากขึ้นเพื่อทดแทน บทบาทของสหรัฐฯ ที่ลดลง เช่น การลดการ ปล่อยมลพิษจากภายในชาติของตนตามที่ สัญญาไว้ การให้เงินทุนสนับสนุนแก่ชาติต่างๆ โดยเฉพาะชาติด้อยพัฒนาที่มีโครงการที่เป็น
  • 17. 17 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 มิตรกับสิ่งแวดล้อม การแลกเปลี่ยนข้อมูลและ ให้ความร่วมมือในเวทีระหว่างประเทศ ประการต่อมาคือการร่วมมือกันในการ พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ใหม่ที่มีผลต่อโลก ซึ่งสิ่งเหล่านี้ถือเป็นฐานราก สาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจในปัจจุบัน การที่ ทั้งสองฝ่ ายซึ่งเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจ อันดับสองและสามของโลกร่วมมือกันและลด กาแพงระหว่างกันนั้นจะเป็นผลดีอย่างมาก การ เปิดให้สินค้านวัตกรรมสามารถซื้อขายได้อย่าง เสรีระหว่างทั้งสองฝ่ายคือแรงจูงใจให้เกิดการ แข่งขันสร้างนวัตกรรมเพราะทั้งสองต่างเป็น ตลาดขนาดใหญ่ที่มีกาลังซื้อสูง และการร่วมมือ กันระหว่างหน่วยงานวิจัยทั้งภาครัฐและเอกชน ของทั้งสองฝ่ายที่ง่ายขึ้นจะนามาสู่โอกาสของการ สร้ างนวัตกรรมที่ดีขึ้ นด้ วย ในปัจจุบัน บริษัทเอกชนของสหภาพยุโรปได้กระจายงาน ส่วนของการค้นคว้าและพัฒนานวัตกรรมราว ครึ่งหนึ่งไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะ จีน ซึ่งถือเป็นการถ่ายทอดความรู้ไปยังนักวิจัย ชาวจีนโดยตรงด้วย จนทาให้บริษัทสัญชาติจีน บางบริษัทสามารถคิดค้นต่อยอดจนกลายเป็น ผู้นาในนวัตกรรมบางด้านไปแล้ว ในทางกลับกัน จีนเองต้องการเรียนรู้จากยุโรปมากขึ้นจึงเข้าไป ลงทุนสร้างฝ่ายวิจัยและพัฒนาในยุโรปเช่นกัน ประการสุดท้ายคือการเสริมสร้างธรรมาภิ บาลและการค้าเสรีในระดับโลก ปฏิเสธไม่ได้ว่า ในปัจจุบันทั้งสองมีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่มาก ฉะนั้นการที่ทั้งสองร่วมมือกันในเรื่องค้าเสรีและ ธรรมาภิบาลนั้นจะมีอิทธิพลต่อประเด็นดังกล่าว ในระดับโลกด้วย อย่างไรก็ตามต้องเฝ้าระวังมิให้ การร่วมมือนี้ถูกมองว่าเป็นผลเสียต่อสหรัฐฯ ซึ่ง อาจนามาสู่ความขัดแย้งใหม่ได้ จึงควรที่จะเชิญ ชวนสหรัฐฯ ให้เข้ามามีส่วนร่วมในความสัมพันธ์ ระหว่างสหภาพยุโรปและจีนด้วย นอกจากนี้ยัง ต้องอาศัยองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่ สหภาพยุโรปและจีนเป็ นสมาชิก เช่ น สหประชาชาติ G20 องค์การการค้าโลก ในการ ผลักดันประเด็นสาคัญหลายประเด็นที่เป็นเรื่อง ซึ่งประชาคมนานาชาติต้องร่วมมือกันแก้ไข กล่าวโดยสรุปแล้วด้วยการเติบโตทาง เศรษฐกิจของทั้งสหภาพยุโรปและจีนได้นาพาให้ ทั้งสองฝ่ายมีความสัมพันธ์ในหลากหลายด้านที่ มากกว่าด้านเศรษฐกิจ แต่การที่จะยกระดับให้ ความสัมพันธ์เหล่านี้แข็งแกร่งมากขึ้นจาต้องมี นโยบายและการดาเนินการที่เป็นรูปธรรมใน หลากหลายด้านเช่นกัน เพื่อแก้ปัญหาซึ่งเป็น วาระใหญ่ไม่เฉพาะต่อสหภาพยุโรปและจีน แต่ หากยังส่งผลถึงประชาคมโลกโดยรวมด้วย
  • 18. 18 | WORLD THINK TANK Monitor กุมภาพันธ์ 2561 อ้างอิง Alicia Garcí a-Herrero, K.C. Kwok, Liu Xiangdong, Tim Summers and Zhang Yans- heng, EU–China Economic Relations to 2025. ออนไลน์ http://bruegel.org/wp- c o n t e n t / u p l o a d s / 2 0 1 7 / 0 9 / CHHJ5627_China_EU_Report_170913_WE B.pdf