SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 37
Downloaden Sie, um offline zu lesen
๑
มาตรการรักษาความปลอดภัยและ
แผนป้องกันและระงับอัคคีภัยใน
สถานศึกษา
ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
๒
คานา
การรักษาความปลอดภัยและป้องกันบรรเทาสาธารณภัยเป็นภารกิจสาคัญและจาเป็นที่จะต้องมีการ
เตรียมการรองรับสถานการณ์ไว้ตั้งแต่ตามปกติเพื่อป้องกันอันตราย หรือลดความเสียหายที่จะเกิดกับทั้งชีวิตและ
ทรัพย์สินจากภัยที่ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติ เช่น อุทกภัย วาตภัย แผ่นดินไหวฯ หรือมีผู้ทาให้เกิดขึ้น เช่น การเกิด
อัคคีภัยจากการใช้ไฟฟ้า การลอบวางเพลิง การลอบวางระเบิด ล้วนเป็นภัยที่ก่อให้เกิดอันตรายและความเสียหาย
ต่อชีวิตและทรัพย์สินโดยส่วนรวมที่จะต้องดาเนินการหาวิธีป้องกันและระงับเหตุที่เกิดขึ้นโดยเร็วพร้อมทั้งความ
ช่วยเหลือตลอดจนการรักษาความสงบเรียบร้อยเพื่อสถานการณ์เข้าสู่ภาวะปกติโดยเร็ว ทางศูนย์การศึกษาพิเศษ
มหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก จึงตระหนักในความสาคัญในเรื่องความปลอดภัยของสถานศึกษาจึงได้
จัดทามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษาขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
ดูแลความปลอดภัยผู้เรียน ด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ เช่น อุบัติเหตุจากอาคารเรียน อาคารประกอบ
อุบัติเหตุจากบริเวณสถานศึกษา สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ต่างๆ การเดินทาง
ไป – กลับ การพาผู้เรียนไปศึกษานอกสถานศึกษา การร่วมกิจกรรมสาคัญ อุบัติภัย เช่น อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย
ธรณีพิบัติภัย และปัญหาทางสังคม เช่น การล่วงละเมิดทางร่างกายและจิตใจ สารเสพติด การทะเลาะวิวาท การ
ถูกล่อลวงการลักพา สื่อลามกอนาจาร อบายมุข ด้านสุขภาพอนามัยผู้เรียน รวมทั้งเพื่อลดความเสี่ยงจากอัคคีภัยที่
อาจจะเกิดขึ้นในศูนย์ฯ และเป็นการสร้างระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยให้เป็นไปอย่างมีระบบ ชัดเจน และสามารถ
ปฏิบัติได้จริง สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาอัคคีภัยได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงจัดทามาตรการรักษาความ
ปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษาของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด
นครนายก ขึ้น
ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
๓
สารบัญ
หน้า
นโยบายและการวางแผนการักษาความปลอดภัย 1
1. เป้าประสงค์ 1
2. เป้าหมาย 1
3. ยุทธศาสตร์ 1
การวางแผนรักษาความปลอดภัย 2
มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ อุบัติภัย และปัญหาทางสังคม 3
ด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ 3
1. อุบัติเหตุจากอาคารเรียนอาคารประกอบ 3
2. อุบัติเหตุจากบริเวณสถานศึกษา 3
3. อุบัติเหตุจากสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา 3
4. อุบัติเหตุจากเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ต่างๆ 4
5. อุบัติเหตุจากการเดินทาง ไป-กลับ ระหว่างบ้าน และสถานศึกษา 4
6. อุบัติเหตุจากการพา ผู้เรียนไปศึกษานอกสถานศึกษา 4
7. อุบัติเหตุจากการนา ผู้เรียนร่วมกิจกรรมสาคัญ 4
ด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย 5
1. อัคคีภัย 5
2. วาตภัย 5
3. อุทกภัย 5
4. ธรณีพิบัติภัย 5
ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคม 6
แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย 7
๑.ความสาคัญของปัญหา 7
๒. วัตถุประสงค์ของแผน 7
๓. ขอบเขตของแผน 7
๔. ข้อมูลของหน่วยงาน 8
๔
หน้า
๕. การปฏิบัติก่อนเกิดอัคคีภัย 9
 การตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย 9
 การรณรงค์ เผยแพร่ และเสริมสร้างความรู้ 10
 การฝึกเพื่อทดสอบแผน 10
 การเตรียมพร้อมสาหรับการอพยพหนีไฟ 10
๖. การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัย 10
 การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัยในเวลาราชการ 10
- การแจ้งเหตุเพลิงไหม้ 10
- การดับเพลิง 11
- การอพยพหนีไฟ 11
 การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัยนอกเวลาราชการ 14
๗. การปฏิบัติหลังเกิดอัคคีภัย 14
๘. การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ 14
 การอพยพหนีไฟ 15
 เส้นทางการหนีไฟ 16
ภาคผนวก
 ภาคผนวก ก บัญชีหน่วยงานติดต่อกรณีเกิดอัคคีภัย 16
 ภาคผนวก ข แบบตรวจตราความปลอดภัย ๑7
 ภาคผนวก ค แผนอพยพหนีไฟของหน่วยงาน ๑๘
 ภาคผนวก ง บัญชีรายชื่อเจ้าหน้าที่ 20
 ภาคผนวก จ บัญชีเอกสารและทรัพย์สินที่ต้องขนย้าย 22
 ภาคผนวก ฉ แบบขออนุญาตผู้บังคับบัญชาพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา 23
 ภาคผนวก ช แบบขออนุญาตผู้ปกครองพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา 24
 ภาคผนวก ซ แบบรายงานผลการพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา 25
 ภาคผนวก ฌ แบบรายงานเหตุการณ์พานักเรียน/นักศึกษา ไปนอกสถานศึกษา 26
 ภาคผนวก ญ แบบประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรการประกันความปลอดภัย 27
ของนักเรียน
 ภาคผนวก ฎ แบบสรุปผลการประเมินมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา 30
 ภาคผนวก ฏ แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน 31
 ภาคผนวก ฐ แนวทางการให้ระดับคุณภาพ 33
๕
มาตรการรักษาความปลอดภัยของผู้เรียนในสถานศึกษา
ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
*******************
1. นโยบายและการวางแผนการรักษาความปลอดภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด
นครนายก
ผู้เรียน คือ หัวใจของการจัดการศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายกมี
ความตระหนักในความสาคัญ และเล็งเห็นความจาเป็นเร่งด่วนที่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย จะต้องร่วมกันหา
แนวทางที่เป็นรูปธรรม ในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข เป็นไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตที่
จะดูแลตนเองให้ปลอดภัยท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม อุบัติเหตุ และอุบัติภัย ที่จะก่อให้เกิดความเสียหาย
แก่ผู้เรียน ดังนั้นศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ซึ่งมีภารกิจและความรับผิดชอบใน
การจัดการศึกษา ต้องดาเนินการอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล
1) เป้าประสงค์
(1) เพื่อให้มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร
ประจาจังหวัดนครนายก ด้านอุบัติเหตุ ด้านอุบัติภัย และด้านปัญหาทางสังคม โดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์
ภายใต้หลักการกระจายอานาจ การมีส่วนร่วม และยึดประโยชน์สูงสุดของผู้เรียนเป็นสาคัญ
(2) เพื่อสร้างความเข้มแข็งระบบการรักษาความปลอดภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิริน
ธร ประจาจังหวัดนครนายก ให้มีความพร้อม สามารถป้องกัน และแก้ไขสถานการณ์ปัญหาของผู้เรียน ทั้งด้าน
อุบัติเหตุ อุบัติภัย และปัญหาทางสังคมที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
(3) เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการปกป้อง และคุ้มครองความปลอดภัย ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ
โดยผู้เรียนจะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข
(4) เพื่อสร้างความตระหนักในการรักษาความปลอดภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร
ประจาจังหวัดนครนายก โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่ผู้ที่รับผิดชอบ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการรักษา
ความปลอดภัยในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
2) เป้าหมาย
(1) ผู้เรียนทุกคนในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ได้รับการ
คุ้มครองดูแลความปลอดภัย
(2) ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองผู้เรียนมีแนวทางใน
การป้องกันและรักษาความปลอดภัยผู้เรียน
(3) เครือข่ายหน่วยงานภาครัฐและเอกชน มีส่วนร่วมในการดูแลความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน
3) ยุทธศาสตร์
(1) ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก จัดระบบการรักษาความ
ปลอดภัยของผู้เรียน โดยการมีส่วนร่วมของ ครู ผู้ปกครอง และเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างมีประสิทธิภาพ
(2) กาหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยของผู้เรียน
(3) มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน
๖
2. การวางแผนรักษาความปลอดภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
แนวทางการวางแผนการรักษาความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน เน้นการมีส่วนร่วมระหว่างผู้เรียน ครู
ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่าย โดยร่วมกันวางแผนป้องกัน แก้ไข ควบคุม กากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน
จึงจาเป็นต้องมีมาตรการและกิจกรรมเพื่อให้รับประโยชน์สูงสุดตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 และพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
พร้อมทั้งนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
ขั้นตอน ภารกิจ
1.ศึกษาสภาพทั่วไป ศึกษาสภาพทั่วไปของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด
นครนายก ชุมชน ความเข้มแข็งของเครือข่ายเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการ
เกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย และภัยจากสภาพแวดล้อม
2.กาหนดมาตรการหลัก กาหนดมาตรการหลักเพื่อป้องกัน และ/หรือ แก้ไข
3.กาหนดมาตรการเสริม กาหนดมาตรการเสริมให้เหมาะสมกับความเชื่อวัฒนธรรมและประเพณีของ
ท้องถิ่น และสภาพความเสี่ยงของท้องถิ่น
4.กาหนดกิจกรรม กาหนดกิจกรรมสนับสนุนมาตรการหลักและมาตรการเสริม
5.กาหนดเวลาและ
ผู้รับผิดชอบ
กาหนดเวลาและผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน และสามารถปฏิบัติได้
๗
3. มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ อุบัติภัย และปัญหาทางสังคม
สาเหตุ มาตรการป้องกันและแก้ไข ผู้รับผิดชอบ
ด้านการป้องกันและ
แก้ไขอุบัติเหตุ
1. อุบัติเหตุจากอาคาร
เรียนอาคารประกอบ
1. ตรวจสอบโครงสร้างและส่วนประกอบอาคารอย่างสม่าเสมอ
2. แต่งตั้งบุคลากรในการดูแลรักษาอาคารสถานที่
3. สร้างความตระหนักและให้ความรู้การรักษาความปลอดภัย
แก่ผู้เรียน
4. จัดทาป้ายข้อควรระวังด้านความปลอดภัยในจุดอันตราย
5. ซ่อมแซมส่วนประกอบอาคารให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย
6. จัดให้มีแผนการป้องกันและการเคลื่อนย้ายกรณีเกิดเหตุ
ฉุกเฉิน
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครูประจาชั้น
3. นักการภารโรง
4. ผู้ปกครอง
5. ชุมชน
2. อุบัติเหตุจากบริเวณ
สถานศึกษา
1. แต่งตั้งครูเวรประจาวันคอยควบคุม กากับ ติดตามดูแลการ
รักษาความปลอดภัยตลอดทั้งวัน
2. จัดให้มีผู้รับผิดชอบปฐมพยาบาลเบื้องต้น และนาส่ง
สถานพยาบาล
3. หลีกเลี่ยงการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปีนต้นไม้
4. จัดให้มีเจ้าหน้าที่ตัดแต่งกิ่งไม้ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยเสมอ
5. จัดให้ป้ายคาเตือนเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ
6. จัดให้มีความรู้และแนวทางปฏิบัติแก่ผู้เรียนในกรณีที่พบวัตถุ
สิ่งแปลกปลอม ซึ่งอาจเป็นวัตถุระเบิดหรือวัตถุอันตราย
7. ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง
8. จัดให้มีระบบการขออนุญาตออกนอกสถานศึกษา
9. จัดให้มีการบารุงดูแลรักษาความสะอาดโดยรอบสม่าเสมอ
10. จัดให้มีถังขยะแยะประเภทเพื่อสะดวกในการจัดเก็บและ
ทาลาย
11. หลีกเลี่ยงการจัดซื้ออุปกรณ์กีฬาหรือเครื่องเล่นที่อาจ
ก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครูเวรประจาวัน
3. ครูอนามัย
4. นักการภารโรง
5. เจ้าหน้าที่สถานี
อนามัย
6. ผู้เรียน
7. ผู้ปกครอง
3. อุบัติเหตุจาก
สภาพแวดล้อมของ
สถานศึกษา
1. มีการสารวจสภาพปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม มลภาวะใน
สถานศึกษาและชุมชน เพื่อหาแนวทางแก้ไข
2. แต่งตั้งคณะกรรมการ โดยใช้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการหาแนวทางป้องกันและแก้ไข
3. ประสานงานกับหน่วยงานอื่น
4. จัดกิจกรรมสร้างจิตสานึกและความตระหนักต่อปัญหา
สิ่งแวดล้อมให้กับผู้เรียน บุคลากรในสถานศึกษาและชุมชน
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครู
3. ผู้เรียน
4. ผู้ปกครอง
5. ชุมชน
๘
สาเหตุ มาตรการป้องกันและแก้ไข ผู้รับผิดชอบ
4. อุบัติเหตุจาก
เครื่องมือ เครื่องใช้ และ
อุปกรณ์ ต่างๆ
1. ตรวจสอบเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ต่างๆ
ก่อนใช้ทุกครั้ง
2. ห้ามใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ต่างๆที่ชารุด
3. แนะนา สาธิต และควบคุมการใช้อย่างถูกวิธีตามประเภท
ของอุปกรณ์
4. จัดเก็บเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ในที่เก็บทุกครั้งอย่างเป็น
ระเบียบปลอดภัย
5. กากับ ดูแลผู้เรียนในการใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ให้
ถูกต้องเหมาะกับประเภทกิจกรรม
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครู
3. นักการภารโรง
4. ผู้เรียน
5. ผู้ปกครอง
6. ชุมชน
5. อุบัติเหตุจากการ
เดินทาง ไป-กลับ
ระหว่างบ้าน และ
สถานศึกษา
1. สถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน ร่วมมือกันกาหนด
มาตรการรับ-ส่งผู้เรียนตอนเช้าและเลิกเรียน
2. กากับ ดูแลผู้เรียนที่ใช้จักรยานให้ชิดทางซ้ายและเป็นแถว
3. จัดครูเวรประจาวันตรวจเช็คผู้เรียนที่มีผู้ปกครองมารับ
4. แนะนาการเดินแถวกลับบ้านและให้พี่ดูแลน้อง
5. ทากิจกรรมเกี่ยวกับการฝึกปฏิบัติตามกฎจราจร
6. จัดครูเวรและผู้เรียนคอยรับ-ส่งผู้เรียนที่ประตูเข้าออก
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครู
3. นักการภารโรง
4. ผู้เรียน
5. ผู้ปกครอง
6. ชุมชน
6. อุบัติเหตุจากการพา
ผู้เรียนไปศึกษานอก
สถานศึกษา
1. ศึกษาและปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย
การพาผู้เรียนไปศึกษานอกสถานศึกษาโดยเคร่งครัด
2. เตรียมการและวางแผนการดาเนินการอย่างชัดเจน
3. จัดทาประวัติผู้เรียนที่ร่วมเดินทาง
4. จัดครูคอยควบคุม ดูแลให้อยู่ในระเบียบวินัย
5. จัดให้มีป้ายชื่อแสดงรายละเอียดผู้เรียน
6. จัดให้มีเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
7. ควบคุมดูแลการซื้ออาหารรับประทาน
8. หากมีการใช้พาหนะรถยนต์ต้องแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจสภาพ
รถยนต์และตรวจประวัติคนขับเพื่อความปลอดภัย
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครูประจาชั้น
3. นักการภารโรง
4. ผู้ปกครอง
5. ชุมชน
6. ผู้เรียน
7. อุบัติเหตุจากการนา
ผู้เรียนร่วมกิจกรรม
สาคัญ
1. หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย
2. จัดระบบดูแลความปลอดภัยอย่างใกล้ชิด
3. ให้ความรู้ผู้เรียนในการร่วมกิจกรรมอย่างปลอดภัยทุกครั้ง
4. จัดครูคอยควบคุม ดูแลให้อยู่ในระเบียบวินัยทุกครั้ง
5. ตรวจดูความเหมาะสมของสถานที่ที่ปลอดภัย
6. ประสานงานเจ้าหน้าด้านการรักษาความปลอดภัยท้องถนน
7. จัดเตรียมหน่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้นทุกครั้ง
8. หากมีการใช้พาหนะรถยนต์ต้องแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจสภาพ
รถยนต์ และตรวจประวัติคนขับเพื่อความปลอดภัย
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครูประจาชั้น
3. นักการภารโรง
4. ผู้ปกครอง
5. ชุมชน
6. เจ้าหน้าที่ตารวจ
7. ผู้เรียน
๙
สาเหตุ มาตรการป้องกันและแก้ไข ผู้รับผิดชอบ
ด้านการป้องกันและ
แก้ไขอุบัติภัย
1. อัคคีภัย
1. แต่งตั้งกรรมการรับผิดชอบตรวจสอบอุปกรณ์อย่าง
สม่าเสมอ
2. ให้ความรู้ผู้เรียนเกี่ยวกับการดับไฟ หนีไฟ
3. จัดให้มีเจ้าหน้าที่อยู่เวรรักษาสถานที่ราชการอย่างเคร่งครัด
4. วางแผนรับสถานการณ์ไว้ล่วงหน้า
5. จัดแหล่งข้อมูลที่สามารถติดต่อขอความช่วยเหลือไว้
ล่วงหน้า
6. ขจัดสิ่งรกรุงรังในบริเวณสถานศึกษา อาคารและห้องต่างๆ
7. รายงานต้นสังกัดทันที
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครูประจาชั้น
3. นักการภารโรง
4. ผู้ปกครอง
5. ชุมชน
6. เจ้าหน้าที่ตารวจ
7. ผู้เรียน
2. วาตภัย 1. ให้ความรู้ในการปฏิบัติตนแก่ผู้เรียนให้พ้นจากอันตราย
2. จัดให้มีการอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการ
3. ตรวจสอบสภาพอาคารต่างๆอย่างสม่าเสมอ
4. ตัดแต่งกิ่งไม้ที่อยู่ใกล้อาคาร
5. ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศสม่าเสมอ
6. จัดให้มีเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
7. จัดให้มีเครือข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถติดต่อขอ
ความช่วยเหลือทันที
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครูประจาชั้น
3. นักการภารโรง
4. ผู้ปกครอง
5. ชุมชน
6. ผู้เรียน
3. อุทกภัย 1. ให้ความรู้ในการปฏิบัติตนแก่ผู้เรียนให้พ้นจากอันตราย
2. จัดให้มีการอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการ
3. ตรวจสอบสภาพอาคารต่างๆอย่างสม่าเสมอ
4. ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศสม่าเสมอ
5. จัดให้มีเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
6. จัดให้มีเครือข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถติดต่อขอ
ความช่วยเหลือทันที
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครูประจาชั้น
3. นักการภารโรง
4. ผู้ปกครอง
5. ชุมชน
6. ผู้เรียน
4. ธรณีพิบัติภัย 1.ให้ความรู้ในการปฏิบัติตนแก่ผู้เรียนให้พ้นจากอันตราย
2.จัดให้มีการอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการ
3.ตรวจสอบสภาพอาคารต่างๆอย่างสม่าเสมอ
4.ตัดแต่งกิ่งไม้ที่อยู่ใกล้อาคาร
5.ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศสม่าเสมอ
6.จัดให้มีเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
7.จัดให้มีเครือข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถติดต่อขอ
ความช่วยเหลือทันที
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครูประจาชั้น
3. นักการภารโรง
4. ผู้ปกครอง
5. ชุมชน
6. ผู้เรียน
๑๐
ด้านการป้องกันและ
แก้ไขปัญหาทางสังคม
1. จัดให้มีระบบดูและช่วยเหลือผู้เรียน
2. จัดให้มีการอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการ
3. จัดให้มีการวางแผนป้องกันภัย
4. จัดให้การบริการให้คาปรึกษา
5. จัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะในการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา
6. จัดให้มีป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับสื่อต่างๆ
7. จัดให้มีเครือข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถติดต่อขอ
ความช่วยเหลือทันที
8. จัดประชุมผู้ปกครองเพื่อหาแนวทางวางแผนป้องกันและ
แก้ไข
1. ผู้บริหาร
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
2. ครูประจาชั้น
3. นักการภารโรง
4. ผู้ปกครอง
5. ชุมชน
6. ผู้เรียน
๑๑
แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
๑. ความสาคัญของปัญหา
ด้วยแผนแม่บทพัฒนาความปลอดภัยด้านอัคคีภัยแห่งชาติ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๑
พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ให้เป็นแผนหลักในการบริหารจัดการอัคคีภัยจึงได้กาหนดให้มีการจัดทาแผนฉุกเฉินและการ
ฝึกซ้อมแผนร่วมประจาทุกปีและกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.๒๕๕๕ ซึ่งออก
ตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.๒๕๕๔ กาหนดให้
ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และกิจการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงจัดให้มี
มาตรฐาน ในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานใน
หน่วยงานของตนไม่ต่ากว่ามาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยการ
ดาเนินงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยกาหนดให้นายจ้างจัดให้มีระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถาน
ประกอบกิจการ เช่น จัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ประกอบด้วยการตรวจตรา การอบรม การรณรงค์
ป้องกันอัคคีภัย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ และการบรรเทาทุกข์ ฯลฯ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่
๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ กาหนดให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจทุกแห่งถือปฏิบัติตามมาตรการ
และแนวทางในการป้องกันการเกิดอัคคีภัยในสถานที่ราชการ หน่วยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ โดยการจัดทา
แผนหรือมาตรการป้องกันและระงับอัคคีภัย อุบัติภัยขึ้นภายในหน่วยงาน จัดให้มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ตาม
หลักสูตรการดับเพลิงเบื้องต้น และให้มีการฝึกซ้อมแผนให้เป็นไปตามแผนของแต่ละหน่วยงานที่จัดทาขึ้น
๒. วัตถุประสงค์ของแผน
๒.๑ เพื่อกาหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากรศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด
นครนายก ในการป้องกันและระงับอัคคีภัยให้ชัดเจน
๒.๒ เพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจา
จังหวัดนครนายก
๒.๓ เพื่อสร้างความมั่นใจในเรื่องความปลอดภัยจากอัคคีภัยต่อบุคลากร
๓. ขอบเขตของแผน
แผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
ฉบับนี้ใช้ในการป้องกันและระงับอัคคีภัยเบื้องต้นที่อาจจะเกิดขึ้นในบริเวณศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร
ประจาจังหวัดนครนายกทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ ซึ่งหากอัคคีภัยที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงจนเกินขีด
ความสามารถในการควบคุมให้การปฏิบัติเป็นไปตามอานาจหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๑๒
๔. ข้อมูลของหน่วยงาน
๔.๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับหน่วยงาน
ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก เนื้อที่ 2 ไร่ 1 งาน ๗๕ ตารางวา
เป็นอาคารชั้นเดียว จานวน 2 หลัง
หมายเหตุ
หมายเลข 1 ห้องผู้อานวยการ หมายเลข 2 ห้องแผนงานและงบประมาณ
หมายเลข 3 ห้องวิชาการ หมายเลข 4 ห้องกระตุ้นพัฒนาการ
หมายเลข 5 ห้องบกพร่องทางการเห็น หมายเลข 6 ห้องสติปัญญา 2
หมายเลข 7 ห้องสติปัญญา 1 หมายเลข 8 ห้องออทิสติก
หมายเลข 9 ห้องฝึกอาชีพ หมายเลข 10 ห้องกายภาพบาบัด
หมายเลข 11 ห้องฝึกพูด หมายเลข 12 ห้องธุรการ
ห้องน้า ถังดับเพลิง
จุดรวมพล
ทางหนีไฟ
ทางหนีไฟ
ทางหนีไฟ
ทางหนีไฟ
๑๓
ปัจจัยเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอัคคีภัย
ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร จังหวัดนครนายก ประกอบไปด้วยอาคารสาคัญ
๓ อาคาร ได้แก่
๑. อาคารเรียน เป็นอาคารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยมากที่สุด แบ่งเป็น ๓ ห้อง
ประกอบด้วย
๑.๑ ห้องวิชาการ เป็นที่ตั้งของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 1 ชุด เครื่องวิทยุสื่อสาร ๒ เครื่อง
อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น พัดลม เครื่องถ่ายเอกสาร แอร์คอนดิชันเนอร์ และเอกสารต่างๆ
๑.๒ ห้องแผนและงบประมาณ เป็นที่ตั้งของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 2 ชุด อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น
พัดลม เครื่องปรับอากาศ และเอกสารต่างๆ
๑.๓ ห้องประชุม เป็นที่ตั้งของเครื่องฉายแสง พัดลม และเครื่องถ่ายเอกสาร
๒. อาคารห้องสมุด เป็นที่จัดเก็บหนังสือต่างๆ อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น เครื่องฉายแสง พัดลม
เครื่องปรับอากาศ
๓. โรงครัว เป็นโรงประกอบอาหาร เป็นอาคารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยน้อยที่สุด
๔.๒ ข้อมูลบุคลากร
ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร จังหวัดนครนายก ประกอบบุคลากร จานวน 41 คน
ผู้ชาย 7 คน ผู้หญิง 34 คน แยกเป็น ข้าราชการ ๑0 คน พนักงานราชการ ๙ คน ครูธุรการ ๑ คน พี่เลี้ยงเด็ก
พิการ 17 คน และจ้างเหมาบริการ 4 คน
๔.๓ ข้อมูลเครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย
๑. ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ขนาด ๑๕ ปอนด์ จานวน ๖ ถัง
๑.๑ ติดตั้งด้านหน้าอาคารห้องสมุด จานวน 3 ถัง
๑.๒ ติดตั้งบริเวณอาคารเรียน จานวน 3 ถัง
๕. การปฏิบัติก่อนเกิดอัคคีภัย
ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายกได้ดาเนินมาตรการ/กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อ
ป้องกันและเตรียมพร้อมเผชิญเหตุการณ์อัคคีภัยไว้ล่วงหน้า เพื่อเป็นการลดความรุนแรงและลดความสูญเสียที่
อาจจะเกิดขึ้น โดยมีมาตรการ/กิจกรรมที่ดาเนินการ ดังนี้
๕.๑ การตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
ฝ่ายบริหารงานทั่วไป เป็นส่วนรับผิดชอบหลักในการตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัยของ
ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก เช่น สายและปลั๊กไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ โดย
ดาเนินการดังนี้
- มอบหมาย นายอภิวัชร์ บัวเจริญ ตาแหน่ง พนักงานราชการ หมายเลขโทรศัพท์
08-1144-5597 เป็นเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการตรวจความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษ
มหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
- มอบหมาย ผู้ปฏิบัติหน้าที่เวรกลางคืน เป็นเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการตรวจความปลอดภัยเกี่ยวกับ
อัคคีภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
๑๔
- จัดทาแบบฟอร์มการตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย(รายละเอียดตามแบบตรวจตรา
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย ตามภาคผนวก ข)
- สารวจตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัยในบริเวณศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร
ประจาจังหวัดนครนายก ว่าพร้อมใช้งานหรือไม่
- จัดทารายงานผลการตรวจตราความปลอดภัยให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ทั้งนี้ หากพบข้อบกพร่อง
หรือใช้งานไม่ได้ ให้เสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อสั่งการให้ปรับปรุงแก้ไขโดยด่วน
๕.๒ การรณรงค์ เผยแพร่ และเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย
มอบหมายให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป เป็นส่วนรับผิดชอบหลักในการจัดกิจกรรม/โครงการ ในการ
รณรงค์ เผยแพร่ และเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยแก่บุคลากรของศูนย์การศึกษาพิเศษ
มหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก เช่น วิธีการแจ้งเหตุเพลิงไหม้ การใช้อุปกรณ์ดับเพลิงเบื้องต้น การ
อพยพหนีไฟ การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยเมื่อต้องเผชิญเหตุเพลิงไหม้ ฯลฯ
๕.๓ การฝึกเพื่อทดสอบแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในสานักงานฯ
- มอบหมายให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป เป็นส่วนรับผิดชอบหลักในการฝึกเพื่อทดสอบแผนป้องกัน
และระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
- มอบหมายงานรักษาความปลอดภัย เป็นส่วนรับผิดชอบหลักในการประเมินผลการฝึกเพื่อ
ทดสอบแผนดังกล่าวและประมวลข้อมูล ส่งให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปใช้ประกอบในการปรับปรุง ทบทวน และ
แก้ไขแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก โดยทา
การฝึกทดสอบแผนอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง หรือ เป็นประจาทุกเดือน
๕.๔ การเตรียมพร้อมสาหรับการอพยพหนีไฟ
๑. จัดทาแผนการอพยพหนีไฟของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
โดยกาหนดผู้นาการอพยพ ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ เส้นทางหนีไฟ จุดรวมพล จุดรองรับการอพยพ สัญลักษณ์
สาหรับใช้นาการอพยพ ข้อปฏิบัติในการอพยพ ฯลฯ (รายละเอียดตามแผนอพยพหนีไฟ ตามภาคผนวก ค)
๒. จัดทาบัญชีรายชื่อเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด
นครนายก สาหรับใช้ในการตรวจสอบยอดผู้อพยพ โดยให้มีการปรับปรุงบัญชีรายชื่อเจ้าหน้าที่ให้เป็นปัจจุบัน อยู่
เสมอ (รายละเอียดตามบัญชีรายชื่อเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในสานักงาน ฯ ตามภาคผนวก ง)
๓. จัดทาบัญชีเอกสารและทรัพย์สินสาคัญทางราชการที่ต้องขนย้ายเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้
(รายละเอียดตามบัญชีเอกสารและทรัพย์สิน ฯ ที่ต้องขนย้าย ตามภาคผนวก จ)
๔. มอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการขนย้ายและเก็บรักษาทรัพย์สิน เอกสารและทรัพย์สิน
สาคัญของทางราชการตามบัญชีที่จัดทาขึ้น (รายละเอียดตามบัญชีเอกสารและทรัพย์สิน ฯ ที่ต้องขนย้าย ตาม
ภาคผนวก จ)
๖. การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัย
๖.๑ การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัยในเวลาราชการ
๖.๑.๑ การแจ้งเหตุเพลิงไหม้
๑. ให้ผู้พบเห็นเหตุการณ์คนแรกตัดสินใจว่าสามารถดับเพลิงได้ด้วยตนเองหรือไม่
หากไม่สามารถดับเพลิงได้ตนเอง ให้แจ้งเหตุเพลิงไหม้ไปยังเทศบาลเมืองนครนายก หมายเลขโทรศัพท์ ๑๙๙
หรือ ๐-๓๗๓๑-๑๐๘๘
๑๕
๒. ให้ผู้บริหารศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายกเป็น
ผู้อานวยการดับเพลิง ตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจา
จังหวัดนครนายก
6.1.2 การดับเพลิง
๑. ให้ผู้พบเห็นเหตุการณ์คนแรก เข้าทาการดับเพลิงด้วยถังดับเพลิงทันที พร้อมทั้ง
ร้องขอความช่วยเหลือไปยังเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานอยู่ใกล้เคียงเข้าช่วยเหลือ
๒. แจ้งผู้บริหารศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายกหรือผู้ได้รับ
มอบหมาย เข้าบัญชาการเหตุการณ์ในฐานะผู้อานวยการดับเพลิง
๓. หากเพลิงไหม้มีความรุนแรงลุกลามจนเกินขีดความสามารถในการควบคุม
ให้แจ้งเหตุเพลิงไหม้ไปยังเทศบาลเมืองนครนายก หมายเลขโทรศัพท์ ๑๙๙ หรือ ๐-๓๗๓๑-๑๐๘๘ พร้อมทั้ง สั่ง
การให้อพยพหนีไฟตามแผนอพยพหนีไฟที่จัดทาไว้
๖.๑.๓ การอพยพหนีไฟ
๑. หากเพลิงไหม้มีความรุนแรงลุกลามจนเกินขีดความสามารถในการควบคุม ให้
ผู้อานวยการดับเพลิงเป็นผู้สั่งการให้อพยพหนีไฟตามแผนอพยพหนีไฟ
๒. เมื่อผู้อานวยการดับเพลิงได้สั่งการอพยพหนีไฟ ให้ผู้นาอพยพ (ตามที่กาหนดไว้ในแผน
อพยพหนีไฟ) นาอพยพเจ้าหน้าที่ไปตามเส้นทางอพยพที่กาหนดไปยังจุดรวมพลโดยเร็ว
๓. ให้ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ (ตามที่กาหนดไว้ในแผนอพยพหนีไฟ) ทาการตรวจสอบ
ยอดจานวนเจ้าหน้าที่ ณ จุดรวมพล หากไม่ครบถ้วนให้รายงานผู้อานวยการดับเพลิง สั่งการให้เข้าทาการค้นหา
ผู้ที่อาจติดค้างอยู่ในพื้นที่เกิดเหตุ
๔. หากค้นพบผู้ได้รับบาดเจ็บให้รายงานผู้บัญชาการเหตุการณ์ทันที พร้อมทั้ง ช่วยเหลือ
ผู้บาดเจ็บมายังจุดปฐมพยาบาล หากมีผู้ได้รับบาดเจ็บรุนแรงให้ส่งต่อไปยังโรงพยาบาลนครนายก
๕. เมื่อเพลิงสงบให้ผู้อานวยการดับเพลิงสั่งการให้เจ้าหน้าที่อพยพกลับ
๑๖
แผนภาพ : การอพยพหนีไฟ
พบผู้บาดเจ็บ
บาดเจ็บรุนแรง
ครบ ไม่ครบ
ผู้อานวยการดับเพลิงสั่งการให้มีการอพยพหนีไฟ
ผู้นาอพยพนาอพยพเจ้าหน้าที่ไปยังจุดรวมพล
และทาการตรวจสอบยอดจานวนเจ้าหน้าที่
ชุดเผชิญเหตุเข้าค้นหาผู้ที่อาจ
ติดค้างในพื้นที่เกิดเหตุ
ส่งต่อโรงพยาบาลใกล้เคียงทันที
(โรงพยาบาลนครนายก)
และแจ้งผู้อานวยการดับเพลิง
ทราบโดยเร็ว
ผู้อานวยการดับเพลิง
สั่งการให้เจ้าหน้าที่ชุดเผชิญเหตุเข้า
ค้นหาผู้ที่อาจติดค้างในพื้นที่เกิดเหตุ
แจ้งผู้อานวยการดับเพลิงทันที
พร้อมทั้ง ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
มายังจุดปฐมพยาบาล
นาอพยพไปยัง
จุดรองรับการอพยพ
เพลิงสงบ
ผู้อานวยการดับเพลิง
สั่งการให้อพยพกลับ
๑๗
จุดรวมพล
ทางหนีไฟ
ทางหนีไฟ
ทางหนีไฟ
หมายเหตุ
หมายเลข 1 ห้องผู้อานวยการ หมายเลข 2 ห้องแผนงานและงบประมาณ
หมายเลข 3 ห้องวิชาการ หมายเลข 4 ห้องกระตุ้นพัฒนาการ
หมายเลข 5 ห้องบกพร่องทางการเห็น หมายเลข 6 ห้องสติปัญญา 2
หมายเลข 7 ห้องสติปัญญา 1 หมายเลข 8 ห้องออทิสติก
หมายเลข 9 ห้องฝึกอาชีพ หมายเลข 10 ห้องกายภาพบาบัด
หมายเลข 11 ห้องฝึกพูด หมายเลข 12 ห้องธุรการ
ห้องน้า ถังดับเพลิง
เส้นทางการอพยพหนีไฟ
๑๘
๖.๑ การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัยนอกเวลาราชการ
ให้เวรประจาวัน เป็นผู้รับผิดชอบในการแก้ไปปัญหาอัคคีภัยที่เกิดขึ้นในช่วงนอกเวลาราชการ
ได้แก่ วันทาการระหว่างเวลา ๐๖.๓๐ – ๐๘.๓๐ น. วันหยุดราชการ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยมีแนวทางปฏิบัติ
ดังนี้
๑. กรณีพบเหตุเพลิงไหม้ ให้ตัดสินใจว่าสามารถดับเพลิงได้ด้วยตนเองหรือไม่ หากสามารถ
ดับเพลิงได้ให้ทาการดับเพลิงเบื้องต้นทันที แล้วรายงานให้ผู้ตรวจเวรและผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษมหา
จักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายกทราบ
๒. กรณี ไม่สามารถดับเพลิงได้
- ให้แจ้งเหตุเพลิงไหม้ไปยังเทศบาลเมืองนครนายก หมายเลขโทรศัพท์ ๑๙๙ หรือ ๐-๓๗๓๑-
๑๐๘๘
- แจ้งผู้ตรวจเวรและผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด
นครนายก
๗. การปฏิบัติหลังเกิดอัคคีภัย
๑. ให้กลุ่มงานพัสดุ รับผิดชอบดาเนินการรวบรวมข้อมูลความเสียหายที่เกิดขึ้น ต่อทรัพย์สินของทาง
ราชการ แล้วรายงานให้ผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก เพื่อพิจารณา
ฟื้นฟูบูรณะ ปรับปรุงหรือซ่อมแซมวัสดุอุปกรณ์ที่ได้รับความเสียหายจากอัคคีภัยที่เกิดขึ้น
๒. กรณีอัคคีภัยที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อทรัพยากรสาคัญ เช่น โต๊ะทางาน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
จนทาให้เจ้าหน้าที่ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ ให้หน่วยงานถือปฏิบัติตามแผนบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน
(Business Continuity Plan)
๘. การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ
๑. กาหนดผู้รับผิดชอบแต่ละภารกิจในการป้องกันและลดความเสี่ยงจากอัคคีภัยตามแผนป้องกันและ
ระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก อย่างชัดเจน เช่น จัดทาคาสั่ง
มอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการตรวจตรา ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย เป็นต้น
๒. กาหนดแนวทางการติดตามผลการดาเนินงานตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในศูนย์
การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก เช่น การแต่งตั้งคณะทางานติดตามผลการดาเนินงาน
ตามแผนฯ เป็นต้น
๓. กาหนดให้มีการฝึกเพื่อทดสอบแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิ
รินธร ประจาจังหวัดนครนายก ที่จัดทาขึ้น เพื่อนามาเป็นข้อมูลในการปรับ/แก้ไข/พัฒนาแผนป้องกันและระงับ
อัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ให้สามารถนาไปใช้ได้จริงและมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
***************************
๑๙
ภาคผนวก
๒๐
บัญชีรายชื่อหน่วยงานติดต่อกรณีเกิดอัคคีภัย
หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ ชื่อ-นามสกุลผู้ที่ติดต่อได้
กรณีเกิดอัคคีภัย
แจ้งเหตุเพลิงไหม้
สายด่วนนิรภัย (ปภ.) ๑๗๘๔
เทศบาลเมืองนครนายก ๑๙๙ , ๐-๓๗๓๑-๑๐๘๘
เทศบาลตาบลท่าช้าง ๐-๓๗๓๑-๖๓๖๑
อบต.บ้านใหญ่ ๐-๓๗๓๒-๑๑๙๙
อบต.พรหมณี ๐-๓๗๓๒-๖๑๕๖
สถานีตารวจภูธรเมืองนครนายก ๑๙๑ , ๐-๓๗๓๑-๓๕๔๙
โรงพยาบาลนครนายก ๐-๓๗๓๑-๑๒๑๙
ศูนย์การแพทย์ฉุกเฉิน ๑๖๖๙
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคนครนายก ๐-๓๗๓๑-๒๐๗๙
การประปาส่วนภูมิภาคนครนายก ๐-๓๗๓๑-๑๐๐๕
มูลนิธิสว่างอริยะธรรมสถาน
นครนายก
๐-๒๗๓๒-๐๐๙๖
มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งนครนายก ๐-๓๗๓๑-๑๐๕๕
มูลนิธิธรรมรัศมีมณีรัตน์นครนายก ๐-๓๗๓๑-๔๘๓๔
มูลนิธิร่วมกตัญญูนครนายก ๐-๓๗๓๒-๓๖๔๕
๒๑
แบบตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
หน่วยงาน ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
ที่ รายการ จานวน
ผลการตรวจตรา การปรับปรุง/แก้ไข
หมายเหตุ
เรียบร้อย
ชารุด/ ใช้
งานไม่ได้
อยู่ระหว่าง
ดาเนินการ
ปรับปรุง/แก้ไข
เรียบร้อย
๑ ปลั๊กต่างๆ 68 √
๒ สวิตซ์ไฟฟ้า 34 √
๓ กระติกน้าร้อน 2 √
๔ คอมพิวเตอร์ 14 √
๕ เครื่องปรับอากาศ 21 √
๖ ถังดับเพลิง
- ชนิดผงเคมีแห้ง
- ชนิดก๊าซคาร์บอนได
ออกไซด์(CO๒)
6
-
√
๗ อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke
Detector)
-
๘ อุปกรณ์แจ้งเตือน เพลิงไหม้
(Fire alarm)
-
๙ เส้นทางหนีไฟ -
๑๐ ป้ายสื่อความหมายปลอดภัย
เช่น ทางหนีไฟ ทางเข้า/
ทางออก ฯลฯ
-
๑๑ อื่นๆ (โปรดระบุ).............. -
ลงชื่อ..................................................ผู้ตรวจตรา
(นายอภิวัชร์ บัวเจริญ)
ตาแหน่ง พนักงานราชการ
วันที่ตรวจตรา....... เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
๒๒
แผนอพยพหนีไฟของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
ที่ ข้อกาหนดในการอพยพ รายละเอียด
๑ ผู้นาการอพยพ - ผู้นาการอพยพ นายชูเกียรติ จับเทียน
ครู หมายเลขโทรศัพท์ 09-5873-3154
- ผู้นาการอพยพ (สารองคนที่ ๑) นายธนพล นกแก้ว
ครูผู้ช่วย หมายเลขโทรศัพท์ 08-6794-0328
- ผู้นาการอพยพ (สารองคนที่ ๒) นายอุดมศักดิ์ สมบัติ
พี่เลี้ยงเด็กพิการ หมายเลขโทรศัพท์ 08-3121-0648
๒ ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ - ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ นายอภิวัชร์ บัวเจริญ
หัวหน้างานรักษาความปลอดภัย หมายเลขโทรศัพท์ 08-1144-5597
- ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ (สารองคนที่ ๑) นางสาวประภาวรรณ พุมมา
ครู หมายเลขโทรศัพท์ 08-9216-1712
- ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ (สารองคนที่ ๒) นางสาวดวงจิต สังข์คา
ครู หมายเลขโทรศัพท์ 08-1846-6424
๓ ผู้ทาหน้าที่ชุดปฐมพยาบาล - ผู้ทาหน้าที่ชุดปฐมพยาบาล นายศุภกิจ คงเพชรศักดิ์
รองผู้อานวยการ หมายเลขโทรศัพท์ 08-3164-5385
- ผู้ทาหน้าที่ชุดปฐมพยาบาล (สารองคนที่ ๑) นางสาวเสาวลักษณ์ บารุงกิจ
พนักงานราชการ หมายเลขโทรศัพท์ 08-3074-6709
- ผู้ทาหน้าที่ชุดปฐมพยาบาล (สารองคนที่ ๒) นางสาวภาวิณี จันทร์แดง
พนักงานราชการ หมายเลขโทรศัพท์ 08-4321-5648
๔ เส้นทางอพยพหนีไฟ - เส้นทางที่ ๑ อาคารเรียน
ใช้เส้นทางประตูทางเข้าด้านหน้าอาคารเรียน และออกไปยังจุดรวมพล หรือประตู
ทางออกทางด้านหลัง และออกไปยังจุดรวมพล
- เส้นทางที่ ๒ อาคารห้องสมุด
ใช้เส้นทางประตูทางเข้าด้านหน้าอาคารห้องสมุด และออกไปยังจุดรวมพล
๕ จุดรวมพล บริเวณลานพระพุทธรูปด้านหน้าอาคารเรียน ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจา
จังหวัดนครนายก
๒๓
ที่ ข้อกาหนดในการอพยพ รายละเอียด
๖ จุดรองรับการอพยพ บริเวณลานพระพุทธรูปด้านหน้าอาคารเรียน ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจา
จังหวัดนครนายก
๗ สัญลักษณ์นาการอพยพ ๑) ใช้ธงสีเขียวอ่อนมีตัวอักษร ธงนาอพยพหนีไฟ เป็นสัญลักษณ์ สาหรับนาการอพยพ
๒) จุดติดตั้งธงที่ใช้ในการอพยพ
- บริเวณหน้าและหลังอาคารเรียน
- บริเวณหน้าอาคารห้องสมุด
๘ ข้อควรปฏิบัติในการ
อพยพหนีไฟ
- พยายามตั้งสติให้ดี ควบคุมอารมณ์ให้สงบ มั่นคง ไม่ตื่นตระหนก
- ให้ใช้บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
- ขณะอพยพให้ใช้วิธีเดินเร็วชิดด้านขวาเป็นหลัก ห้ามวิ่งหรือเดินช้า
- เชื่อฟังและปฏิบัติตามคาแนะนาของผู้นาอพยพอย่างเคร่งครัด
- ห้ามขนสัมภาระใดๆ ติดตัวไปในขณะอพยพ ยกเว้นเงินและเอกสารสาคัญ
- ระหว่างการอพยพห้ามเดินคุยเล่นกัน อย่าส่งเสียงเอะอะหรือเร่งให้คนที่อยู่ข้างหน้า
เดินเร็วขึ้น อย่าผลัก อย่าดัน หรือแซงกัน
- หากออกจากบันไดหนีไฟเป็นคนสุดท้ายให้ปิดประตูหนีไฟ เพื่อป้องกันควันไฟเข้าไป
ในช่องบันไดหนีไฟ
- เมื่อเดินทางออกมาภายนอกห้องแล้ว ห้ามเดินทางย้อนกลับเข้าไปที่ห้องอีก ไม่ว่า
จะนึกเรื่องสาคัญอะไรขึ้นมาได้ก็ตาม
๒๔
บัญชีรายชื่อบุคลากรศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
ประกอบด้วย
ข้าราชการ จานวน 10 คน จาแนกตามเพศ ชาย 3 คน หญิง 7 คน
พนักงานราชการ จานวน 9 คน ชาย 1 คน หญิง 8 คน
ครูธุรการ จานวน 1 คน ชาย - คน หญิง 1 คน
พี่เลี้ยงเด็กพิการ จานวน ๑7 คน ชาย 1 คน หญิง 16 คน
จ้างเหมาบริการ จานวน 4 คน ชาย 2 คน หญิง 2 คน
รวม จานวน 41 คน ชาย 7 คน หญิง 34 คน
ที่ ชื่อ–สกุล ตาแหน่ง โทรศัพท์
กรุ๊ป
เลือด
โรค
ประจาตัว
บุคคลและเบอร์โทรศัพท์
ติดต่อกรณีฉุกเฉิน
๑ นางอาภัสรา ตังคกุลวิวิช ผู้อานวยการ
๒ นายศุภกิจ คงเพชรศักดิ์ รองผู้อานวยการ
๓ นางสาวประภาวรรณ พุมมา ครู
๔ นางสาวดวงจิต สังข์คา ครู
๕ นางธนิดา มีศรี ครู
๖ นางสาวทิพภาวีร์ โพธิ์ทอง ครู
๗ นางสาวจริยา บุตรทอง ครู
๘ นายชูเกียรติ จับเทียน ครู
๙ นางสาวนภสวรรณ์ ฤทธิ์เดช ครูผู้ช่วย
10 นายธนพล นกแก้ว ครูผู้ช่วย
11 นางสาวบุญยิ่ง กันหาวัน พนักงานราชการ
12 นายอภิวัชร์ บัวเจริญ พนักงานราชการ
13 นางสาวสุดารัตน์ แสงชมภู พนักงานราชการ
14 นางสาวชุติกาญน์ ดวงภูมฆ พนักงานราชการ
15 นางสาวเสาวลักษณ์ บารุงกิจ พนักงานราชการ
16 นางสาวหทัยวรรณ คังคายะ พนักงานราชการ
17 นางสาวภาวิณี จันทร์แดง พนักงานราชการ
18 นางสาวกวิสรา บุญเรือง พนักงานราชการ
19 นางสาวอัจฉรียาพร สุทธิคุณ พนักงานราชการ
20 นางสาวประวีณา พืชมงคลไชย ครูธุรการ
21 นางสาวพิชาพรณ์ สามล พี่เลี้ยงเด็กพิการ
22 นายอุดมศักดิ์ สมบัติ พี่เลี้ยงเด็กพิการ
23 นางสาวเกศินี สุดสวาท พี่เลี้ยงเด็กพิการ
24 นางสาวจิตาภา ดีเสงี่ยม พี่เลี้ยงเด็กพิการ
25 นางชาลิสา ประสพบุญ พี่เลี้ยงเด็กพิการ
๒๕
ที่ ชื่อ–สกุล ตาแหน่ง โทรศัพท์
กรุ๊ป
เลือด
โรค
ประจาตัว
บุคคลและเบอร์โทรศัพท์
ติดต่อกรณีฉุกเฉิน
26 นางสาวชุลีภรณ์ ทองธรรมชาติ พี่เลี้ยงเด็กพิการ
27 นางสาวปราณี ภูมิลา พี่เลี้ยงเด็กพิการ
28 นางสาววรรณพร สกุลแพทย์ พี่เลี้ยงเด็กพิการ
29 นางรุ่งนภา ตันติชิราวดี พี่เลี้ยงเด็กพิการ
30 นางจิรภิญญา ร้อยทอง พี่เลี้ยงเด็กพิการ
31 นางสาวปฐมาภรณ์ ชาญเกียรติพงศา พี่เลี้ยงเด็กพิการ
32 นางสาววรรนภา บุบผาชาติ พี่เลี้ยงเด็กพิการ
33 นางสาวสมบูรณ์ วงษ์แดง พี่เลี้ยงเด็กพิการ
34 นางนดา พุฒซ้อน พี่เลี้ยงเด็กพิการ
35 นางธิดารัตน์ ทุยดอย พี่เลี้ยงเด็กพิการ
36 นางสาวศรินันท์ เจริญสุข พี่เลี้ยงเด็กพิการ
37 นางสาวสมพิศ เสมานิตย์ พี่เลี้ยงเด็กพิการ
38 นางสาวศรีไพร ถาวรชาติ จ้างเหมาบริการ
39 นางสาวปราณี วุฒิโรจน์ จ้างเหมาบริการ
40 นายเสน่ห์ กาญจนเกตุ จ้างเหมาบริการ
41 นายสุรชัย บรรดาล จ้างเหมาบริการ
๒๖
บัญชีเอกสารและทรัพย์สินที่ต้องขนย้ายของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร
ประจาจังหวัดนครนายก
ฝ่ายงาน รายการเอกสารและทรัพย์สิน หมายเหตุ
บริหารงานแผนงานและ
งบประมาณ
ตู้เซฟ จานวน 1 เครื่อง
คอมพิวเตอร์(CPU) จานวน 2 เครื่อง
เอกสารการเงินที่สาคัญ
ชุดอุปกรณ์ Token key จานวน 1 ชุด
เอกสารงานพัสดุที่สาคัญ
บริหารงานทั่วไป คอมพิวเตอร์(CPU) จานวน 1 เครื่อง
เอกสารทางราชการที่สาคัญ
กุญแจรวมศูนย์
เครื่องถ่ายเอกสาร จานวน 1 เครื่อง
อุปกรณ์ E - classroom จานวน 1 ชุด
บริหารงานบุคคล เอกสารงานบุคคล
คอมพิวเตอร์(CPU)
บริหารงานวิชาการ คอมพิวเตอร์ จานวน 1 เครื่อง
ทะเบียนนักเรียน
เครื่องถ่ายเอกสาร จานวน 1 เครื่อง
๒๗
 แบบขออนุญาตผู้บังคับบัญชาพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา 
สถานศึกษา..................................................
วัน เดือน ปี.....................................................................
เรื่อง การพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา
เรียน ............................................................................
ข้าพเจ้าอนุญาตนานักเรียน/นักศึกษา จานวน..................คน และครู/อาจารย์ควบคุม....................คน
โดยมี.................................................................... เป็นผู้ควบคุมไป เพื่อ.................................................................
ณ.......................................................จังหวัด...................................... เริ่มออกเดินทาง วันที่...............................
เดือน.......................................................... พ.ศ.................... เวลา......................น. และจะไปตามเส้นทางผ่าน
................................................................................. โดยพาหนะ................................................. จะพักค้างคืนที่
.......................................................... และกลับถึงสถานศึกษา วันที่.............เดือน..................................................
พ.ศ.................... เวลา......................น. ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น จานวน...................... บาท
การไปครั้งนี้ ได้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการพานักเรียน และนักศึกษา ไปนอก
สถานศึกษาแล้ว
ขอแสดงความนับถือ
(...........................................)
ตาแหน่ง.....................................................
๒๘
 แบบขออนุญาตผู้ปกครองพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา 
สถานศึกษา.....................................................................
วัน เดือน ปี......................................................................
เรื่อง การพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา
เรียน ............................................................................
ด้วย(ชื่อสถานศึกษา)............................................................มีความประสงค์จะขออนุญาตนา(ชื่อ
นักเรียน/นักศึกษา).......................................................................... ไปศึกษานอกสถานศึกษา ในการไปครั้งนี้
มีนักเรียน นักศึกษา จานวน................คน มีครู/อาจารย์ควบคุม....................คน โดยมี.............................................
เป็นผู้ควบคุมไป เพื่อ……………………………………………………………….………………………………………………......................
ณ.......................................................จังหวัด........................................... เริ่มออกเดินทาง วันที่...........................
เดือน.......................................................... พ.ศ.......................... เวลา......................น. และจะไปตามเส้นทางผ่าน
................................................................................. โดยพาหนะ....................................................... จะพักค้างคืนที่
.......................................................... และกลับถึงสถานศึกษา วันที่.............เดือน..................................................
พ.ศ.................... เวลา......................น. ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น จานวน...................... บาท
จึงเรียนมาเพื่อขออนุญาตนา(ชื่อนักเรียน/นักศึกษา).............................................ไปศึกษานอกสถานศึกษา
ขอแสดงความนับถือ
(...........................................)
ตาแหน่ง.....................................................
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
โปรดกรอกข้อความข้างล่างนี้และส่งกลับคืนสถานศึกษา
ข้าพเจ้า............................................................ผู้ปกครองของ
..........................................................................
( ) อนุญาต ( )ไม่อนุญาต ให้...........................................................................ไปศึกษานอกสถานศึกษาในครั้ง
นี้
ลงชื่อ............................................................................ผู้ปกครอง
๒๙
 แบบรายงานผลการพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา 
สถานศึกษา..........................................................
วัน เดือน ปี....................................................................
เรื่อง การพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา
เรียน ............................................................................
ตามที่ข้าพเจ้าได้รับอนุญาตให้นานักเรียน/นักศึกษา มีจานวน..................คน และครู/
อาจารย์ควบคุม....................คน โดยมี............................................................................................. เป็นผู้ควบคุมไป
เพื่อ..............................................................................................................................................................................
ณ.......................................................จังหวัด...................................... เริ่มออกเดินทาง วันที่...............................
เดือน.......................................................... พ.ศ.................... เวลา......................น. และจะไปตามเส้นทางผ่าน
................................................................................. โดยพาหนะ...................................................... จะพักค้างคืนที่
.......................................................... และกลับถึงสถานศึกษา วันที่.............เดือน..................................................
พ.ศ.................... เวลา......................น. นั้น
การพานักเรียนและนักศึกษาไปครั้งนี้ เป็นไปด้วยความ (เรียบร้อยหรือไม่เรียบร้อย ให้ชี้แจงโดย
ละเอียด)......................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
......
ขอแสดงความนับถือ
(...........................................)
ตาแหน่ง.....................................................
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์krutitirut
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04Prachoom Rangkasikorn
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่Sopa
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 

Was ist angesagt? (20)

แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 

Ähnlich wie มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา

Chanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programChanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programguestd73ff2
 
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. Pongsatorn Sirisakorn
 
1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchanssuserea9dad1
 
วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์สพป.นว.1
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...Poramate Minsiri
 
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41สำเร็จ นางสีคุณ
 
20160913101610 file
20160913101610 file20160913101610 file
20160913101610 filePeachy Man
 

Ähnlich wie มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา (9)

Chanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programChanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami program
 
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
 
1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan
 
วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
 
Po345 (final)
Po345 (final)Po345 (final)
Po345 (final)
 
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
 
20160913101610 file
20160913101610 file20160913101610 file
20160913101610 file
 

Mehr von Yui Yuyee

ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12
ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12
ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12Yui Yuyee
 
งวดที่ 11
งวดที่ 11งวดที่ 11
งวดที่ 11Yui Yuyee
 
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60Yui Yuyee
 
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษามาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษาYui Yuyee
 
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษามาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษาYui Yuyee
 
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59วารสาร พ.ย. ธ.ค.59
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59Yui Yuyee
 
วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59Yui Yuyee
 
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559วารสาร ก.ค. ส.ค.2559
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559Yui Yuyee
 
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59วารสาร พ.ค. มิ.ย.59
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59Yui Yuyee
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559Yui Yuyee
 
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559Yui Yuyee
 

Mehr von Yui Yuyee (12)

ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12
ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12
ข้อมูลงบทดลองประจำงวดที่12
 
งวดที่ 11
งวดที่ 11งวดที่ 11
งวดที่ 11
 
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
ข้อมูลงบทดลองประจำเดือน ก.ค.60
 
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษามาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
 
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษามาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
มาตรการการป้องกันโรคติดต่อในสถานศึกษา
 
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59วารสาร พ.ย. ธ.ค.59
วารสาร พ.ย. ธ.ค.59
 
วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59
 
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559วารสาร ก.ค. ส.ค.2559
วารสาร ก.ค. ส.ค.2559
 
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59วารสาร พ.ค. มิ.ย.59
วารสาร พ.ค. มิ.ย.59
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
 
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
 
Sar 2558
Sar 2558Sar 2558
Sar 2558
 

มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา

  • 2. ๒ คานา การรักษาความปลอดภัยและป้องกันบรรเทาสาธารณภัยเป็นภารกิจสาคัญและจาเป็นที่จะต้องมีการ เตรียมการรองรับสถานการณ์ไว้ตั้งแต่ตามปกติเพื่อป้องกันอันตราย หรือลดความเสียหายที่จะเกิดกับทั้งชีวิตและ ทรัพย์สินจากภัยที่ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติ เช่น อุทกภัย วาตภัย แผ่นดินไหวฯ หรือมีผู้ทาให้เกิดขึ้น เช่น การเกิด อัคคีภัยจากการใช้ไฟฟ้า การลอบวางเพลิง การลอบวางระเบิด ล้วนเป็นภัยที่ก่อให้เกิดอันตรายและความเสียหาย ต่อชีวิตและทรัพย์สินโดยส่วนรวมที่จะต้องดาเนินการหาวิธีป้องกันและระงับเหตุที่เกิดขึ้นโดยเร็วพร้อมทั้งความ ช่วยเหลือตลอดจนการรักษาความสงบเรียบร้อยเพื่อสถานการณ์เข้าสู่ภาวะปกติโดยเร็ว ทางศูนย์การศึกษาพิเศษ มหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก จึงตระหนักในความสาคัญในเรื่องความปลอดภัยของสถานศึกษาจึงได้ จัดทามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษาขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ดูแลความปลอดภัยผู้เรียน ด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ เช่น อุบัติเหตุจากอาคารเรียน อาคารประกอบ อุบัติเหตุจากบริเวณสถานศึกษา สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ต่างๆ การเดินทาง ไป – กลับ การพาผู้เรียนไปศึกษานอกสถานศึกษา การร่วมกิจกรรมสาคัญ อุบัติภัย เช่น อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ธรณีพิบัติภัย และปัญหาทางสังคม เช่น การล่วงละเมิดทางร่างกายและจิตใจ สารเสพติด การทะเลาะวิวาท การ ถูกล่อลวงการลักพา สื่อลามกอนาจาร อบายมุข ด้านสุขภาพอนามัยผู้เรียน รวมทั้งเพื่อลดความเสี่ยงจากอัคคีภัยที่ อาจจะเกิดขึ้นในศูนย์ฯ และเป็นการสร้างระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยให้เป็นไปอย่างมีระบบ ชัดเจน และสามารถ ปฏิบัติได้จริง สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาอัคคีภัยได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงจัดทามาตรการรักษาความ ปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษาของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด นครนายก ขึ้น ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
  • 3. ๓ สารบัญ หน้า นโยบายและการวางแผนการักษาความปลอดภัย 1 1. เป้าประสงค์ 1 2. เป้าหมาย 1 3. ยุทธศาสตร์ 1 การวางแผนรักษาความปลอดภัย 2 มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ อุบัติภัย และปัญหาทางสังคม 3 ด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ 3 1. อุบัติเหตุจากอาคารเรียนอาคารประกอบ 3 2. อุบัติเหตุจากบริเวณสถานศึกษา 3 3. อุบัติเหตุจากสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา 3 4. อุบัติเหตุจากเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ต่างๆ 4 5. อุบัติเหตุจากการเดินทาง ไป-กลับ ระหว่างบ้าน และสถานศึกษา 4 6. อุบัติเหตุจากการพา ผู้เรียนไปศึกษานอกสถานศึกษา 4 7. อุบัติเหตุจากการนา ผู้เรียนร่วมกิจกรรมสาคัญ 4 ด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย 5 1. อัคคีภัย 5 2. วาตภัย 5 3. อุทกภัย 5 4. ธรณีพิบัติภัย 5 ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคม 6 แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย 7 ๑.ความสาคัญของปัญหา 7 ๒. วัตถุประสงค์ของแผน 7 ๓. ขอบเขตของแผน 7 ๔. ข้อมูลของหน่วยงาน 8
  • 4. ๔ หน้า ๕. การปฏิบัติก่อนเกิดอัคคีภัย 9  การตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย 9  การรณรงค์ เผยแพร่ และเสริมสร้างความรู้ 10  การฝึกเพื่อทดสอบแผน 10  การเตรียมพร้อมสาหรับการอพยพหนีไฟ 10 ๖. การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัย 10  การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัยในเวลาราชการ 10 - การแจ้งเหตุเพลิงไหม้ 10 - การดับเพลิง 11 - การอพยพหนีไฟ 11  การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัยนอกเวลาราชการ 14 ๗. การปฏิบัติหลังเกิดอัคคีภัย 14 ๘. การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ 14  การอพยพหนีไฟ 15  เส้นทางการหนีไฟ 16 ภาคผนวก  ภาคผนวก ก บัญชีหน่วยงานติดต่อกรณีเกิดอัคคีภัย 16  ภาคผนวก ข แบบตรวจตราความปลอดภัย ๑7  ภาคผนวก ค แผนอพยพหนีไฟของหน่วยงาน ๑๘  ภาคผนวก ง บัญชีรายชื่อเจ้าหน้าที่ 20  ภาคผนวก จ บัญชีเอกสารและทรัพย์สินที่ต้องขนย้าย 22  ภาคผนวก ฉ แบบขออนุญาตผู้บังคับบัญชาพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา 23  ภาคผนวก ช แบบขออนุญาตผู้ปกครองพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา 24  ภาคผนวก ซ แบบรายงานผลการพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา 25  ภาคผนวก ฌ แบบรายงานเหตุการณ์พานักเรียน/นักศึกษา ไปนอกสถานศึกษา 26  ภาคผนวก ญ แบบประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรการประกันความปลอดภัย 27 ของนักเรียน  ภาคผนวก ฎ แบบสรุปผลการประเมินมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา 30  ภาคผนวก ฏ แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน 31  ภาคผนวก ฐ แนวทางการให้ระดับคุณภาพ 33
  • 5. ๕ มาตรการรักษาความปลอดภัยของผู้เรียนในสถานศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ******************* 1. นโยบายและการวางแผนการรักษาความปลอดภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด นครนายก ผู้เรียน คือ หัวใจของการจัดการศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายกมี ความตระหนักในความสาคัญ และเล็งเห็นความจาเป็นเร่งด่วนที่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย จะต้องร่วมกันหา แนวทางที่เป็นรูปธรรม ในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข เป็นไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตที่ จะดูแลตนเองให้ปลอดภัยท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม อุบัติเหตุ และอุบัติภัย ที่จะก่อให้เกิดความเสียหาย แก่ผู้เรียน ดังนั้นศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ซึ่งมีภารกิจและความรับผิดชอบใน การจัดการศึกษา ต้องดาเนินการอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล 1) เป้าประสงค์ (1) เพื่อให้มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ด้านอุบัติเหตุ ด้านอุบัติภัย และด้านปัญหาทางสังคม โดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ ภายใต้หลักการกระจายอานาจ การมีส่วนร่วม และยึดประโยชน์สูงสุดของผู้เรียนเป็นสาคัญ (2) เพื่อสร้างความเข้มแข็งระบบการรักษาความปลอดภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิริน ธร ประจาจังหวัดนครนายก ให้มีความพร้อม สามารถป้องกัน และแก้ไขสถานการณ์ปัญหาของผู้เรียน ทั้งด้าน อุบัติเหตุ อุบัติภัย และปัญหาทางสังคมที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการปกป้อง และคุ้มครองความปลอดภัย ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ โดยผู้เรียนจะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข (4) เพื่อสร้างความตระหนักในการรักษาความปลอดภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่ผู้ที่รับผิดชอบ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการรักษา ความปลอดภัยในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก 2) เป้าหมาย (1) ผู้เรียนทุกคนในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ได้รับการ คุ้มครองดูแลความปลอดภัย (2) ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองผู้เรียนมีแนวทางใน การป้องกันและรักษาความปลอดภัยผู้เรียน (3) เครือข่ายหน่วยงานภาครัฐและเอกชน มีส่วนร่วมในการดูแลความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน 3) ยุทธศาสตร์ (1) ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก จัดระบบการรักษาความ ปลอดภัยของผู้เรียน โดยการมีส่วนร่วมของ ครู ผู้ปกครอง และเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างมีประสิทธิภาพ (2) กาหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยของผู้เรียน (3) มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน
  • 6. ๖ 2. การวางแผนรักษาความปลอดภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก แนวทางการวางแผนการรักษาความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน เน้นการมีส่วนร่วมระหว่างผู้เรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่าย โดยร่วมกันวางแผนป้องกัน แก้ไข ควบคุม กากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน จึงจาเป็นต้องมีมาตรการและกิจกรรมเพื่อให้รับประโยชน์สูงสุดตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 และพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 พร้อมทั้งนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ ขั้นตอน ภารกิจ 1.ศึกษาสภาพทั่วไป ศึกษาสภาพทั่วไปของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด นครนายก ชุมชน ความเข้มแข็งของเครือข่ายเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการ เกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย และภัยจากสภาพแวดล้อม 2.กาหนดมาตรการหลัก กาหนดมาตรการหลักเพื่อป้องกัน และ/หรือ แก้ไข 3.กาหนดมาตรการเสริม กาหนดมาตรการเสริมให้เหมาะสมกับความเชื่อวัฒนธรรมและประเพณีของ ท้องถิ่น และสภาพความเสี่ยงของท้องถิ่น 4.กาหนดกิจกรรม กาหนดกิจกรรมสนับสนุนมาตรการหลักและมาตรการเสริม 5.กาหนดเวลาและ ผู้รับผิดชอบ กาหนดเวลาและผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน และสามารถปฏิบัติได้
  • 7. ๗ 3. มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ อุบัติภัย และปัญหาทางสังคม สาเหตุ มาตรการป้องกันและแก้ไข ผู้รับผิดชอบ ด้านการป้องกันและ แก้ไขอุบัติเหตุ 1. อุบัติเหตุจากอาคาร เรียนอาคารประกอบ 1. ตรวจสอบโครงสร้างและส่วนประกอบอาคารอย่างสม่าเสมอ 2. แต่งตั้งบุคลากรในการดูแลรักษาอาคารสถานที่ 3. สร้างความตระหนักและให้ความรู้การรักษาความปลอดภัย แก่ผู้เรียน 4. จัดทาป้ายข้อควรระวังด้านความปลอดภัยในจุดอันตราย 5. ซ่อมแซมส่วนประกอบอาคารให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย 6. จัดให้มีแผนการป้องกันและการเคลื่อนย้ายกรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉิน 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครูประจาชั้น 3. นักการภารโรง 4. ผู้ปกครอง 5. ชุมชน 2. อุบัติเหตุจากบริเวณ สถานศึกษา 1. แต่งตั้งครูเวรประจาวันคอยควบคุม กากับ ติดตามดูแลการ รักษาความปลอดภัยตลอดทั้งวัน 2. จัดให้มีผู้รับผิดชอบปฐมพยาบาลเบื้องต้น และนาส่ง สถานพยาบาล 3. หลีกเลี่ยงการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปีนต้นไม้ 4. จัดให้มีเจ้าหน้าที่ตัดแต่งกิ่งไม้ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยเสมอ 5. จัดให้ป้ายคาเตือนเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ 6. จัดให้มีความรู้และแนวทางปฏิบัติแก่ผู้เรียนในกรณีที่พบวัตถุ สิ่งแปลกปลอม ซึ่งอาจเป็นวัตถุระเบิดหรือวัตถุอันตราย 7. ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง 8. จัดให้มีระบบการขออนุญาตออกนอกสถานศึกษา 9. จัดให้มีการบารุงดูแลรักษาความสะอาดโดยรอบสม่าเสมอ 10. จัดให้มีถังขยะแยะประเภทเพื่อสะดวกในการจัดเก็บและ ทาลาย 11. หลีกเลี่ยงการจัดซื้ออุปกรณ์กีฬาหรือเครื่องเล่นที่อาจ ก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครูเวรประจาวัน 3. ครูอนามัย 4. นักการภารโรง 5. เจ้าหน้าที่สถานี อนามัย 6. ผู้เรียน 7. ผู้ปกครอง 3. อุบัติเหตุจาก สภาพแวดล้อมของ สถานศึกษา 1. มีการสารวจสภาพปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม มลภาวะใน สถานศึกษาและชุมชน เพื่อหาแนวทางแก้ไข 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ โดยใช้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการหาแนวทางป้องกันและแก้ไข 3. ประสานงานกับหน่วยงานอื่น 4. จัดกิจกรรมสร้างจิตสานึกและความตระหนักต่อปัญหา สิ่งแวดล้อมให้กับผู้เรียน บุคลากรในสถานศึกษาและชุมชน 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครู 3. ผู้เรียน 4. ผู้ปกครอง 5. ชุมชน
  • 8. ๘ สาเหตุ มาตรการป้องกันและแก้ไข ผู้รับผิดชอบ 4. อุบัติเหตุจาก เครื่องมือ เครื่องใช้ และ อุปกรณ์ ต่างๆ 1. ตรวจสอบเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ต่างๆ ก่อนใช้ทุกครั้ง 2. ห้ามใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ต่างๆที่ชารุด 3. แนะนา สาธิต และควบคุมการใช้อย่างถูกวิธีตามประเภท ของอุปกรณ์ 4. จัดเก็บเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ในที่เก็บทุกครั้งอย่างเป็น ระเบียบปลอดภัย 5. กากับ ดูแลผู้เรียนในการใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ให้ ถูกต้องเหมาะกับประเภทกิจกรรม 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครู 3. นักการภารโรง 4. ผู้เรียน 5. ผู้ปกครอง 6. ชุมชน 5. อุบัติเหตุจากการ เดินทาง ไป-กลับ ระหว่างบ้าน และ สถานศึกษา 1. สถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน ร่วมมือกันกาหนด มาตรการรับ-ส่งผู้เรียนตอนเช้าและเลิกเรียน 2. กากับ ดูแลผู้เรียนที่ใช้จักรยานให้ชิดทางซ้ายและเป็นแถว 3. จัดครูเวรประจาวันตรวจเช็คผู้เรียนที่มีผู้ปกครองมารับ 4. แนะนาการเดินแถวกลับบ้านและให้พี่ดูแลน้อง 5. ทากิจกรรมเกี่ยวกับการฝึกปฏิบัติตามกฎจราจร 6. จัดครูเวรและผู้เรียนคอยรับ-ส่งผู้เรียนที่ประตูเข้าออก 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครู 3. นักการภารโรง 4. ผู้เรียน 5. ผู้ปกครอง 6. ชุมชน 6. อุบัติเหตุจากการพา ผู้เรียนไปศึกษานอก สถานศึกษา 1. ศึกษาและปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย การพาผู้เรียนไปศึกษานอกสถานศึกษาโดยเคร่งครัด 2. เตรียมการและวางแผนการดาเนินการอย่างชัดเจน 3. จัดทาประวัติผู้เรียนที่ร่วมเดินทาง 4. จัดครูคอยควบคุม ดูแลให้อยู่ในระเบียบวินัย 5. จัดให้มีป้ายชื่อแสดงรายละเอียดผู้เรียน 6. จัดให้มีเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 7. ควบคุมดูแลการซื้ออาหารรับประทาน 8. หากมีการใช้พาหนะรถยนต์ต้องแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจสภาพ รถยนต์และตรวจประวัติคนขับเพื่อความปลอดภัย 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครูประจาชั้น 3. นักการภารโรง 4. ผู้ปกครอง 5. ชุมชน 6. ผู้เรียน 7. อุบัติเหตุจากการนา ผู้เรียนร่วมกิจกรรม สาคัญ 1. หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย 2. จัดระบบดูแลความปลอดภัยอย่างใกล้ชิด 3. ให้ความรู้ผู้เรียนในการร่วมกิจกรรมอย่างปลอดภัยทุกครั้ง 4. จัดครูคอยควบคุม ดูแลให้อยู่ในระเบียบวินัยทุกครั้ง 5. ตรวจดูความเหมาะสมของสถานที่ที่ปลอดภัย 6. ประสานงานเจ้าหน้าด้านการรักษาความปลอดภัยท้องถนน 7. จัดเตรียมหน่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้นทุกครั้ง 8. หากมีการใช้พาหนะรถยนต์ต้องแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจสภาพ รถยนต์ และตรวจประวัติคนขับเพื่อความปลอดภัย 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครูประจาชั้น 3. นักการภารโรง 4. ผู้ปกครอง 5. ชุมชน 6. เจ้าหน้าที่ตารวจ 7. ผู้เรียน
  • 9. ๙ สาเหตุ มาตรการป้องกันและแก้ไข ผู้รับผิดชอบ ด้านการป้องกันและ แก้ไขอุบัติภัย 1. อัคคีภัย 1. แต่งตั้งกรรมการรับผิดชอบตรวจสอบอุปกรณ์อย่าง สม่าเสมอ 2. ให้ความรู้ผู้เรียนเกี่ยวกับการดับไฟ หนีไฟ 3. จัดให้มีเจ้าหน้าที่อยู่เวรรักษาสถานที่ราชการอย่างเคร่งครัด 4. วางแผนรับสถานการณ์ไว้ล่วงหน้า 5. จัดแหล่งข้อมูลที่สามารถติดต่อขอความช่วยเหลือไว้ ล่วงหน้า 6. ขจัดสิ่งรกรุงรังในบริเวณสถานศึกษา อาคารและห้องต่างๆ 7. รายงานต้นสังกัดทันที 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครูประจาชั้น 3. นักการภารโรง 4. ผู้ปกครอง 5. ชุมชน 6. เจ้าหน้าที่ตารวจ 7. ผู้เรียน 2. วาตภัย 1. ให้ความรู้ในการปฏิบัติตนแก่ผู้เรียนให้พ้นจากอันตราย 2. จัดให้มีการอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการ 3. ตรวจสอบสภาพอาคารต่างๆอย่างสม่าเสมอ 4. ตัดแต่งกิ่งไม้ที่อยู่ใกล้อาคาร 5. ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศสม่าเสมอ 6. จัดให้มีเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 7. จัดให้มีเครือข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถติดต่อขอ ความช่วยเหลือทันที 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครูประจาชั้น 3. นักการภารโรง 4. ผู้ปกครอง 5. ชุมชน 6. ผู้เรียน 3. อุทกภัย 1. ให้ความรู้ในการปฏิบัติตนแก่ผู้เรียนให้พ้นจากอันตราย 2. จัดให้มีการอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการ 3. ตรวจสอบสภาพอาคารต่างๆอย่างสม่าเสมอ 4. ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศสม่าเสมอ 5. จัดให้มีเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 6. จัดให้มีเครือข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถติดต่อขอ ความช่วยเหลือทันที 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครูประจาชั้น 3. นักการภารโรง 4. ผู้ปกครอง 5. ชุมชน 6. ผู้เรียน 4. ธรณีพิบัติภัย 1.ให้ความรู้ในการปฏิบัติตนแก่ผู้เรียนให้พ้นจากอันตราย 2.จัดให้มีการอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการ 3.ตรวจสอบสภาพอาคารต่างๆอย่างสม่าเสมอ 4.ตัดแต่งกิ่งไม้ที่อยู่ใกล้อาคาร 5.ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศสม่าเสมอ 6.จัดให้มีเวชภัณฑ์ที่จาเป็นในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 7.จัดให้มีเครือข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถติดต่อขอ ความช่วยเหลือทันที 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครูประจาชั้น 3. นักการภารโรง 4. ผู้ปกครอง 5. ชุมชน 6. ผู้เรียน
  • 10. ๑๐ ด้านการป้องกันและ แก้ไขปัญหาทางสังคม 1. จัดให้มีระบบดูและช่วยเหลือผู้เรียน 2. จัดให้มีการอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการ 3. จัดให้มีการวางแผนป้องกันภัย 4. จัดให้การบริการให้คาปรึกษา 5. จัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะในการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา 6. จัดให้มีป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับสื่อต่างๆ 7. จัดให้มีเครือข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถติดต่อขอ ความช่วยเหลือทันที 8. จัดประชุมผู้ปกครองเพื่อหาแนวทางวางแผนป้องกันและ แก้ไข 1. ผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ 2. ครูประจาชั้น 3. นักการภารโรง 4. ผู้ปกครอง 5. ชุมชน 6. ผู้เรียน
  • 11. ๑๑ แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ๑. ความสาคัญของปัญหา ด้วยแผนแม่บทพัฒนาความปลอดภัยด้านอัคคีภัยแห่งชาติ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ให้เป็นแผนหลักในการบริหารจัดการอัคคีภัยจึงได้กาหนดให้มีการจัดทาแผนฉุกเฉินและการ ฝึกซ้อมแผนร่วมประจาทุกปีและกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.๒๕๕๕ ซึ่งออก ตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.๒๕๕๔ กาหนดให้ ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และกิจการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงจัดให้มี มาตรฐาน ในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานใน หน่วยงานของตนไม่ต่ากว่ามาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยการ ดาเนินงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยกาหนดให้นายจ้างจัดให้มีระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถาน ประกอบกิจการ เช่น จัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ประกอบด้วยการตรวจตรา การอบรม การรณรงค์ ป้องกันอัคคีภัย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ และการบรรเทาทุกข์ ฯลฯ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ กาหนดให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจทุกแห่งถือปฏิบัติตามมาตรการ และแนวทางในการป้องกันการเกิดอัคคีภัยในสถานที่ราชการ หน่วยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ โดยการจัดทา แผนหรือมาตรการป้องกันและระงับอัคคีภัย อุบัติภัยขึ้นภายในหน่วยงาน จัดให้มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ตาม หลักสูตรการดับเพลิงเบื้องต้น และให้มีการฝึกซ้อมแผนให้เป็นไปตามแผนของแต่ละหน่วยงานที่จัดทาขึ้น ๒. วัตถุประสงค์ของแผน ๒.๑ เพื่อกาหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากรศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด นครนายก ในการป้องกันและระงับอัคคีภัยให้ชัดเจน ๒.๒ เพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจา จังหวัดนครนายก ๒.๓ เพื่อสร้างความมั่นใจในเรื่องความปลอดภัยจากอัคคีภัยต่อบุคลากร ๓. ขอบเขตของแผน แผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ฉบับนี้ใช้ในการป้องกันและระงับอัคคีภัยเบื้องต้นที่อาจจะเกิดขึ้นในบริเวณศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายกทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ ซึ่งหากอัคคีภัยที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงจนเกินขีด ความสามารถในการควบคุมให้การปฏิบัติเป็นไปตามอานาจหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • 12. ๑๒ ๔. ข้อมูลของหน่วยงาน ๔.๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับหน่วยงาน ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก เนื้อที่ 2 ไร่ 1 งาน ๗๕ ตารางวา เป็นอาคารชั้นเดียว จานวน 2 หลัง หมายเหตุ หมายเลข 1 ห้องผู้อานวยการ หมายเลข 2 ห้องแผนงานและงบประมาณ หมายเลข 3 ห้องวิชาการ หมายเลข 4 ห้องกระตุ้นพัฒนาการ หมายเลข 5 ห้องบกพร่องทางการเห็น หมายเลข 6 ห้องสติปัญญา 2 หมายเลข 7 ห้องสติปัญญา 1 หมายเลข 8 ห้องออทิสติก หมายเลข 9 ห้องฝึกอาชีพ หมายเลข 10 ห้องกายภาพบาบัด หมายเลข 11 ห้องฝึกพูด หมายเลข 12 ห้องธุรการ ห้องน้า ถังดับเพลิง จุดรวมพล ทางหนีไฟ ทางหนีไฟ ทางหนีไฟ ทางหนีไฟ
  • 13. ๑๓ ปัจจัยเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอัคคีภัย ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร จังหวัดนครนายก ประกอบไปด้วยอาคารสาคัญ ๓ อาคาร ได้แก่ ๑. อาคารเรียน เป็นอาคารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยมากที่สุด แบ่งเป็น ๓ ห้อง ประกอบด้วย ๑.๑ ห้องวิชาการ เป็นที่ตั้งของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 1 ชุด เครื่องวิทยุสื่อสาร ๒ เครื่อง อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น พัดลม เครื่องถ่ายเอกสาร แอร์คอนดิชันเนอร์ และเอกสารต่างๆ ๑.๒ ห้องแผนและงบประมาณ เป็นที่ตั้งของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 2 ชุด อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น พัดลม เครื่องปรับอากาศ และเอกสารต่างๆ ๑.๓ ห้องประชุม เป็นที่ตั้งของเครื่องฉายแสง พัดลม และเครื่องถ่ายเอกสาร ๒. อาคารห้องสมุด เป็นที่จัดเก็บหนังสือต่างๆ อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น เครื่องฉายแสง พัดลม เครื่องปรับอากาศ ๓. โรงครัว เป็นโรงประกอบอาหาร เป็นอาคารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยน้อยที่สุด ๔.๒ ข้อมูลบุคลากร ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร จังหวัดนครนายก ประกอบบุคลากร จานวน 41 คน ผู้ชาย 7 คน ผู้หญิง 34 คน แยกเป็น ข้าราชการ ๑0 คน พนักงานราชการ ๙ คน ครูธุรการ ๑ คน พี่เลี้ยงเด็ก พิการ 17 คน และจ้างเหมาบริการ 4 คน ๔.๓ ข้อมูลเครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย ๑. ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ขนาด ๑๕ ปอนด์ จานวน ๖ ถัง ๑.๑ ติดตั้งด้านหน้าอาคารห้องสมุด จานวน 3 ถัง ๑.๒ ติดตั้งบริเวณอาคารเรียน จานวน 3 ถัง ๕. การปฏิบัติก่อนเกิดอัคคีภัย ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายกได้ดาเนินมาตรการ/กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อ ป้องกันและเตรียมพร้อมเผชิญเหตุการณ์อัคคีภัยไว้ล่วงหน้า เพื่อเป็นการลดความรุนแรงและลดความสูญเสียที่ อาจจะเกิดขึ้น โดยมีมาตรการ/กิจกรรมที่ดาเนินการ ดังนี้ ๕.๑ การตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย ฝ่ายบริหารงานทั่วไป เป็นส่วนรับผิดชอบหลักในการตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัยของ ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก เช่น สายและปลั๊กไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ โดย ดาเนินการดังนี้ - มอบหมาย นายอภิวัชร์ บัวเจริญ ตาแหน่ง พนักงานราชการ หมายเลขโทรศัพท์ 08-1144-5597 เป็นเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการตรวจความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษ มหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก - มอบหมาย ผู้ปฏิบัติหน้าที่เวรกลางคืน เป็นเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการตรวจความปลอดภัยเกี่ยวกับ อัคคีภัยของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก
  • 14. ๑๔ - จัดทาแบบฟอร์มการตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย(รายละเอียดตามแบบตรวจตรา ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย ตามภาคผนวก ข) - สารวจตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัยในบริเวณศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ว่าพร้อมใช้งานหรือไม่ - จัดทารายงานผลการตรวจตราความปลอดภัยให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ทั้งนี้ หากพบข้อบกพร่อง หรือใช้งานไม่ได้ ให้เสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อสั่งการให้ปรับปรุงแก้ไขโดยด่วน ๕.๒ การรณรงค์ เผยแพร่ และเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย มอบหมายให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป เป็นส่วนรับผิดชอบหลักในการจัดกิจกรรม/โครงการ ในการ รณรงค์ เผยแพร่ และเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยแก่บุคลากรของศูนย์การศึกษาพิเศษ มหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก เช่น วิธีการแจ้งเหตุเพลิงไหม้ การใช้อุปกรณ์ดับเพลิงเบื้องต้น การ อพยพหนีไฟ การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยเมื่อต้องเผชิญเหตุเพลิงไหม้ ฯลฯ ๕.๓ การฝึกเพื่อทดสอบแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในสานักงานฯ - มอบหมายให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป เป็นส่วนรับผิดชอบหลักในการฝึกเพื่อทดสอบแผนป้องกัน และระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก - มอบหมายงานรักษาความปลอดภัย เป็นส่วนรับผิดชอบหลักในการประเมินผลการฝึกเพื่อ ทดสอบแผนดังกล่าวและประมวลข้อมูล ส่งให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไปใช้ประกอบในการปรับปรุง ทบทวน และ แก้ไขแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก โดยทา การฝึกทดสอบแผนอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง หรือ เป็นประจาทุกเดือน ๕.๔ การเตรียมพร้อมสาหรับการอพยพหนีไฟ ๑. จัดทาแผนการอพยพหนีไฟของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก โดยกาหนดผู้นาการอพยพ ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ เส้นทางหนีไฟ จุดรวมพล จุดรองรับการอพยพ สัญลักษณ์ สาหรับใช้นาการอพยพ ข้อปฏิบัติในการอพยพ ฯลฯ (รายละเอียดตามแผนอพยพหนีไฟ ตามภาคผนวก ค) ๒. จัดทาบัญชีรายชื่อเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด นครนายก สาหรับใช้ในการตรวจสอบยอดผู้อพยพ โดยให้มีการปรับปรุงบัญชีรายชื่อเจ้าหน้าที่ให้เป็นปัจจุบัน อยู่ เสมอ (รายละเอียดตามบัญชีรายชื่อเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในสานักงาน ฯ ตามภาคผนวก ง) ๓. จัดทาบัญชีเอกสารและทรัพย์สินสาคัญทางราชการที่ต้องขนย้ายเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ (รายละเอียดตามบัญชีเอกสารและทรัพย์สิน ฯ ที่ต้องขนย้าย ตามภาคผนวก จ) ๔. มอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการขนย้ายและเก็บรักษาทรัพย์สิน เอกสารและทรัพย์สิน สาคัญของทางราชการตามบัญชีที่จัดทาขึ้น (รายละเอียดตามบัญชีเอกสารและทรัพย์สิน ฯ ที่ต้องขนย้าย ตาม ภาคผนวก จ) ๖. การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัย ๖.๑ การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัยในเวลาราชการ ๖.๑.๑ การแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ๑. ให้ผู้พบเห็นเหตุการณ์คนแรกตัดสินใจว่าสามารถดับเพลิงได้ด้วยตนเองหรือไม่ หากไม่สามารถดับเพลิงได้ตนเอง ให้แจ้งเหตุเพลิงไหม้ไปยังเทศบาลเมืองนครนายก หมายเลขโทรศัพท์ ๑๙๙ หรือ ๐-๓๗๓๑-๑๐๘๘
  • 15. ๑๕ ๒. ให้ผู้บริหารศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายกเป็น ผู้อานวยการดับเพลิง ตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจา จังหวัดนครนายก 6.1.2 การดับเพลิง ๑. ให้ผู้พบเห็นเหตุการณ์คนแรก เข้าทาการดับเพลิงด้วยถังดับเพลิงทันที พร้อมทั้ง ร้องขอความช่วยเหลือไปยังเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานอยู่ใกล้เคียงเข้าช่วยเหลือ ๒. แจ้งผู้บริหารศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายกหรือผู้ได้รับ มอบหมาย เข้าบัญชาการเหตุการณ์ในฐานะผู้อานวยการดับเพลิง ๓. หากเพลิงไหม้มีความรุนแรงลุกลามจนเกินขีดความสามารถในการควบคุม ให้แจ้งเหตุเพลิงไหม้ไปยังเทศบาลเมืองนครนายก หมายเลขโทรศัพท์ ๑๙๙ หรือ ๐-๓๗๓๑-๑๐๘๘ พร้อมทั้ง สั่ง การให้อพยพหนีไฟตามแผนอพยพหนีไฟที่จัดทาไว้ ๖.๑.๓ การอพยพหนีไฟ ๑. หากเพลิงไหม้มีความรุนแรงลุกลามจนเกินขีดความสามารถในการควบคุม ให้ ผู้อานวยการดับเพลิงเป็นผู้สั่งการให้อพยพหนีไฟตามแผนอพยพหนีไฟ ๒. เมื่อผู้อานวยการดับเพลิงได้สั่งการอพยพหนีไฟ ให้ผู้นาอพยพ (ตามที่กาหนดไว้ในแผน อพยพหนีไฟ) นาอพยพเจ้าหน้าที่ไปตามเส้นทางอพยพที่กาหนดไปยังจุดรวมพลโดยเร็ว ๓. ให้ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ (ตามที่กาหนดไว้ในแผนอพยพหนีไฟ) ทาการตรวจสอบ ยอดจานวนเจ้าหน้าที่ ณ จุดรวมพล หากไม่ครบถ้วนให้รายงานผู้อานวยการดับเพลิง สั่งการให้เข้าทาการค้นหา ผู้ที่อาจติดค้างอยู่ในพื้นที่เกิดเหตุ ๔. หากค้นพบผู้ได้รับบาดเจ็บให้รายงานผู้บัญชาการเหตุการณ์ทันที พร้อมทั้ง ช่วยเหลือ ผู้บาดเจ็บมายังจุดปฐมพยาบาล หากมีผู้ได้รับบาดเจ็บรุนแรงให้ส่งต่อไปยังโรงพยาบาลนครนายก ๕. เมื่อเพลิงสงบให้ผู้อานวยการดับเพลิงสั่งการให้เจ้าหน้าที่อพยพกลับ
  • 16. ๑๖ แผนภาพ : การอพยพหนีไฟ พบผู้บาดเจ็บ บาดเจ็บรุนแรง ครบ ไม่ครบ ผู้อานวยการดับเพลิงสั่งการให้มีการอพยพหนีไฟ ผู้นาอพยพนาอพยพเจ้าหน้าที่ไปยังจุดรวมพล และทาการตรวจสอบยอดจานวนเจ้าหน้าที่ ชุดเผชิญเหตุเข้าค้นหาผู้ที่อาจ ติดค้างในพื้นที่เกิดเหตุ ส่งต่อโรงพยาบาลใกล้เคียงทันที (โรงพยาบาลนครนายก) และแจ้งผู้อานวยการดับเพลิง ทราบโดยเร็ว ผู้อานวยการดับเพลิง สั่งการให้เจ้าหน้าที่ชุดเผชิญเหตุเข้า ค้นหาผู้ที่อาจติดค้างในพื้นที่เกิดเหตุ แจ้งผู้อานวยการดับเพลิงทันที พร้อมทั้ง ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ มายังจุดปฐมพยาบาล นาอพยพไปยัง จุดรองรับการอพยพ เพลิงสงบ ผู้อานวยการดับเพลิง สั่งการให้อพยพกลับ
  • 17. ๑๗ จุดรวมพล ทางหนีไฟ ทางหนีไฟ ทางหนีไฟ หมายเหตุ หมายเลข 1 ห้องผู้อานวยการ หมายเลข 2 ห้องแผนงานและงบประมาณ หมายเลข 3 ห้องวิชาการ หมายเลข 4 ห้องกระตุ้นพัฒนาการ หมายเลข 5 ห้องบกพร่องทางการเห็น หมายเลข 6 ห้องสติปัญญา 2 หมายเลข 7 ห้องสติปัญญา 1 หมายเลข 8 ห้องออทิสติก หมายเลข 9 ห้องฝึกอาชีพ หมายเลข 10 ห้องกายภาพบาบัด หมายเลข 11 ห้องฝึกพูด หมายเลข 12 ห้องธุรการ ห้องน้า ถังดับเพลิง เส้นทางการอพยพหนีไฟ
  • 18. ๑๘ ๖.๑ การปฏิบัติระหว่างเกิดอัคคีภัยนอกเวลาราชการ ให้เวรประจาวัน เป็นผู้รับผิดชอบในการแก้ไปปัญหาอัคคีภัยที่เกิดขึ้นในช่วงนอกเวลาราชการ ได้แก่ วันทาการระหว่างเวลา ๐๖.๓๐ – ๐๘.๓๐ น. วันหยุดราชการ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ ๑. กรณีพบเหตุเพลิงไหม้ ให้ตัดสินใจว่าสามารถดับเพลิงได้ด้วยตนเองหรือไม่ หากสามารถ ดับเพลิงได้ให้ทาการดับเพลิงเบื้องต้นทันที แล้วรายงานให้ผู้ตรวจเวรและผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษมหา จักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายกทราบ ๒. กรณี ไม่สามารถดับเพลิงได้ - ให้แจ้งเหตุเพลิงไหม้ไปยังเทศบาลเมืองนครนายก หมายเลขโทรศัพท์ ๑๙๙ หรือ ๐-๓๗๓๑- ๑๐๘๘ - แจ้งผู้ตรวจเวรและผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัด นครนายก ๗. การปฏิบัติหลังเกิดอัคคีภัย ๑. ให้กลุ่มงานพัสดุ รับผิดชอบดาเนินการรวบรวมข้อมูลความเสียหายที่เกิดขึ้น ต่อทรัพย์สินของทาง ราชการ แล้วรายงานให้ผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก เพื่อพิจารณา ฟื้นฟูบูรณะ ปรับปรุงหรือซ่อมแซมวัสดุอุปกรณ์ที่ได้รับความเสียหายจากอัคคีภัยที่เกิดขึ้น ๒. กรณีอัคคีภัยที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อทรัพยากรสาคัญ เช่น โต๊ะทางาน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จนทาให้เจ้าหน้าที่ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ ให้หน่วยงานถือปฏิบัติตามแผนบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน (Business Continuity Plan) ๘. การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ ๑. กาหนดผู้รับผิดชอบแต่ละภารกิจในการป้องกันและลดความเสี่ยงจากอัคคีภัยตามแผนป้องกันและ ระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก อย่างชัดเจน เช่น จัดทาคาสั่ง มอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการตรวจตรา ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย เป็นต้น ๒. กาหนดแนวทางการติดตามผลการดาเนินงานตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในศูนย์ การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก เช่น การแต่งตั้งคณะทางานติดตามผลการดาเนินงาน ตามแผนฯ เป็นต้น ๓. กาหนดให้มีการฝึกเพื่อทดสอบแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิ รินธร ประจาจังหวัดนครนายก ที่จัดทาขึ้น เพื่อนามาเป็นข้อมูลในการปรับ/แก้ไข/พัฒนาแผนป้องกันและระงับ อัคคีภัยภายในศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ให้สามารถนาไปใช้ได้จริงและมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ***************************
  • 20. ๒๐ บัญชีรายชื่อหน่วยงานติดต่อกรณีเกิดอัคคีภัย หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ ชื่อ-นามสกุลผู้ที่ติดต่อได้ กรณีเกิดอัคคีภัย แจ้งเหตุเพลิงไหม้ สายด่วนนิรภัย (ปภ.) ๑๗๘๔ เทศบาลเมืองนครนายก ๑๙๙ , ๐-๓๗๓๑-๑๐๘๘ เทศบาลตาบลท่าช้าง ๐-๓๗๓๑-๖๓๖๑ อบต.บ้านใหญ่ ๐-๓๗๓๒-๑๑๙๙ อบต.พรหมณี ๐-๓๗๓๒-๖๑๕๖ สถานีตารวจภูธรเมืองนครนายก ๑๙๑ , ๐-๓๗๓๑-๓๕๔๙ โรงพยาบาลนครนายก ๐-๓๗๓๑-๑๒๑๙ ศูนย์การแพทย์ฉุกเฉิน ๑๖๖๙ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคนครนายก ๐-๓๗๓๑-๒๐๗๙ การประปาส่วนภูมิภาคนครนายก ๐-๓๗๓๑-๑๐๐๕ มูลนิธิสว่างอริยะธรรมสถาน นครนายก ๐-๒๗๓๒-๐๐๙๖ มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งนครนายก ๐-๓๗๓๑-๑๐๕๕ มูลนิธิธรรมรัศมีมณีรัตน์นครนายก ๐-๓๗๓๑-๔๘๓๔ มูลนิธิร่วมกตัญญูนครนายก ๐-๓๗๓๒-๓๖๔๕
  • 21. ๒๑ แบบตรวจตราความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย หน่วยงาน ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ที่ รายการ จานวน ผลการตรวจตรา การปรับปรุง/แก้ไข หมายเหตุ เรียบร้อย ชารุด/ ใช้ งานไม่ได้ อยู่ระหว่าง ดาเนินการ ปรับปรุง/แก้ไข เรียบร้อย ๑ ปลั๊กต่างๆ 68 √ ๒ สวิตซ์ไฟฟ้า 34 √ ๓ กระติกน้าร้อน 2 √ ๔ คอมพิวเตอร์ 14 √ ๕ เครื่องปรับอากาศ 21 √ ๖ ถังดับเพลิง - ชนิดผงเคมีแห้ง - ชนิดก๊าซคาร์บอนได ออกไซด์(CO๒) 6 - √ ๗ อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) - ๘ อุปกรณ์แจ้งเตือน เพลิงไหม้ (Fire alarm) - ๙ เส้นทางหนีไฟ - ๑๐ ป้ายสื่อความหมายปลอดภัย เช่น ทางหนีไฟ ทางเข้า/ ทางออก ฯลฯ - ๑๑ อื่นๆ (โปรดระบุ).............. - ลงชื่อ..................................................ผู้ตรวจตรา (นายอภิวัชร์ บัวเจริญ) ตาแหน่ง พนักงานราชการ วันที่ตรวจตรา....... เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
  • 22. ๒๒ แผนอพยพหนีไฟของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ที่ ข้อกาหนดในการอพยพ รายละเอียด ๑ ผู้นาการอพยพ - ผู้นาการอพยพ นายชูเกียรติ จับเทียน ครู หมายเลขโทรศัพท์ 09-5873-3154 - ผู้นาการอพยพ (สารองคนที่ ๑) นายธนพล นกแก้ว ครูผู้ช่วย หมายเลขโทรศัพท์ 08-6794-0328 - ผู้นาการอพยพ (สารองคนที่ ๒) นายอุดมศักดิ์ สมบัติ พี่เลี้ยงเด็กพิการ หมายเลขโทรศัพท์ 08-3121-0648 ๒ ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ - ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ นายอภิวัชร์ บัวเจริญ หัวหน้างานรักษาความปลอดภัย หมายเลขโทรศัพท์ 08-1144-5597 - ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ (สารองคนที่ ๑) นางสาวประภาวรรณ พุมมา ครู หมายเลขโทรศัพท์ 08-9216-1712 - ผู้ตรวจสอบยอดผู้อพยพ (สารองคนที่ ๒) นางสาวดวงจิต สังข์คา ครู หมายเลขโทรศัพท์ 08-1846-6424 ๓ ผู้ทาหน้าที่ชุดปฐมพยาบาล - ผู้ทาหน้าที่ชุดปฐมพยาบาล นายศุภกิจ คงเพชรศักดิ์ รองผู้อานวยการ หมายเลขโทรศัพท์ 08-3164-5385 - ผู้ทาหน้าที่ชุดปฐมพยาบาล (สารองคนที่ ๑) นางสาวเสาวลักษณ์ บารุงกิจ พนักงานราชการ หมายเลขโทรศัพท์ 08-3074-6709 - ผู้ทาหน้าที่ชุดปฐมพยาบาล (สารองคนที่ ๒) นางสาวภาวิณี จันทร์แดง พนักงานราชการ หมายเลขโทรศัพท์ 08-4321-5648 ๔ เส้นทางอพยพหนีไฟ - เส้นทางที่ ๑ อาคารเรียน ใช้เส้นทางประตูทางเข้าด้านหน้าอาคารเรียน และออกไปยังจุดรวมพล หรือประตู ทางออกทางด้านหลัง และออกไปยังจุดรวมพล - เส้นทางที่ ๒ อาคารห้องสมุด ใช้เส้นทางประตูทางเข้าด้านหน้าอาคารห้องสมุด และออกไปยังจุดรวมพล ๕ จุดรวมพล บริเวณลานพระพุทธรูปด้านหน้าอาคารเรียน ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจา จังหวัดนครนายก
  • 23. ๒๓ ที่ ข้อกาหนดในการอพยพ รายละเอียด ๖ จุดรองรับการอพยพ บริเวณลานพระพุทธรูปด้านหน้าอาคารเรียน ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจา จังหวัดนครนายก ๗ สัญลักษณ์นาการอพยพ ๑) ใช้ธงสีเขียวอ่อนมีตัวอักษร ธงนาอพยพหนีไฟ เป็นสัญลักษณ์ สาหรับนาการอพยพ ๒) จุดติดตั้งธงที่ใช้ในการอพยพ - บริเวณหน้าและหลังอาคารเรียน - บริเวณหน้าอาคารห้องสมุด ๘ ข้อควรปฏิบัติในการ อพยพหนีไฟ - พยายามตั้งสติให้ดี ควบคุมอารมณ์ให้สงบ มั่นคง ไม่ตื่นตระหนก - ให้ใช้บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ - ขณะอพยพให้ใช้วิธีเดินเร็วชิดด้านขวาเป็นหลัก ห้ามวิ่งหรือเดินช้า - เชื่อฟังและปฏิบัติตามคาแนะนาของผู้นาอพยพอย่างเคร่งครัด - ห้ามขนสัมภาระใดๆ ติดตัวไปในขณะอพยพ ยกเว้นเงินและเอกสารสาคัญ - ระหว่างการอพยพห้ามเดินคุยเล่นกัน อย่าส่งเสียงเอะอะหรือเร่งให้คนที่อยู่ข้างหน้า เดินเร็วขึ้น อย่าผลัก อย่าดัน หรือแซงกัน - หากออกจากบันไดหนีไฟเป็นคนสุดท้ายให้ปิดประตูหนีไฟ เพื่อป้องกันควันไฟเข้าไป ในช่องบันไดหนีไฟ - เมื่อเดินทางออกมาภายนอกห้องแล้ว ห้ามเดินทางย้อนกลับเข้าไปที่ห้องอีก ไม่ว่า จะนึกเรื่องสาคัญอะไรขึ้นมาได้ก็ตาม
  • 24. ๒๔ บัญชีรายชื่อบุคลากรศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ประกอบด้วย ข้าราชการ จานวน 10 คน จาแนกตามเพศ ชาย 3 คน หญิง 7 คน พนักงานราชการ จานวน 9 คน ชาย 1 คน หญิง 8 คน ครูธุรการ จานวน 1 คน ชาย - คน หญิง 1 คน พี่เลี้ยงเด็กพิการ จานวน ๑7 คน ชาย 1 คน หญิง 16 คน จ้างเหมาบริการ จานวน 4 คน ชาย 2 คน หญิง 2 คน รวม จานวน 41 คน ชาย 7 คน หญิง 34 คน ที่ ชื่อ–สกุล ตาแหน่ง โทรศัพท์ กรุ๊ป เลือด โรค ประจาตัว บุคคลและเบอร์โทรศัพท์ ติดต่อกรณีฉุกเฉิน ๑ นางอาภัสรา ตังคกุลวิวิช ผู้อานวยการ ๒ นายศุภกิจ คงเพชรศักดิ์ รองผู้อานวยการ ๓ นางสาวประภาวรรณ พุมมา ครู ๔ นางสาวดวงจิต สังข์คา ครู ๕ นางธนิดา มีศรี ครู ๖ นางสาวทิพภาวีร์ โพธิ์ทอง ครู ๗ นางสาวจริยา บุตรทอง ครู ๘ นายชูเกียรติ จับเทียน ครู ๙ นางสาวนภสวรรณ์ ฤทธิ์เดช ครูผู้ช่วย 10 นายธนพล นกแก้ว ครูผู้ช่วย 11 นางสาวบุญยิ่ง กันหาวัน พนักงานราชการ 12 นายอภิวัชร์ บัวเจริญ พนักงานราชการ 13 นางสาวสุดารัตน์ แสงชมภู พนักงานราชการ 14 นางสาวชุติกาญน์ ดวงภูมฆ พนักงานราชการ 15 นางสาวเสาวลักษณ์ บารุงกิจ พนักงานราชการ 16 นางสาวหทัยวรรณ คังคายะ พนักงานราชการ 17 นางสาวภาวิณี จันทร์แดง พนักงานราชการ 18 นางสาวกวิสรา บุญเรือง พนักงานราชการ 19 นางสาวอัจฉรียาพร สุทธิคุณ พนักงานราชการ 20 นางสาวประวีณา พืชมงคลไชย ครูธุรการ 21 นางสาวพิชาพรณ์ สามล พี่เลี้ยงเด็กพิการ 22 นายอุดมศักดิ์ สมบัติ พี่เลี้ยงเด็กพิการ 23 นางสาวเกศินี สุดสวาท พี่เลี้ยงเด็กพิการ 24 นางสาวจิตาภา ดีเสงี่ยม พี่เลี้ยงเด็กพิการ 25 นางชาลิสา ประสพบุญ พี่เลี้ยงเด็กพิการ
  • 25. ๒๕ ที่ ชื่อ–สกุล ตาแหน่ง โทรศัพท์ กรุ๊ป เลือด โรค ประจาตัว บุคคลและเบอร์โทรศัพท์ ติดต่อกรณีฉุกเฉิน 26 นางสาวชุลีภรณ์ ทองธรรมชาติ พี่เลี้ยงเด็กพิการ 27 นางสาวปราณี ภูมิลา พี่เลี้ยงเด็กพิการ 28 นางสาววรรณพร สกุลแพทย์ พี่เลี้ยงเด็กพิการ 29 นางรุ่งนภา ตันติชิราวดี พี่เลี้ยงเด็กพิการ 30 นางจิรภิญญา ร้อยทอง พี่เลี้ยงเด็กพิการ 31 นางสาวปฐมาภรณ์ ชาญเกียรติพงศา พี่เลี้ยงเด็กพิการ 32 นางสาววรรนภา บุบผาชาติ พี่เลี้ยงเด็กพิการ 33 นางสาวสมบูรณ์ วงษ์แดง พี่เลี้ยงเด็กพิการ 34 นางนดา พุฒซ้อน พี่เลี้ยงเด็กพิการ 35 นางธิดารัตน์ ทุยดอย พี่เลี้ยงเด็กพิการ 36 นางสาวศรินันท์ เจริญสุข พี่เลี้ยงเด็กพิการ 37 นางสาวสมพิศ เสมานิตย์ พี่เลี้ยงเด็กพิการ 38 นางสาวศรีไพร ถาวรชาติ จ้างเหมาบริการ 39 นางสาวปราณี วุฒิโรจน์ จ้างเหมาบริการ 40 นายเสน่ห์ กาญจนเกตุ จ้างเหมาบริการ 41 นายสุรชัย บรรดาล จ้างเหมาบริการ
  • 26. ๒๖ บัญชีเอกสารและทรัพย์สินที่ต้องขนย้ายของศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจาจังหวัดนครนายก ฝ่ายงาน รายการเอกสารและทรัพย์สิน หมายเหตุ บริหารงานแผนงานและ งบประมาณ ตู้เซฟ จานวน 1 เครื่อง คอมพิวเตอร์(CPU) จานวน 2 เครื่อง เอกสารการเงินที่สาคัญ ชุดอุปกรณ์ Token key จานวน 1 ชุด เอกสารงานพัสดุที่สาคัญ บริหารงานทั่วไป คอมพิวเตอร์(CPU) จานวน 1 เครื่อง เอกสารทางราชการที่สาคัญ กุญแจรวมศูนย์ เครื่องถ่ายเอกสาร จานวน 1 เครื่อง อุปกรณ์ E - classroom จานวน 1 ชุด บริหารงานบุคคล เอกสารงานบุคคล คอมพิวเตอร์(CPU) บริหารงานวิชาการ คอมพิวเตอร์ จานวน 1 เครื่อง ทะเบียนนักเรียน เครื่องถ่ายเอกสาร จานวน 1 เครื่อง
  • 27. ๒๗  แบบขออนุญาตผู้บังคับบัญชาพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา  สถานศึกษา.................................................. วัน เดือน ปี..................................................................... เรื่อง การพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา เรียน ............................................................................ ข้าพเจ้าอนุญาตนานักเรียน/นักศึกษา จานวน..................คน และครู/อาจารย์ควบคุม....................คน โดยมี.................................................................... เป็นผู้ควบคุมไป เพื่อ................................................................. ณ.......................................................จังหวัด...................................... เริ่มออกเดินทาง วันที่............................... เดือน.......................................................... พ.ศ.................... เวลา......................น. และจะไปตามเส้นทางผ่าน ................................................................................. โดยพาหนะ................................................. จะพักค้างคืนที่ .......................................................... และกลับถึงสถานศึกษา วันที่.............เดือน.................................................. พ.ศ.................... เวลา......................น. ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น จานวน...................... บาท การไปครั้งนี้ ได้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการพานักเรียน และนักศึกษา ไปนอก สถานศึกษาแล้ว ขอแสดงความนับถือ (...........................................) ตาแหน่ง.....................................................
  • 28. ๒๘  แบบขออนุญาตผู้ปกครองพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา  สถานศึกษา..................................................................... วัน เดือน ปี...................................................................... เรื่อง การพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา เรียน ............................................................................ ด้วย(ชื่อสถานศึกษา)............................................................มีความประสงค์จะขออนุญาตนา(ชื่อ นักเรียน/นักศึกษา).......................................................................... ไปศึกษานอกสถานศึกษา ในการไปครั้งนี้ มีนักเรียน นักศึกษา จานวน................คน มีครู/อาจารย์ควบคุม....................คน โดยมี............................................. เป็นผู้ควบคุมไป เพื่อ……………………………………………………………….………………………………………………...................... ณ.......................................................จังหวัด........................................... เริ่มออกเดินทาง วันที่........................... เดือน.......................................................... พ.ศ.......................... เวลา......................น. และจะไปตามเส้นทางผ่าน ................................................................................. โดยพาหนะ....................................................... จะพักค้างคืนที่ .......................................................... และกลับถึงสถานศึกษา วันที่.............เดือน.................................................. พ.ศ.................... เวลา......................น. ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น จานวน...................... บาท จึงเรียนมาเพื่อขออนุญาตนา(ชื่อนักเรียน/นักศึกษา).............................................ไปศึกษานอกสถานศึกษา ขอแสดงความนับถือ (...........................................) ตาแหน่ง..................................................... ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ โปรดกรอกข้อความข้างล่างนี้และส่งกลับคืนสถานศึกษา ข้าพเจ้า............................................................ผู้ปกครองของ .......................................................................... ( ) อนุญาต ( )ไม่อนุญาต ให้...........................................................................ไปศึกษานอกสถานศึกษาในครั้ง นี้ ลงชื่อ............................................................................ผู้ปกครอง
  • 29. ๒๙  แบบรายงานผลการพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา  สถานศึกษา.......................................................... วัน เดือน ปี.................................................................... เรื่อง การพานักเรียน/นักศึกษาไปนอกสถานศึกษา เรียน ............................................................................ ตามที่ข้าพเจ้าได้รับอนุญาตให้นานักเรียน/นักศึกษา มีจานวน..................คน และครู/ อาจารย์ควบคุม....................คน โดยมี............................................................................................. เป็นผู้ควบคุมไป เพื่อ.............................................................................................................................................................................. ณ.......................................................จังหวัด...................................... เริ่มออกเดินทาง วันที่............................... เดือน.......................................................... พ.ศ.................... เวลา......................น. และจะไปตามเส้นทางผ่าน ................................................................................. โดยพาหนะ...................................................... จะพักค้างคืนที่ .......................................................... และกลับถึงสถานศึกษา วันที่.............เดือน.................................................. พ.ศ.................... เวลา......................น. นั้น การพานักเรียนและนักศึกษาไปครั้งนี้ เป็นไปด้วยความ (เรียบร้อยหรือไม่เรียบร้อย ให้ชี้แจงโดย ละเอียด)...................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ...... ขอแสดงความนับถือ (...........................................) ตาแหน่ง.....................................................