SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 66
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การจัดรูปแบบกิจกรรมและรณรงค์เลิกสูบบุหรี่
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
พว.สุทธินี สุดใจ รศ. ดรุณี ชุณหะวัต
คุณชัยณรงค์ ศรีปราโมช คุณศักดา พึ่งพุทธารักษ์
คุณเซี้ยง ฉิมมณี คุณสมเกียรติ แซ่เล้า
คุณสนิท ศรีจันทรา และ คุณไกรสีห์ บุญขจาย
วันพฤหัสบดีที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561
ณ ศูนย์เสริมพลัง สร้างสุขภาพ
อาคารเรียนรวมชั้น 1 โรงพยาบาลรามาธิบดี
ประวัติความเป็นมาและ
กิจกรรมของชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
• เริ่มดำเนินกำรตั้งแต่ เดือนตุลำคม 2532
• โดย รศ. ดรุณี ชุณหะวัต
• ร่วมกับนักศึกษำพยำบำลปริญญำโท
• เริ่มก่อตั้งเป็นชมรมตั้งแต่ เดือนมกรำคม 2553
• เกิดจำกควำมสนใจของอำจำรย์พยำบำลและนักศึกษำพยำบำล
ระดับปริญญำโท ที่กำลังศึกษำเรื่องกำรดูแลตนเองของผู้ป่วยมะเร็ง
• ควำมต้องกำรของผู้ป่วยหลังผ่ำตัด
ความจาเป็นในการจัดตั้งกลุ่มในอดีต
ความจาเป็นในการจัดตั้งกลุ่มในอดีต (ต่อ)
การเปลี่ยนแปลงทางหายใจ (Stoma)
ปัจจุบัน
แผลจะหำยไหม จะเป็น
แผลเป็นไหม แผลยำวมำก
ถ้ำเป็นแผลเป็นคงแย่
ถ้ำเขียนไม่ได้แย่
เลย พูดก็ไม่มีคนรู้
เรื่อง เขียนไม่ทันใจ
หมอบอกว่ำแผลหำยช้ำ แต่ไม่
คิดว่ำจะทรมำนอย่ำงนี้
มะเร็งกล่องเสียง
http://rcot.org/data_detail.php?op=knowledge&id=64
ควันบุหรี่/สุรำ
ทำให้เนื้อเยื่อ
ระคำยเคือง
และหลุดลอก
นิโคตินทำให้
DNA
ผิดปกติ
http://baillement.com/voice/polite-yawning.html
ลักษณะปกติ
หลังผ่าตัดกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
http://rcot.org/data_detail.php?op=knowledge&id=64
ควันบุหรี่/สุรำ
ทำให้เนื้อเยื่อ
ระคำยเคือง
และหลุดลอก
นิโคตินทำให้
DNA
ผิดปกติ
http://baillement.com/voice/polite-yawning.html
ลักษณะปกติ
หลังผ่าตัดกล่องเสียง
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่ม
• ชักชวนผู้ป่ วยที่มีควำมสนใจเข้ำกลุ่ม โดยแจ้งเป้ำหมำยและ
วิธีกำรทำงำนของกลุ่ม
• นัดวัน เวลำ และสถำนที่จัดประชุม
• จัดประชุมกลุ่มโดยมีพยำบำลเป็นผู้นำกลุ่ม
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่ม
• ประชุมกลุ่ม 3 ครั้ง ในเดือน พฤศจิกำยน-ธันวำคม 2532 และ
ตั้งกลุ่มขึ้นในเดือน มกรำคม 2533
• เลือกผู้นำกลุ่ม
• ตั้งชื่อกลุ่ม “กลุ่มผู้ไร้กล่องเสียงรำมำธิบดี”
• ชื่อย่อ ผรส.
• เปลี่ยนเป็น “ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรำมำธิบดี” ปี 2542
• กำหนดวัตถุประสงค์ของกลุ่ม
สมาชิกในรุ่นบุกเบิก
ประธานกลุ่มคนแรก
พ.ต. ประวัติ ตรีสิงห์
ผู้ให้การสนับสนุนในการจัดตั้งกลุ่ม
คุณเสาวนี มีสวัสดิ์ ศ.นพ. บุญชู กุลประดิษฐารมณ์
การประชุมกลุ่มระยะแรก
ห้องประชุมชั่วครำวในปี 2549 ห้องประชุมในปัจจุบัน (กค. 2550-2559)
ห้องประชุมตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
กลุ่มช่วยเหลือตนเอง
เป็นกลุ่มที่เกิดจำกกำรรวมตัวของบุคคลที่มีลักษณะอย่ำง
เดียวกัน โดยมีเป้ำหมำยที่จะให้กำรช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ระหว่ำงสมำชิกของกลุ่มกิจกรรมต่ำงๆ ดำเนินโดยสมำชิก
และเข้ำเป็นสมำชิกกลุ่มด้วยควำมสมัครใจ
สมำชิกเป็ นกลุ่มที่เป็ นทั้งผู้ให้และผู้รับ หรือ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดนอำศัยแนวคิดเรื่องแรงสนับสนุน
ทำงสังคม
(ดรุณี ชุณหะวัต, 2544)
วัตถุประสงค์ของกลุ่ม ผรส.
1. ร่วมปรึกษำหำรือแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น เพื่อช่วยเหลือ
สมำชิกที่มีปัญหำในกำรดำเนินชีวิตหลังผ่ำตัด
2. ช่วยให้สมำชิกมีควำมหวังในชีวิต มีเพื่อนที่ให้ควำมช่วยเหลือ
กันได้
3. ช่วยผู้ป่วยที่ปรับตัวไม่ได้ทั้งก่อนและหลังผ่ำตัด
4. ช่วยเหลือสมำชิกในด้ำนเศรษฐกิจ และอุปกรณ์ต่ำงๆ ที่จำเป็น
วัตถุประสงค์ของกลุ่ม ผรส. (ต่อ)
5. จัดให้ควำมรู้ เพื่อให้สมำชิกปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและมีแบบ
แผนชีวิตที่ดี
6. เพื่อสร้ำงควำมสำมัคคีและควำมช่วยเหลือกันระหว่ำง
สมำชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรำมำธิบดี
7. สร้ำงเครือข่ำยและควำมช่วยเหลือระหว่ำงชมรมผู้ไร้กล่อง
เสียงทั่วประเทศ
8. สร้ำงเครือข่ำย เยี่ยมและให้กำลังใจกับผู้ป่วยมะเร็งศีรษะ
และลำคอในโรงพยำบำลรำมำธิบดีและสถำบันอื่น
กิจกรรมกลุ่มชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
1. การรับสมัครสมาชิก
• ในระยะแรกเริ่มจำกเจ้ำหน้ำที่เป็นผู้ชักชวนผู้ป่วยเข้ำเป็นสมำชิก
• ปัจจุบันผู้ป่วยชักชวนกันเอง
2. การประชุมกลุ่ม
• ในระยะแรกประชุมกลุ่มเดือนละ 1 ครั้ง
2. การประชุมกลุ่ม (ต่อ)
• สมำชิกเริ่มพบปะแลกเปลี่ยนประสบกำรณ์สัปดำห์ละ 1 ครั้ง
ตั้งแต่ปี 2548
การประชุมประจาสัปดาห์
- เพื่อส่งเสริมการฝึกพูด ให้กาลังใจในการฝึกพูดและดารงชีวิต
- ประเมินภาวะสุขภาพ และการฟื้นฟูสภาพร่างกาย
- ให้คาปรึกษาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- ให้คาปรึกษาและให้กาลังใจญาติผู้ดูแล
- ประเมินขากรรไกร คอ บ่า ไหล่ ฝึกบริหารขากรรไกร ลาคอและไหล่
3. ประชุมวิชาการ
• เดิมประชุมวิชำกำรปีละ 2 ครั้ง ในวันปีใหม่และวันสงกรำนต์
• ปัจจุบันประชุมวิชำกำรปี ละ 1 ครั้งในวันปี ใหม่และมีประชุม
ย่อยปีละ 1-2 ครั้ง
4. จัดงานพบปะสังสรรค์และงานปีใหม่
5. การให้คาแนะนาก่อนผ่าตัด
สมุดคำแนะนำก่อนผ่ำตัด
6. การเยี่ยมให้กาลังใจผู้ป่ วยที่หอผู้ป่ วย
7. จัดหาอุปกรณ์ที่จาเป็น
สายหยุด
เณรบางแก้ว
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
โปรดทราบ
ผู้ถือบัตรสมาชิกท่านนี้เป็นผู้ไร้กล่องเสียง
เจาะรูหายใจที่คอ หากประสบอุบัติเหตุและ
จาเป็นต้องช่วยหายใจโปรดช่วยหายใจ หรือให้
ออกซิเจนผ่านรูหายใจที่คอและโปรดแจ้งญาติที่
โทร.........................................
บัตร ร.พ เลขที่……………………..
โปรดทราบ
ผู้ถือบัตรสมาชิกท่านนี้เป็นผู้ไร้กล่องเสียง
เจาะรูหายใจที่คอ หากประสบอุบัติเหตุและ
จาเป็นต้องช่วยหายใจโปรดช่วยหายใจหรือให้
ออกซิเจนผ่านรูหายใจที่คอและโปรดแจ้งญาติที่
โทร.........................................
บัตร ร.พ เลขที่……………………..
8. การทัศนศึกษาประจาปี
9 การเยี่ยมเครือข่ายการฝึกพูดและเครือข่ายมิตรภาพบาบัด
10. การร่วมกิจกรรมเครือข่ายมิตรภาพบาบัดทั้งภายในและ
ภายนอกโรงพยาบาลรามาธิบดี
11 ให้ความรู้เรื่องการผลเสียของบุหรี่และการเลิกบุหรี่
12 เป็นสถานที่ศึกษาดูงาน
13 การร่วมพิธีไว้อาลัยสมาชิกที่จากไป
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมติดต่อสื่อสารในกลุ่ม
การให้ความรู้โดยจัดทาคู่มือ จุลสารชมรมฯ และสมุดพก
https://www.slideshare.net/yuisudchai?utm_campaign=profiletracking&
utm_medium=sssite&utm_source=ssslideview
การทาสื่อวีดีทัศน์ขึ้นยูทูป
• สื่อเรื่องกำรฝึกออกเสียง กำรพูด กำรร้องเพลง กำรบริหำร
เพื่อเป็นตัวอย่ำงให้ผู้ป่วยที่อยู่ห่ำงไกล
ไม่สำมำรมำที่ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงได้
เอกสารเพื่อส่งเสริมการพูด
• มีกำรจัดทำเอกสำรที่เหมำะสม
กับควำมสำมำรถของผู้ไร้กล่อง
เสียงเพื่อกำรฝึกพูด จำกง่ำย ไป
ยำก
• มีคู่มือเบื้องต้นสำหรับกำรบริหำร
และกำรฝึกออกเสียง
• เอกสำรเนื้อเพลง ที่แบ่งจังหวะ
และสีให้เหมำะแก่กำรออกเสียง
ของผู้ไร้กล่องเสียง
รางวัลมิตรภาพบาบัด 19 มกราคม 2552
ทุนในการจัดกิจกรรม
• ทุนจำกรำยได้คณะแพทยศำสตร์โรงพยำบำลรำมำธิบดี
• เงินบริจำค โดยทำเข้ำมูลนิธิรำมำธิบดี กองทุน “ชมรมผู้ไร้
กล่องเสียงรำมำธิบดี” รหัสทุน 32130008
สาธิตการทากลุ่ม
สาธิตการเรอและการฝึกออกเสียง
ประเด็นปัญหา และ คาถาม
เพลงชมรมผู้ไร้กล่องเสียง
ทานอง วันลอยกระทง
เนื้อร้อง รศ. ดรุณี ชุณหะวัต
*พวกเราผู้ไร้กล่องเสียง
เปล่งสาเนียงไม่ได้เหมือนเก่า
การผ่าตัดรักษาพวกเรา
แต่ไม่เหมือนเขาต้องหายใจทางคอ
มา มา ช่วยกัน มา มา ช่วยกัน
ช่วยกันแล้ว หัวใจผ่องแผ้วสดชื่นสบาย
ชมรมเราพัฒนา ชมรมเราพัฒนา
ช่วยกันรักษากาลังใจ
ช่วยกันส่งเสริมกาลังใจ* (ซ้ำ)
ขอบคุณค่ะ/ครับ
จากใจสมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
การจัดกลุ่มสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
พยาบาลผู้ดูแลกลุ่มผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
พว สุทธินี สุดใจ รศ ดรุณี ชุณหะวัต
แนะนาสมาชิกอาสาสมัคร
ประธำน คุณชัยณรงค์ ศรีปรำโมช
ประธำนที่ปรึกษำ คุณเซี้ยง ฉิมมณี
เลขำฯ คุณศักดำ พึ่งพุทธำรักษ์
แนะนาครูฝึกอาสาสมัคร
คุณสนิท ศรีจันทรำ คุณสมเกียรติ แซ่เล้ำ คุณภำนุมำศ ชำติชินเชำว์
แนะนาครูฝึกอาสาสมัคร
คุณไกรสีห์ บุญขจำย คุณประโยชน์ ตระกูลพิบูลชัย
การสารวจปัญหาของผู้ไร้กล่องเสียงในปัจจุบัน
“ไม่ทาผ่าตัดได้ไหม”
“ไปรักษาสมุนไพรสักสองหรือสามเดือนก่อนดีไหม เขาว่าหาย มี
คนเคยเป็นมะเร็งกล่องเสียงไปกินยาแล้วไม่ต้องผ่าตัดกล่องเสียง
ตอนนี้ยังพูดได้อยู่เลย”
“ทาผ่าตัดแล้ว ต้องมีคนดูแลตลอดไหม จะต้องมีคนดูแลนานแค่
ไหน แล้วจะทาอะไรเองได้ไหม”
“หลังผ่าตัดทาอะไรได้บ้าง ทางานต่อได้ไหม”
การสารวจปัญหาของผู้ไร้กล่องเสียงในปัจจุบัน (ต่อ)
“รอสักสี่ห้าเดือน ค่อยมาทาผ่าตัดได้ไหม รอตุลาก่อน จะได้ early จะได้
บานาญเยอะหน่อย”
“หมอไม่มีวิธีที่พูดได้เลยหรือ”
“ไปหาข้อมูลมา มีการทาผ่าตัดกล่องเสียงแล้วพูดได้เลย ทาไมหมอที่นี่ไม่ทา
แล้วมีที่ไหนทาบ้าง”
“แก่แล้ว ใกล้ตายแล้ว ถ้าผ่าแล้วพูดไม่ได้ ไม่ผ่าดีกว่า แล้วอีกกี่เดือนตาย จะได้
ไปเตรียมตัว”
“มีคนทาเยอะไหม พูดได้จริงหรือเปล่า ทาผ่าตัดแล้วจะหายจริงไหม แล้วจะอยู่
ได้กี่ปี”
“ทาผ่าตัดแล้วจะมีอาการข้างเคียงไหม”
“ผ่าแล้วต้องฉายแสงด้วยไหม”
สูบบุหรี่แล้วได้อะไร
https://538510d8-a-62cb3a1a-s-sites.googlegroups.com/site/hajimecigarette/thos-
khxng-buhri/swn-prakxb-khxng-buhri _
ผลกระทบจากการสูบบุหรี่
• ผลกระทบระยะสั้น
ประสาทสัมผัสการรับรู้กลิ่นและรสทาหน้าที่ลดลง แสบ
ตา น้าตาไหล ระดับคาร์บอนมอนอกไซด์ในปอด เลือด
สูงขึ้น หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูงขึ้น มีกรดในกระเพาะ
มากขึ้น มีกลิ่นตัว มีกลิ่นปาก ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น
• ผลกระทบระยะยาว
มะเร็งปอด มะเร็งกล่องเสียง ลาคอ หลอดอาหาร
กระเพาะปัสสาวะ โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ หัวใจวาย หลอด
เลือดในสมองและส่วนอื่นๆ ตีบตัน หลอดเลือดใหญ่ที่ทรวง
อกและช่องท้องโป่ งพอง โรคถุงลมโป่ งพอง โรคหลอดลม
อักเสบเรื้อรัง เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
(http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=28&chap=6&page=t28-6-infodetail05.html)
https://aongbkk.wordpress.com/category/เรื่องของบุหรี่
• ผลกระทบต่อคนข้ำงเคียง
ผลกระทบระยะสั้น เกิดกำรระคำยเคืองต่อจมูก ตำ คอ ปวดศีรษะ ไอ
คลื่นไส้ เกิดควำมรู้สึกไม่สบำย ทำให้อำกำรโรคภูมิแพ้ หอบหืด โรคปอด
เรื้อรังกำเริบมำกขึ้น หำยใจติดขัดหรือเหนื่อยหอบ ในผู้ที่เป็นโรคหัวใจจะทำ
ให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอ มีอำกำรจุกเสียดหน้ำอกได้
ผลกระทบระยะยำว ในห้องทำงำนที่อำกำศไม่ถ่ำยเท เมื่อมีกำรสูบ
บุหรี่ 20 มวน ผู้ไม่สูบบุหรี่จะได้รับควันบุหรี่เท่ำกับคนสูบบุหรี่ 1 มวน หรือ
เมื่อนั่งอยู่ครึ่งชั่วโมงจะได้รับคำร์บอนมอนอกไซด์เท่ำกับคนสูบบุหรี่ 1 มวน
เมื่อนั่งทำงำนในห้องทำงำนเดียวกันมีโอกำสเป็นมะเร็งปอดเพิ่มขึ้นร้อยละ
10-30 ในเด็กเล็กจะทำให้เป็นโรคหลอดลมอักเสบ ปอดบวม ปอดติดเชื้อ หู
ชั้นกลำงอักเสบ ปอดพัฒนำผิดปกติ ในผู้ใหญ่ผู้หญิง กำรรับควันบุหรี่
มำกกว่ำวันละ 3 ชั่วโมงจะทำให้เกิดโรคมะเร็งศีรษะและลำคอเพิ่มขึ้น 3 เท่ำ
เป็นโรคหัวใจขำดเลือดสูงกว่ำคนที่สำมีไม่สูบบุหรี่ 3-4 เท่ำ และเสียชีวิตเร็ว
ขึ้นโดยเฉลี่ย 4 ปี
(http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=28&chap=6&page=t286infodetail05. html)
ผลกระทบของการสูบบุหรี่ต่อประเทศชาติ
จำกกำรเก็บสถิติในปี พ.ศ. 2544
ผู้ที่สูบบุหรี่เป็ นประจำ ผู้สูบบุหรี่เพศชำยจะมีค่ำใช้จ่ำยประมำณวันละ
10.80 บำท ผู้สูบบุหรี่เพศหญิงจะมีค่ำใช้จ่ำยประมำณวันละ 6.70 บำท รวม
รำยจ่ำยทั้งประเทศ 40,000,000,000+++ บำท
ควำมสูญเสียที่ไม่สำมำรถคำนวณได้คือ เวลำและแรงงำนที่ญำติ
หรือครอบครัวต้องสูญเสียไป คุณภำพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว
กำรสูญเสียเงินตรำออกนอกประเทศในกำรซื้อบุหรี่
(http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=28&chap=6&page=t286infodetail05. html)
การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุการเกิดมะเร็งที่สาคัญที่สุดของมนุษย์ ในปี
พ.ศ.2551 ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็ง 7.6 ล้านคน ในจานวนนี้
1,672,000 คน มีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่หรือการใช้ยาสูบ
นอกจากนี้ ร้อยละ 22 ของผู้ป่ วยที่เสียชีวิตจากมะเร็งทั่วโลกมีสาเหตุ
มาจากการสูบบุหรี่หรือการใช้ยาสูบ
(http://ath.in.th/article/130/บุหรี่-ทำให้เกิดมะเร็ง-10-ชนิดอย่ำงไร)
ผลกระทบของการสูบบุหรี่ต่อมนุษย์โลก
บุหรี่มือไหนร้ายแรงกว่ากัน
http://infographic.in.th/infographic/562
คุณเลือกได้หรือยัง?
ข้อ ก บุหรี่มือหนึ่ง
ข้อ ข บุหรี่มือสอง
ข้อ ค บุหรี่มือสาม
.
.
.
แผนป้องกันโรคมะเร็งระดับชาติ
HTTP://WWW.MANAGER.CO.TH/CELEBONLINE/VIEWNEWS.A
SPX?NEWSID=9560000065006&HTML=1&TABID=3&
- อยากเลิกบุหรี่ไหม?
- พร้อมที่จะเดินหนี
เพื่อนที่กาลังสูบบุหรี่
หรือยัง?
1. ตั้งใจจริง การเลิกเหล้าไม่ใช่เรื่องยาก ถ้ามีความตั้งใจความสาเร็จ
ย่อมไม่ไกลเกินเอื้อม
2. ตั้งเป้าว่าจะเลิกเหล้าเพื่อใคร เพราะเหตุใด เช่น เพื่อพ่อแม่...เพราะ
การดื่มเหล้าของเราทาให้พ่อแม่ไม่สบายใจเพื่อตัวเอง... จะได้มีสุขภาพดี
แถมมีเงินเก็บมากขึ้น เพื่อลูกและครอบครัว...เพราะเหล้า เข้าปากทีไร
เป็นต้องทะเลาะกันทุกที ถ้าเลิกเหล้าก็คงทะเลาะกันน้อยลงครอบครัวจะ
ได้มีความสุข มีเวลาอยู่ด้วยกันมากขึ้น...เป็นต้น
3. หยุดทันที! คนที่มีแนวคิดว่าเพียงแค่ดื่มเพื่อความสนุกสนานหรือ
ต้องการเข้าสังคม เมื่อตั้งใจที่จะเลิกเหล้า ก็ต้องพยายาม
10 วิธี เลิกสุรา
http://www.thaihealth.or.th/Content/20777-
10%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B
8%81%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2.html
4. ปรับเปลี่ยนนิสัยการดื่ม สาหรับคนที่เคยดื่มเหล้าเป็นประจาอาจ
เลิกทันทีได้ยาก ให้ลองใช้วิธีดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจช่วยให้ดื่มเหล้า
น้อยลงได้ เช่น ดื่ม เหล้าพร้อมกับการรับประทานอาหาร หรือ
หมั่นดื่มน้าเปล่าควบคู่ไปด้วยระหว่างการดื่มเหล้า เปลี่ยนขนาด
ของแก้ว จากแก้วใหญ่เป็นแก้วเล็กดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ต่า
กว่าทดแทนไปก่อนใน ระยะแรก
5. ตั้งเป้าว่าจะลดปริมาณการดื่ม เช่น จากที่เคยดื่มวันละ 8แก้ว ก็
อาจจะลดปริมาณการดื่มลงไปเรื่อยๆ จนเหลือวันละ 1แก้ว
และไม่ดื่มเลยแม้แต่แก้วเดียวในที่สุด
10 วิธี เลิกสุรา (ต่อ)
http://www.thaihealth.or.th/Content/20777-
10%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B
8%81%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2.html
10 วิธี เลิกสุรา (ต่อ)
6.หลีกเลี่ยงความเสี่ยงต่างๆ ความเสี่ยงในที่นี้คือ สถานการณ์หรือ
สถานที่ตลอดจนปัจจัยแวดล้อมที่ทาให้เราดื่มเหล้าได้ง่ายขึ้น ได้แก่
ช่วงเวลาหลังเลิกงาน วันเงินเดือนออก วาระหรือโอกาสพิเศษต่างๆ
การไปเที่ยวผับหรือร้านอาหาร สถานบันเทิง การชักชวนจากกลุ่ม
เพื่อนที่ดื่มจัด รวมถึงสาเหตุต่างๆ ที่นาไปสู่อาการเหน็ดเหนื่อย ทด
ท้อ เหงา เศร้า เครียด ฯลฯ
http://www.thaihealth.or.th/Content/20777-
10%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B
8%81%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2.html
10 วิธี เลิกสุรา (ต่อ)
7. เมื่อมีเวลาว่าง ให้ทากิจกรรมอื่นที่สร้างสรรค์แทนการดื่ม
สังสรรค์ ทากิจกรรมเพื่อสุขภาพหลังเลิกงาน เช่น ออกกาลังกาย
- เล่นกีฬาฉลองวาระพิเศษต่างๆ ด้วยแนวปฏิบัติแบบใหม่ เช่น
ไปทาบุญแทนการดื่มเมื่อรู้สึกเหงา เศร้าหรือเครียด ให้หา
กิจกรรมสร้างสรรค์และจรรโลงจิตใจทาทันที อาทิ อ่านหนังสือ
ฟังเพลง ชมภาพยนตร์ ตลอดจน เล่นกีฬา ฯลฯ
http://www.thaihealth.or.th/Content/20777-
10%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B
8%81%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2.html
10 วิธี เลิกสุรา (ต่อ)
8. ฝึกปฏิเสธให้เด็ดขาด เช่น ถ้าเพื่อนคะยั้นคะยอให้ดื่ม ให้บอกเค้า
ไปว่า " หมอห้ามดื่ม , ไม่ว่างต้องไปทาธุระ ฯลฯ...“
9. หาที่พึ่งทางใจรวมถึงหากาลังใจจากคนรอบข้าง เช่น พ่อแม่ คน
รัก ลูก หรือเพื่อนสนิท ที่สามารถปรึกษาหารือให้คาแนะนาดีๆ แก่
เราได้ และพร้อมให้ความช่วยเหลือเมื่อเราต้องการ นอกจากนี้การ
พูดคุยหรืออ่านประสบการณ์ของคนที่เลิกเหล้าสาเร็จ
ก่อนจะพบกับความสวยงามของชีวิตย่อมช่วยสร้างกาลังใจ
ให้กับเราได้มากอย่างที เดียว
http://www.thaihealth.or.th/Content/20777-
10%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B
8%81%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2.html
10 วิธี เลิกสุรา (ต่อ)
10.ปรึกษาหน่วยงานช่วยเหลือ หากไม่สามารถเลิกเหล้าด้วย
ตัวเองควรปรึกษาหน่วยงานช่วยเหลือดังต่อไปนี้
สายด่วนยาเสพติด สถานธัญรักษ์ กรมการแพทย์ โทร: 1165
สายด่วนเลิกเหล้า ศูนย์ปรึกษาปัญหาสุรา โทร: 1413
โรงพยาบาลและสานักงาน สาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ
http://www.thaihealth.or.th/Content/20777-
10%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B
8%81%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2.html
ขอขอบคุณ
- ภาพสวยๆ จากงานสร้างเสริมสุขภาพโรงพยาบาลรามาธิบดี
- วิธีการเลิกสุราและบุหรี่จาก สสส และเอกสารจากสารานุกรม
- ขอขอบคุณสมาชิกทุกท่าน ภาพทุกภาพ ความร่วมมือร่วมในการ
พัฒนาชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

งานนำเสนองานแนะแนว
งานนำเสนองานแนะแนวงานนำเสนองานแนะแนว
งานนำเสนองานแนะแนว
Pornthip Tanamai
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
Duonghthai Thaigun
 

Was ist angesagt? (17)

งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
 
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.
 
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 2 ครั้งที่ 1 เดือน มิถุนายน
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 2 ครั้งที่ 1 เดือน มิถุนายนรายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 2 ครั้งที่ 1 เดือน มิถุนายน
รายงานการประชุมสภา สมัยสามัญ สมัยที่ 2 ครั้งที่ 1 เดือน มิถุนายน
 
งานนำเสนองานแนะแนว
งานนำเสนองานแนะแนวงานนำเสนองานแนะแนว
งานนำเสนองานแนะแนว
 
การท่องเที่ยวปราจีนบุรี
การท่องเที่ยวปราจีนบุรีการท่องเที่ยวปราจีนบุรี
การท่องเที่ยวปราจีนบุรี
 
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิตนำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
นำเสนอ กองการศึกษา นครรังสิต
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
วารสาร ม.ค. ก.พ.2559
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดินอาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
อาจารย์นิรันดร์ กุลฑานันท์ แทนคุณแผ่นดิน
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
 
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
Sicience project
Sicience projectSicience project
Sicience project
 
Power point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคมPower point กองสวัสดิการสังคม
Power point กองสวัสดิการสังคม
 

Ähnlich wie P TLG cu 2018.02.06 v1

นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
Nithimar Or
 
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยมงานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
อรระมภา วิเลปนะ
 
เล่มที่ 8
เล่มที่ 8เล่มที่ 8
เล่มที่ 8
disk1412
 

Ähnlich wie P TLG cu 2018.02.06 v1 (20)

จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
 
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดีกิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
 
R2554
R2554R2554
R2554
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
V 288
V 288V 288
V 288
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
 
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
 
3
33
3
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยมงานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
งานนำเสนอโรงเรียนวัดตลาดโพธิ์ค่านิยม
 
เล่มที่ 8
เล่มที่ 8เล่มที่ 8
เล่มที่ 8
 

Mehr von Sutthinee Sudchai

Mehr von Sutthinee Sudchai (15)

สปส 2 09
สปส 2 09สปส 2 09
สปส 2 09
 
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียงคู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 23.7.17 v1.doc
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4  23.7.17 v1.docจุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4  23.7.17 v1.doc
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 23.7.17 v1.doc
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 2558
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 2558จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 2558
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 2558
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
 
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจหนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
 

P TLG cu 2018.02.06 v1