SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 7
Downloaden Sie, um offline zu lesen
UCLG กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ทู้ช่วยตักวิจัย
แทตงาตตโยถายสาดารฒะเพื่อการพัถตาอตาคตของเมือง
ศูตย์ศึกษามหาตครและเมือง วิณยาลัยรัฐกิจ มหาวิณยาลัยรังสิต
2
UCLG กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ผู้ช่วยนักวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตของเมือง
3
ผู้เรียบเรียง : นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์
บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ : นายฮาพีฟี สะมะแอ, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ : กันยายน พ.ศ. 2558
ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
4
UCLG กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
ในสภาวะปัจจุบันที่มีเทคโนโลยีเป็นแรงขับเคลื่อนให้สังคมมีความก้าวหน้าในทุกด้าน ผลที่ตามมา
ประการหนึ่งย่อมเป็นการขยายตัวของชุมชนและการพัฒนาท้องถิ่นสู่ความทันสมัย ซึ่งเป็นการปรับตัวที่
ประเทศต่างๆ ทั่วโลกต้องเผชิญอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมาประเด็นดังกล่าวได้
กลายเป็นวาระที่ประชาคมระหว่างประเทศให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก โดยได้มีการริเริ่มก่อตั้งองค์การ
United Cities and Local Government (UCLG) เพื่อสนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับมีศักยภาพในการจัดการ
ตนเอง นอกจากนี้ UCLG ยังเป็นเสมือนตัวกลางเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างผู้นาท้องถิ่นต่างๆ ทั่วโลกให้
เป็นประชาคมที่เข้มแข็ง ด้วยเหตุดังกล่าว จึงถือได้ว่า UCLG มีความน่าสนใจในฐานะที่เป็นองค์การระหว่าง
ประเทศระดับโลกแห่งแรกที่มีพันธกิจเพื่อสนับสนุนการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วโลกโดยตรง
และควรแก่การที่ประเทศไทยจะสร้างความร่วมมือเพื่อยกระดับให้ท้องถิ่นไทยมีความก้าวหน้าและเข้มแข็ง
รู้จัก UCLG
United Cities and Local Government หรือ UCLG เป็นองค์การระหว่างประเทศระดับโลกที่ก่อตั้ง
ขึ้นในปีค.ศ. 2004 มีสานักงานใหญ่อยู่ ณ เมืองบาร์เซโลนา ประเทศสเปน โดย UCLG มีเป้าหมายหลักใน 3
ด้าน ได้แก่
1. ส่งเสริมให้รัฐบาลส่วนท้องถิ่นตลอดจนตัวแทนท้องถิ่นมีบทบาทและอานาจมากขึ้นในระดับระหว่าง
ประเทศ
2. เป็นแหล่งข้อมูลหลักเพื่อผลักดันให้เกิดประชาธิปไตย ประสิทธิภาพและนวัตกรรมที่ริเริ่มโดยท้องถิ่น
รวมทั้งสนับสนุนให้ประชาชนมีความใกล้ชิดกับการบริหารส่วนท้องถิ่นมากขึ้น
3. เสริมสร้างให้เกิดความเชื่อมั่นในมาตรฐานของท้องถิ่นในระดับสากล
คณะทางานของ UCLG ซึ่งมีหน้าที่ผลักดันให้ภารกิจต่างๆ ขององค์การให้บรรลุเป้าหมาย ประกอบ
ไปด้วย สานักงานฝ่ายบริหาร มีบทบาทหลักในการดูแลภารกิจทั่วไปและแต่งตั้งคณะกรรมาธิการด้านต่างๆ
ซึ่งคณะกรรมาธิการดังกล่าวจะมีบทบาทกาหนดและนานโยบายของ UCLG ไปสู่การปฏิบัติต่อไป ทั้งนี้
คณะกรรมาธิการแต่ละชุดยังมีอานาจแต่งตั้งคณะทางาน(Working Groups) ขึ้นเป็นการเฉพาะ เพื่อทาหน้าที่
สร้างความร่วมมือระหว่าง UCLG กับรัฐบาลท้องถิ่นในพื้นที่ต่างๆ ให้แน่นแฟ้นผ่านการจัดกิจกรรมที่
หลากหลาย
ทั้งนี้ภารกิจของ UCLG ที่ดาเนินการมาต่อเนื่องตั้งแต่ปีค.ศ. 2004 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ให้แก่ท้องถิ่นทั่วโลกจะครอบคลุมใน 4 มิติ ได้แก่
5
1. International Agenda : เน้นการให้ความช่วยเหลือและสร้างความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาที่ท้องถิ่น
ทั่วโลกเผชิญร่วมกัน เช่น ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหาด้านที่อยู่อาศัย เป็นต้น
2. Local Governance : เสริมสร้างการบริหารจัดการท้องถิ่นที่ดีโดยเน้นให้ประชาชนเข้าถึงบริการขั้น
พื้นฐานอย่างทั่วถึง จัดตั้งกองทุนท้องถิ่น ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดการกระจายอานาจและความเท่า
เทียมทางเพศระหว่างประชาชน
3. Cooperation : ประสานความร่วมมือทั้งในด้านการเรียนรู้และการพัฒนาร่วมกัน
4. Sustainable Urban Development : ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืนผ่านการวางแผนเชิงกล
ยุทธ์ล่วงหน้าเพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดภัยพิบัติต่างๆ ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดการรวมตัวทาง
สังคมและวัฒนธรรม
ความก้าวหน้าในการสร้างความร่วมมือที่ผ่านมาของ UCLG
หน้าที่สาคัญที่สุดประการหนึ่งที่ UCLG ต้องดาเนินการเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายในการพัฒนา
ท้องถิ่นของประเทศต่างๆ คือการจัดประชุมประจาปีอย่างต่อเนื่อง โดยการประชุมจะแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่
Executive Bureau เป็นการประชุมระดับฝ่ายบริหารองค์การเพื่อริเริ่มและเตรียมการสาหรับการจัดประชุม
World Council ประจาปี ซึ่งการประชุมอีกระดับที่ว่าก็คือ World Council ถือเป็นการหารือที่สาคัญที่สุด
เพราะนอกจากจะมีการประมวลข้อมูลข่าวสารด้านการพัฒนาท้องถิ่นให้สมาชิกได้ทราบแล้ว ยังเป็นโอกาสที่
ทาให้สมาชิกของ UCLG ได้มาพบปะและประสานความร่วมมือผ่านกิจกรรมต่างๆ ตามจุดเน้นในการประชุม
แต่ละครั้ง นอกจากนี้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในที่ประชุมยังก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายและความเป็นหุ้นส่วน
ระหว่างผู้แทนและรัฐบาลท้องถิ่นจากประเทศทั่วโลกอีกด้วย โดยการประชุม World Council แต่ละครั้งที่ผ่าน
มามีรายละเอียดดังนี้
 Dakar 2012 - World Council
การประชุมระดับโลกประจาปี ค.ศ.2012 ของ UCLG จัดขึ้นในวันที่ 4 – 6 ธันวาคม ณ กรุงดาการ์
เมืองหลวงของประเทศเซเนกัลซึ่งอยู่ในทวีปแอฟริกา โดยมีรัฐบาลและผู้แทนจากท้องถิ่นต่างๆ เข้าร่วม
มากถึง 500 แห่ง วัตถุประสงค์หลักที่ UCLG จัดให้มีการประชุมประจาปีอย่างต่อเนื่องก็เพื่อเปิดโอกาสให้
สมาชิกได้มาพบปะและสร้างความร่วมมือเป็นประชาคมระหว่างประเทศที่มีความเข้มแข็งและพร้อมต่อ
การพัฒนา
วาระสาคัญสาหรับการประชุมในปี ค.ศ.2012 คือ 6th Africities Summit ว่าด้วยการรวมตัวที่เป็น
เอกภาพของรัฐบาลท้องถิ่นในภูมิภาคแอฟริกา โดยข้อสรุปหลักที่ได้จากการประชุมคือ “Building Africa
starting from its territories” หรือการสร้างแอฟริกาโดยเริ่มต้นจากดินแดนของแอฟริกาเอง ซึ่งการจัด
ประชุมของ UCLG เป็นเสมือนช่องทางที่ช่วยเชื่อมโยงให้เกิดความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระหว่างผู้ที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาดังกล่าว
6
 Rabat 2013 – World Council
การประชุมระดับโลกประจาปี ค.ศ.2013 ของ UCLG จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 – 4 ตุลาคม ณ กรุง
ราบัต เมืองหลวงของประเทศโมร็อกโก โดย 2 ปีที่ผ่านมาประเทศในทวีบแอฟริกายังได้รับมอบหมายให้
เป็นประเทศเจ้าภาพจัดการประชุมอย่างต่อเนื่อง ในปีนี้มีผู้เข้าร่วมประชุมมากกว่า 3,000 คนจากกว่า
100 ประเทศทั่วโลก ทั้งนี้ วาระสาคัญที่ถูกหยิบยกมาหารือในการประชุมดังกล่าวได้แก่เรื่อง “Imagine
Society, Build Democracy” หรือการสร้างสังคมในอุดมคติและการสร้างประชาธิปไตยผ่านการเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งในด้านต่างๆ เช่น การเสริมสร้างความกินดีอยู่ดี การจัดการความแตกต่างหลากหลาย การ
สร้างธรรมาภิบาลใหม่ เป็นต้น ในขณะเดียวกัน นอกจาก UCLG แล้ว ประชาคมระหว่างประเทศอื่นๆ
รวมทั้งสหประชาชาติ (United Nations) ต่างก็ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาสู่เป้าหมายของการเป็นสังคม
แห่งประชาธิปไตยที่ดีเช่นเดียวกัน โดยได้กาหนด Agenda for the 21st Century เพื่อตั้งเป้าให้ส่วน
ท้องถิ่นทั่วทุกภูมิภาคทั่วโลกมีบทบาทจัดการตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งแผนปฏิบัติการสาหรับ
ศตวรรษที่ 21 นี้ก็มีความสอดคล้องกับหลักการ “Imagine Society, Build Democracy” ด้วยเช่นกัน
แนวทางสาหรับการพัฒนาที่ได้จากการประชุมครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเด็น ได้แก่
1. กระตุ้นให้ผู้นาหรือผู้มีอานาจในท้องถิ่นสร้างผลงานที่พัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีตลอดจนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมหลังปีค.ศ.2015
2. เข้าใจถึงความท้าทายใหม่ๆ และแสวงหาวิธีการรับมือกับการเพิ่มจานวนของประชากรในเขตเมืองที่มา
พร้อมกับปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
 Haikou 2014 - World Council
การประชุมระดับโลกประจาปี ค.ศ.2014 ของ UCLG จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23 – 26 พฤศจิกายน
ณ เมืองไหโขว่ ของประเทศจีน ปีนี้ยังถือเป็นโอกาสสาคัญที่ UCLG ก่อตั้งครบรอบ 10 ปีอีกด้วย โดย
หัวข้อสาคัญสาหรับการประชุมคือการสร้างความมั่นใจในการเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐาน ซึ่งหุ้นส่วนและ
สมาชิกของ UCLG ต้องร่วมกันแสวงหาแนวทางที่ชัดเจนเพื่อให้พลเมืองในทุกพื้นที่มีส่วนร่วมในการ
จัดหาและการใช้บริการพื้นฐานอย่างทั่วถึง รวมทั้งลดความเหลื่อมล้าไม่ว่าจะเป็นในประเด็นเรื่องเพศและ
โอกาสทางสังคมเพื่อนาไปสู่การพัฒนาท้องถิ่นอย่างมั่นคงและยั่งยืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักที่สมาชิก
UCLG ต่างก็ยึดถือร่วมกัน ตลอดการประชุมทั้ง 4 วันได้มีการหารือถึงรายละเอียดที่ต่อเนื่องกันใน 3
ประเด็น คือ การจัดบริการสาธารณะให้แก่เมืองอย่างทั่วถึง การเข้าถึงน้าเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน และประเด็น
สุดท้ายคือนวัตกรรมการบริหารจัดการที่ดีเพื่อลดความไม่เท่าเทียม ผลการประชุมก่อให้เกิดวิสัยทัศน์
ใหม่ๆ ที่ช่วยกระตุ้นส่งเสริมให้รัฐบาลท้องถิ่นมีบทบาทเพิ่มขึ้นทั้งด้านการสร้างสรรค์และพัฒนา
นอกจากการประชุมประจาปีแล้ว ในปีค.ศ.2014 ยังมีการจัดพิธีมอบรางวัล 2014 International
Award for Urban Innovation ระหว่างวันที่ 27 – 29 พฤศจิกายน ณ เมืองกว่างโจว ซึ่งมีทั้งการมอบ
รางวัลและการประชุมหารือในประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับนวัตกรรมของเมืองอีกด้วย
7
ความสาเร็จของ UCLG และโอกาสสาหรับประเทศไทย
ในปัจจุบันอาจกล่าวได้ว่า UCLG เป็นองค์การที่มีสมาชิกที่เป็นรัฐบาลท้องถิ่นจากประเทศต่างๆ ซึ่ง
ใหญ่ที่สุดในโลก และยังเดินหน้าประสานความร่วมมือของสมาชิกผ่านการจัดประชุมในระดับต่างๆ อย่าง
ต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมสานักงานฝ่ายบริหาร การประชุมนายกเทศมนตรีจากองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นที่เป็นสมาชิก ตลอดจนการประชุมเพื่อหารือในประเด็นต่างๆ ที่กาลังได้รับความสนใจอยู่ในปัจจุบัน
โดยล่าสุดในเดือนเมษายนปีค.ศ.2015 ได้มีการจัดประชุม World Water Forum ครั้งที่ 7 ซึ่งเป็นการหารือ
ปัญหาเรื่องน้าสาหรับการอุปโภคบริโภคในระดับโลก จึงนับได้ว่าการดาเนินงานของ UCLG ที่ผ่านมา
ค่อนข้างประสบความสาเร็จ เนื่องจากได้รับการตอบรับอย่างดีจากประชาคมท้องถิ่นทั่วโลกและมีจานวน
สมาชิกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสมาชิกที่ UCLG เปิดรับมิได้มีเพียงแต่ส่วนท้องถิ่นเท่านั้น แต่ยังรวมถึง
หน่วยงานและปัจเจกบุคคลจากทุกภาคส่วนที่สนใจด้วย ทั้งนี้ องค์ความรู้ ตลอดจนข้อสรุปอันเป็นผลมาจาก
การประชุมและความร่วมมือระหว่าง UCLG กับสมาชิกได้กลายเป็นเครื่องมือสาคัญที่ก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงและพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่ต่างๆ สู่ความทันสมัย และในขณะเดียวก็ยังส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีความ
เข้มแข็งมากขึ้นด้วย
ปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสาคัญกับการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นและส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีศักยภาพใน
การจัดการตนเองโดยผ่านการให้ความรู้และการประสานความร่วมมือจากหน่วยงานที่เชี่ยวชาญ อาทิ UCLG
รวมทั้งยังส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของท้องถิ่นที่หลากหลาย สาหรับประเทศไทยเอง
กระแสเรื่องการพัฒนาเมืองและท้องถิ่นก็เป็นเรื่องที่มีความสาคัญและส่งผลกระทบต่อความก้าวหน้าของ
ประเทศมากเช่นกัน แต่ที่ผ่านมาการดาเนินนโยบายเรื่องดังกล่าวก็ยังไม่เห็นผลเป็นรูปธรรมชัดเจนเท่าใดนัก
เมื่อมีการก่อตั้ง UCLG ขึ้น จึงถือเป็นโอกาสสาคัญที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยจะเข้าร่วมเป็น
สมาชิกเพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับท้องถิ่นในภาคส่วนอื่นๆ จากทั่วโลก ตลอดจนนาองค์ความรู้ที่
ได้มาพัฒนาให้ท้องถิ่นไทยก้าวหน้าสู่ความเข้มแข็ง ทันสมัย และมีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน
เอกสารอ้างอิง
ข้อมูลจาก United Cities and Local Government (UCLG) http://www.uclg.org

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองหนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 
Urbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีUrbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีFURD_RSU
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2FURD_RSU
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาFURD_RSU
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนFURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลFURD_RSU
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...FURD_RSU
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมFURD_RSU
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...FURD_RSU
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์yahapop
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีFURD_RSU
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ FURD_RSU
 
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60yahapop
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนFURD_RSU
 

Was ist angesagt? (20)

หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองหนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
Urbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีUrbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรี
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลาทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมืองยะลา
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
 
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
 
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอนชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
ชมรมบ้านเก่าเมืองแม่ฮ่องสอน
 

Ähnlich wie Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล

โครงการคนรังสิตรักกัน
โครงการคนรังสิตรักกันโครงการคนรังสิตรักกัน
โครงการคนรังสิตรักกันgel2onimal
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
Policy Brief 4/2562 ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และข้อเสนอแนะสำหรับประ...
Policy Brief 4/2562 ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และข้อเสนอแนะสำหรับประ...Policy Brief 4/2562 ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และข้อเสนอแนะสำหรับประ...
Policy Brief 4/2562 ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และข้อเสนอแนะสำหรับประ...Klangpanya
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนMaykin Likitboonyalit
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 

Ähnlich wie Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล (8)

โครงการคนรังสิตรักกัน
โครงการคนรังสิตรักกันโครงการคนรังสิตรักกัน
โครงการคนรังสิตรักกัน
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
Afeafe
AfeafeAfeafe
Afeafe
 
Policy Brief 4/2562 ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และข้อเสนอแนะสำหรับประ...
Policy Brief 4/2562 ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และข้อเสนอแนะสำหรับประ...Policy Brief 4/2562 ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และข้อเสนอแนะสำหรับประ...
Policy Brief 4/2562 ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และข้อเสนอแนะสำหรับประ...
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยว
 

Mehr von FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

Mehr von FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล

  • 2. 2 UCLG กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตของเมือง
  • 3. 3 ผู้เรียบเรียง : นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์ บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ : นายฮาพีฟี สะมะแอ, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปก : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ : กันยายน พ.ศ. 2558 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 4. 4 UCLG กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล ในสภาวะปัจจุบันที่มีเทคโนโลยีเป็นแรงขับเคลื่อนให้สังคมมีความก้าวหน้าในทุกด้าน ผลที่ตามมา ประการหนึ่งย่อมเป็นการขยายตัวของชุมชนและการพัฒนาท้องถิ่นสู่ความทันสมัย ซึ่งเป็นการปรับตัวที่ ประเทศต่างๆ ทั่วโลกต้องเผชิญอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมาประเด็นดังกล่าวได้ กลายเป็นวาระที่ประชาคมระหว่างประเทศให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก โดยได้มีการริเริ่มก่อตั้งองค์การ United Cities and Local Government (UCLG) เพื่อสนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับมีศักยภาพในการจัดการ ตนเอง นอกจากนี้ UCLG ยังเป็นเสมือนตัวกลางเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างผู้นาท้องถิ่นต่างๆ ทั่วโลกให้ เป็นประชาคมที่เข้มแข็ง ด้วยเหตุดังกล่าว จึงถือได้ว่า UCLG มีความน่าสนใจในฐานะที่เป็นองค์การระหว่าง ประเทศระดับโลกแห่งแรกที่มีพันธกิจเพื่อสนับสนุนการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วโลกโดยตรง และควรแก่การที่ประเทศไทยจะสร้างความร่วมมือเพื่อยกระดับให้ท้องถิ่นไทยมีความก้าวหน้าและเข้มแข็ง รู้จัก UCLG United Cities and Local Government หรือ UCLG เป็นองค์การระหว่างประเทศระดับโลกที่ก่อตั้ง ขึ้นในปีค.ศ. 2004 มีสานักงานใหญ่อยู่ ณ เมืองบาร์เซโลนา ประเทศสเปน โดย UCLG มีเป้าหมายหลักใน 3 ด้าน ได้แก่ 1. ส่งเสริมให้รัฐบาลส่วนท้องถิ่นตลอดจนตัวแทนท้องถิ่นมีบทบาทและอานาจมากขึ้นในระดับระหว่าง ประเทศ 2. เป็นแหล่งข้อมูลหลักเพื่อผลักดันให้เกิดประชาธิปไตย ประสิทธิภาพและนวัตกรรมที่ริเริ่มโดยท้องถิ่น รวมทั้งสนับสนุนให้ประชาชนมีความใกล้ชิดกับการบริหารส่วนท้องถิ่นมากขึ้น 3. เสริมสร้างให้เกิดความเชื่อมั่นในมาตรฐานของท้องถิ่นในระดับสากล คณะทางานของ UCLG ซึ่งมีหน้าที่ผลักดันให้ภารกิจต่างๆ ขององค์การให้บรรลุเป้าหมาย ประกอบ ไปด้วย สานักงานฝ่ายบริหาร มีบทบาทหลักในการดูแลภารกิจทั่วไปและแต่งตั้งคณะกรรมาธิการด้านต่างๆ ซึ่งคณะกรรมาธิการดังกล่าวจะมีบทบาทกาหนดและนานโยบายของ UCLG ไปสู่การปฏิบัติต่อไป ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการแต่ละชุดยังมีอานาจแต่งตั้งคณะทางาน(Working Groups) ขึ้นเป็นการเฉพาะ เพื่อทาหน้าที่ สร้างความร่วมมือระหว่าง UCLG กับรัฐบาลท้องถิ่นในพื้นที่ต่างๆ ให้แน่นแฟ้นผ่านการจัดกิจกรรมที่ หลากหลาย ทั้งนี้ภารกิจของ UCLG ที่ดาเนินการมาต่อเนื่องตั้งแต่ปีค.ศ. 2004 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ท้องถิ่นทั่วโลกจะครอบคลุมใน 4 มิติ ได้แก่
  • 5. 5 1. International Agenda : เน้นการให้ความช่วยเหลือและสร้างความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาที่ท้องถิ่น ทั่วโลกเผชิญร่วมกัน เช่น ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหาด้านที่อยู่อาศัย เป็นต้น 2. Local Governance : เสริมสร้างการบริหารจัดการท้องถิ่นที่ดีโดยเน้นให้ประชาชนเข้าถึงบริการขั้น พื้นฐานอย่างทั่วถึง จัดตั้งกองทุนท้องถิ่น ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดการกระจายอานาจและความเท่า เทียมทางเพศระหว่างประชาชน 3. Cooperation : ประสานความร่วมมือทั้งในด้านการเรียนรู้และการพัฒนาร่วมกัน 4. Sustainable Urban Development : ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืนผ่านการวางแผนเชิงกล ยุทธ์ล่วงหน้าเพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดภัยพิบัติต่างๆ ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดการรวมตัวทาง สังคมและวัฒนธรรม ความก้าวหน้าในการสร้างความร่วมมือที่ผ่านมาของ UCLG หน้าที่สาคัญที่สุดประการหนึ่งที่ UCLG ต้องดาเนินการเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายในการพัฒนา ท้องถิ่นของประเทศต่างๆ คือการจัดประชุมประจาปีอย่างต่อเนื่อง โดยการประชุมจะแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ Executive Bureau เป็นการประชุมระดับฝ่ายบริหารองค์การเพื่อริเริ่มและเตรียมการสาหรับการจัดประชุม World Council ประจาปี ซึ่งการประชุมอีกระดับที่ว่าก็คือ World Council ถือเป็นการหารือที่สาคัญที่สุด เพราะนอกจากจะมีการประมวลข้อมูลข่าวสารด้านการพัฒนาท้องถิ่นให้สมาชิกได้ทราบแล้ว ยังเป็นโอกาสที่ ทาให้สมาชิกของ UCLG ได้มาพบปะและประสานความร่วมมือผ่านกิจกรรมต่างๆ ตามจุดเน้นในการประชุม แต่ละครั้ง นอกจากนี้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในที่ประชุมยังก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายและความเป็นหุ้นส่วน ระหว่างผู้แทนและรัฐบาลท้องถิ่นจากประเทศทั่วโลกอีกด้วย โดยการประชุม World Council แต่ละครั้งที่ผ่าน มามีรายละเอียดดังนี้  Dakar 2012 - World Council การประชุมระดับโลกประจาปี ค.ศ.2012 ของ UCLG จัดขึ้นในวันที่ 4 – 6 ธันวาคม ณ กรุงดาการ์ เมืองหลวงของประเทศเซเนกัลซึ่งอยู่ในทวีปแอฟริกา โดยมีรัฐบาลและผู้แทนจากท้องถิ่นต่างๆ เข้าร่วม มากถึง 500 แห่ง วัตถุประสงค์หลักที่ UCLG จัดให้มีการประชุมประจาปีอย่างต่อเนื่องก็เพื่อเปิดโอกาสให้ สมาชิกได้มาพบปะและสร้างความร่วมมือเป็นประชาคมระหว่างประเทศที่มีความเข้มแข็งและพร้อมต่อ การพัฒนา วาระสาคัญสาหรับการประชุมในปี ค.ศ.2012 คือ 6th Africities Summit ว่าด้วยการรวมตัวที่เป็น เอกภาพของรัฐบาลท้องถิ่นในภูมิภาคแอฟริกา โดยข้อสรุปหลักที่ได้จากการประชุมคือ “Building Africa starting from its territories” หรือการสร้างแอฟริกาโดยเริ่มต้นจากดินแดนของแอฟริกาเอง ซึ่งการจัด ประชุมของ UCLG เป็นเสมือนช่องทางที่ช่วยเชื่อมโยงให้เกิดความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างผู้ที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาดังกล่าว
  • 6. 6  Rabat 2013 – World Council การประชุมระดับโลกประจาปี ค.ศ.2013 ของ UCLG จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 – 4 ตุลาคม ณ กรุง ราบัต เมืองหลวงของประเทศโมร็อกโก โดย 2 ปีที่ผ่านมาประเทศในทวีบแอฟริกายังได้รับมอบหมายให้ เป็นประเทศเจ้าภาพจัดการประชุมอย่างต่อเนื่อง ในปีนี้มีผู้เข้าร่วมประชุมมากกว่า 3,000 คนจากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก ทั้งนี้ วาระสาคัญที่ถูกหยิบยกมาหารือในการประชุมดังกล่าวได้แก่เรื่อง “Imagine Society, Build Democracy” หรือการสร้างสังคมในอุดมคติและการสร้างประชาธิปไตยผ่านการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งในด้านต่างๆ เช่น การเสริมสร้างความกินดีอยู่ดี การจัดการความแตกต่างหลากหลาย การ สร้างธรรมาภิบาลใหม่ เป็นต้น ในขณะเดียวกัน นอกจาก UCLG แล้ว ประชาคมระหว่างประเทศอื่นๆ รวมทั้งสหประชาชาติ (United Nations) ต่างก็ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาสู่เป้าหมายของการเป็นสังคม แห่งประชาธิปไตยที่ดีเช่นเดียวกัน โดยได้กาหนด Agenda for the 21st Century เพื่อตั้งเป้าให้ส่วน ท้องถิ่นทั่วทุกภูมิภาคทั่วโลกมีบทบาทจัดการตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งแผนปฏิบัติการสาหรับ ศตวรรษที่ 21 นี้ก็มีความสอดคล้องกับหลักการ “Imagine Society, Build Democracy” ด้วยเช่นกัน แนวทางสาหรับการพัฒนาที่ได้จากการประชุมครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเด็น ได้แก่ 1. กระตุ้นให้ผู้นาหรือผู้มีอานาจในท้องถิ่นสร้างผลงานที่พัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีตลอดจนการมีส่วนร่วมของ ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมหลังปีค.ศ.2015 2. เข้าใจถึงความท้าทายใหม่ๆ และแสวงหาวิธีการรับมือกับการเพิ่มจานวนของประชากรในเขตเมืองที่มา พร้อมกับปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย  Haikou 2014 - World Council การประชุมระดับโลกประจาปี ค.ศ.2014 ของ UCLG จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23 – 26 พฤศจิกายน ณ เมืองไหโขว่ ของประเทศจีน ปีนี้ยังถือเป็นโอกาสสาคัญที่ UCLG ก่อตั้งครบรอบ 10 ปีอีกด้วย โดย หัวข้อสาคัญสาหรับการประชุมคือการสร้างความมั่นใจในการเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐาน ซึ่งหุ้นส่วนและ สมาชิกของ UCLG ต้องร่วมกันแสวงหาแนวทางที่ชัดเจนเพื่อให้พลเมืองในทุกพื้นที่มีส่วนร่วมในการ จัดหาและการใช้บริการพื้นฐานอย่างทั่วถึง รวมทั้งลดความเหลื่อมล้าไม่ว่าจะเป็นในประเด็นเรื่องเพศและ โอกาสทางสังคมเพื่อนาไปสู่การพัฒนาท้องถิ่นอย่างมั่นคงและยั่งยืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักที่สมาชิก UCLG ต่างก็ยึดถือร่วมกัน ตลอดการประชุมทั้ง 4 วันได้มีการหารือถึงรายละเอียดที่ต่อเนื่องกันใน 3 ประเด็น คือ การจัดบริการสาธารณะให้แก่เมืองอย่างทั่วถึง การเข้าถึงน้าเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน และประเด็น สุดท้ายคือนวัตกรรมการบริหารจัดการที่ดีเพื่อลดความไม่เท่าเทียม ผลการประชุมก่อให้เกิดวิสัยทัศน์ ใหม่ๆ ที่ช่วยกระตุ้นส่งเสริมให้รัฐบาลท้องถิ่นมีบทบาทเพิ่มขึ้นทั้งด้านการสร้างสรรค์และพัฒนา นอกจากการประชุมประจาปีแล้ว ในปีค.ศ.2014 ยังมีการจัดพิธีมอบรางวัล 2014 International Award for Urban Innovation ระหว่างวันที่ 27 – 29 พฤศจิกายน ณ เมืองกว่างโจว ซึ่งมีทั้งการมอบ รางวัลและการประชุมหารือในประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับนวัตกรรมของเมืองอีกด้วย
  • 7. 7 ความสาเร็จของ UCLG และโอกาสสาหรับประเทศไทย ในปัจจุบันอาจกล่าวได้ว่า UCLG เป็นองค์การที่มีสมาชิกที่เป็นรัฐบาลท้องถิ่นจากประเทศต่างๆ ซึ่ง ใหญ่ที่สุดในโลก และยังเดินหน้าประสานความร่วมมือของสมาชิกผ่านการจัดประชุมในระดับต่างๆ อย่าง ต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมสานักงานฝ่ายบริหาร การประชุมนายกเทศมนตรีจากองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่เป็นสมาชิก ตลอดจนการประชุมเพื่อหารือในประเด็นต่างๆ ที่กาลังได้รับความสนใจอยู่ในปัจจุบัน โดยล่าสุดในเดือนเมษายนปีค.ศ.2015 ได้มีการจัดประชุม World Water Forum ครั้งที่ 7 ซึ่งเป็นการหารือ ปัญหาเรื่องน้าสาหรับการอุปโภคบริโภคในระดับโลก จึงนับได้ว่าการดาเนินงานของ UCLG ที่ผ่านมา ค่อนข้างประสบความสาเร็จ เนื่องจากได้รับการตอบรับอย่างดีจากประชาคมท้องถิ่นทั่วโลกและมีจานวน สมาชิกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสมาชิกที่ UCLG เปิดรับมิได้มีเพียงแต่ส่วนท้องถิ่นเท่านั้น แต่ยังรวมถึง หน่วยงานและปัจเจกบุคคลจากทุกภาคส่วนที่สนใจด้วย ทั้งนี้ องค์ความรู้ ตลอดจนข้อสรุปอันเป็นผลมาจาก การประชุมและความร่วมมือระหว่าง UCLG กับสมาชิกได้กลายเป็นเครื่องมือสาคัญที่ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่ต่างๆ สู่ความทันสมัย และในขณะเดียวก็ยังส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีความ เข้มแข็งมากขึ้นด้วย ปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสาคัญกับการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นและส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีศักยภาพใน การจัดการตนเองโดยผ่านการให้ความรู้และการประสานความร่วมมือจากหน่วยงานที่เชี่ยวชาญ อาทิ UCLG รวมทั้งยังส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของท้องถิ่นที่หลากหลาย สาหรับประเทศไทยเอง กระแสเรื่องการพัฒนาเมืองและท้องถิ่นก็เป็นเรื่องที่มีความสาคัญและส่งผลกระทบต่อความก้าวหน้าของ ประเทศมากเช่นกัน แต่ที่ผ่านมาการดาเนินนโยบายเรื่องดังกล่าวก็ยังไม่เห็นผลเป็นรูปธรรมชัดเจนเท่าใดนัก เมื่อมีการก่อตั้ง UCLG ขึ้น จึงถือเป็นโอกาสสาคัญที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยจะเข้าร่วมเป็น สมาชิกเพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับท้องถิ่นในภาคส่วนอื่นๆ จากทั่วโลก ตลอดจนนาองค์ความรู้ที่ ได้มาพัฒนาให้ท้องถิ่นไทยก้าวหน้าสู่ความเข้มแข็ง ทันสมัย และมีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน เอกสารอ้างอิง ข้อมูลจาก United Cities and Local Government (UCLG) http://www.uclg.org