SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
แนวปฏิบัติการพยาบาล
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
INTRAHOSPITAL TRANSFER GUIDELINE
โดย นางสาวปิยรัตน์ วงค์หนายโกฏ พยาบาลวิชาชีพ
ICU trauma รพ ขอนแก่น
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
เพราะอะไร
ถึงเกิดความเสี่ยงนั้นๆในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤต
แรงสั่นสะเทือน
อัตรา
ความเร็ว
เพราะอะไร
ถึงเกิดความเสี่ยงนั้นๆในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤต
• ร่างกายจะรู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือนได้ที่ 0.1-40Hz แต่อวัยวะ
ในร่างกายมีความสามารับในการรับสัมผัสต่างกัน
• สมองจะสามารถรับแรงสั่นสะเทือนได้เพียง 6Hz.
• ในระหว่างการเคลื่อนย้าย จึงอาจเกิดภาวะหายใจตื้น เจ็บ
หน้าอก และการบาดเจ็บจากกระดูกหักเพิ่มมากขึ้น
แรงสั่นสะเทือน
เพราะอะไร ถึงเกิดความเสี่ยงนั้นๆในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
วิกฤต
• ขณะการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ในอัตราเร่งจะทาให้เลือดไหลเวียนลง
ไปยังเท้าและค้างอยู่ที่ส่วนปลายเท้าตราบเท่าที่ยังมีการเคลื่อนที่
ด้วยอัตราเร่ง
อัตราเร่ง
ของเหลวในร่างกาย
ทิศทางการเคลื่อนที่
เพราะอะไร ถึงเกิดความเสี่ยงนั้นๆในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
วิกฤต
• ขณะการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ในอัตราเร่งจะทาให้เลือดไหลเวียนลง
ไปยังเท้าและค้างอยู่ที่ส่วนปลายเท้าตราบเท่าที่ยังมีการเคลื่อนที่
ด้วยอัตราเร่ง
ชะลอความเร็ว
ทิศทางของเหลวในร่างกาย
ผลกระทบต่อร่างกายที่อันตรายขณะทาการเคลื่อนย้าย
Increase Intracranial Pressure
Cardiac arrhythmias
• Cardiac arrest
Pulmonary edema
• Hypoxia จากความดันในช่องอกเพิ่มมากขึ้น
แนวปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤต
ภายในโรงพยาบาล
ทีมสหสาขาวิชาชีพทางการแพทย์
ของหลากหลายสถานบันทั้งในและต่างประเทศ
เพื่อลดการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ โดยการใช้ ....
โดยการใช้ ....
ดัดแปลงจาก (Whiteley, Macarthey, Mark, Barratt, Bink., 2011:level of evidence 5b; Kue
et al., 2011:level of evidence 2d) *SBP= systolic blood pressure GCS=Glasgow coma
score , ,HR=heart rate, PEEP= Positive End Expiratory Pressure
ในผู้ป่วยที่มีภาวะ Shock
• ทีมแพทย์ควร Resuscitate และ stabilization ที่เหมาะสมก่อนการเคลื่อนย้าย
• ควรมีการประเมินสารนา (CVP) ร่วมกับการ resuscitate ให้มี circulation
volume ใกล้เคียงกับปกติ (SBP > 80 mmHg., MAP > 65 mmHg.)ก่อนการ
เคลื่อนย้าย
• ควรให้ crystalloid , colloid หรือ เลือด (ตามคาสั่งแพทย์)
• ถ้าระดับความดันโลหิตไม่คงที่ควรพิจารณาให้ยากระตุ้นหัวใจก่อนการเคลื่อนย้าย
ผู้ป่วย
• ใช้เครื่อง infusion pump ให้ยา vasopressor ในการเคลื่อนย้าย
• ตลอดการเคลื่อนย้ายติดตาม HR, BP ปรับเพิ่มยา vasopressor ถ้า BP
<90/60mmHg.
• อย่าลืมตรวจสอบ battery เครื่องมือทางการแพทย์(เครื่องmonitor,infusion
pump)
• (Goldhill et al., 2009; Kue, 2011)
ประเมิน Circulation
• ววนยส
• มสว
• มบงมฝ
อุปกรณ์การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตที่ประสิทธิภาพสูง
12Your footer here
ผู้ป่วยวิกฤตทุกรายจะต้อง
ติดตาม HR,
O2 sat
parapack,self -infalting : กรณี
PEEP <5 ,FiO2 < 0.4
Carina : กรณี ใช้ parapac แล้ว O2
sat < 95%, PEEP > 5, Fio2 > 0.5
สาหรับผู้ป่วยทีมีภาวะช็อก หัว
ใจเต้นผิดปกติ หรืออาการไม่คงที่
รุนแรง
ทดลองการช่วยหายใจก่อนอย่างน้อย 5 นาที ถ้า
O2 sat < 95% ให้ใช้ carina
เกณฑ์ระงับการ
เคลื่อนย้าย
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและการแก้ไข
Shock BP< 80/60
mmHg.
และให้ได้รับยา
กระตุ้นความดัน
โลหิต
1) อาจเกิด hemodynamic unstable รุนแรงจนส่งผลให้เกิด
cardiac arrest ได้ ดังนันจึงไม่ควรทาการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอันขาด
2) เมื่อพิจารณาแล้วว่าการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับการรักษาที่
ดีกว่าและไม่สามารถชักช้าได้
3) ในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยพยาบาลจะต้องนากล่องยาฉุกเฉินไปในการ
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วย พร้อมทังติดตามอาการผู้ป่วยวิกฤตEKG, BP,
HR, Oxygen saturation ด้วยเครื่อง multiple parameter patient
monitoring ตลอดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
เกณฑ์ระงับการ
เคลื่อนย้าย
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและการแก้ไข
Arrhythmia Tachycardia,
bradycardia
1)ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ไม่รุนแรง ควรได้รับการหาสาเหตุ
และทาการรักษาก่อนทาการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยทุกครัง
2) ควรได้รับการรักษาและติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจตลอดการเคลื่อนย้าย
ผู้ป่วยที่มีภาวะ
SVT, VT, VF,
AF
ผู้ป่วยที่มีภาวะ SVT VT VF AF ไม่ควรเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างเด็ดขาด
แม้ว่าจะได้รับการรักษาแล้วก็ตาม ควรติดตามอาการผู้ป่วยสักระยะก่อน
จนกว่าจะไม่เกิดหัวใจเต้นผิดปกติขึนมาอีก เพราะอาจเกิดภาวะ cardiac
arrest ได้
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤต
ขอบคุณคะ
Richmond Agitation-Sedation Scale
คะแนน ลักษณะ คาอธิบาย
+4 ต่อสู้ ต่อสู้ มีความรุนแรง เป็นอันตรายต่อบุคลากรในทันทีทันใด
+3 กระวนกระวายมาก ดึงท่อ หรือ สายสวนต่างๆ ก้าวร้าว
+2 กระวนกระวาย มีการเคลื่อนไหวอย่างไม่มีเป้าหมายบ่อยครัง ต้านเครื่องช่วยหายใจ
+1 พักไม่ได้ กระสับกระส่าย หวาดวิตก มีการเคลื่อนไหวที่ไม่ก้าวร้าวรุนแรง
0 ตื่นตัว สงบ
-1 ง่วงซึม ปลุกตื่นด้วยเสียงเรียก แต่ตื่นไม่เต็มที่ และสบตาได้นาน ≥ 10 วินาที
-2 หลับตืน ปุกตื่นในช่วงสันๆ และสบตาเมื่อเรียกได้ <10 วินาที
-3 หลับปานกลาง มีการเคลื่อนไหว หรือลืมตาเมื่อเรียก(ไม่สบตา)
-4 หลับลึก ไม่ตอบสนองต่อเสียง แต่มีการเคลื่อนไห หรือลืมตาเมื่อกระตุ้นทางกาย
-5 ปลุกไม่ตื่น ไม่ตอบสนองต่อเสียง หรือการกระตุ้นทางกาย
เกณฑ์ระงับการ
เคลื่อนย้าย
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
Agitation RASS score > 3 + 1) ผู้ป่วยวิกฤตที่มีภาวะดิน พบว่าเป็นสาเหตุให้เกิดการเลื่อนหลุดของ
ท่อช่วยหายใจ หายใจไม่สัมพันธ์กับเครื่องช่วยหายใจ
2) ถ้าผู้ป่วยมีคะแนน RASS score > 3 + รายงานแพทย์เพื่อ
พิจารณาให้ยาลดปวด หรือยาคลายกล้ามเนือ เพื่อให้ผู้ป่วยอยู่ใน
ภาวะสงบ หรือ RASS score ≤ 2 +
เกณฑ์ระงับการ
เคลื่อนย้าย
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและการแก้ไข
Increase
intracranial
pressure
Intracranial
pressure > 20
mmHg.
1) พยาบาลควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนการเคลื่อนย้าย เพื่อพิจารณา
ให้การรักษา ภาวะ IICP อาทิเช่น ยาแก้ปวด ยาคลายกล้ามเนื้อ ยาลด
สมองบวม( 20% manital ) เป็นต้น
2) หลังจากให้การรักษาเบื้องต้น พยาบาลควรติดตาม ICP ถ้าน้อยกว่า
20 mmHg. สามารถทาการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยภายในโรงพยาบาลได้
3) ถ้าหากแม้ให้การรักษาภาวะ IICP แล้ว ยังพบว่า IICP > 20 mmHg.
และผู้ป่วยวิกฤตยังมีความจาเป็นต้องทาการเคลื่อนย้าย พยาบาลต้อง
ปรึกษาแพทย์อีกครั้งเพื่อให้แพทย์ยืนยันให้ทาการเคลื่อนย้าย(Bérubé et
al., 2013)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nursetaem
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 

Was ist angesagt? (20)

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
Chest drain systems
Chest drain systemsChest drain systems
Chest drain systems
 

Andere mochten auch

เคลื่อนย้ายผู้ป่วย
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยSumon Kananit
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยSumon Kananit
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยNarenthorn EMS Center
 
Abdominal vascular injuries
Abdominal vascular injuriesAbdominal vascular injuries
Abdominal vascular injuriesAbdulsalam Taha
 

Andere mochten auch (7)

เคลื่อนย้ายผู้ป่วย
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
เคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
Wongnai brand
Wongnai brandWongnai brand
Wongnai brand
 
Wongnai
WongnaiWongnai
Wongnai
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
Abdominal vascular injuries
Abdominal vascular injuriesAbdominal vascular injuries
Abdominal vascular injuries
 
Wongnai Engineering Story
Wongnai Engineering StoryWongnai Engineering Story
Wongnai Engineering Story
 

Ähnlich wie แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล

Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfKrongdai Unhasuta
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxxeremslad
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic StrokeKanyanat Taew
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Angkana Chongjarearn
 
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)taem
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseKrongdai Unhasuta
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientKrongdai Unhasuta
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555clio cliopata
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์taem
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 updatetaem
 

Ähnlich wie แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล (20)

Triage
TriageTriage
Triage
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
Traumatic shock
Traumatic shockTraumatic shock
Traumatic shock
 
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Blunt chest injury
Blunt chest injuryBlunt chest injury
Blunt chest injury
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurse
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patient
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 

แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล

Hinweis der Redaktion

  1. พยาธิสภาพการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤต สมมติถ้าทำการเคลื่อนย้ายด้วยเปล (ศีรษะนำทาง)
  2. พยาธิสภาพการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤต สมมติถ้าทำการเคลื่อนย้ายด้วยเปล (ศีรษะนำทาง)
  3. พยาธิสภาพการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤต สมมติถ้าทำการเคลื่อนย้ายด้วยเปล (ศีรษะนำทาง) Handy&Zwanenberg (2007)ได้อธิบายเพิ่มเติมว่า ขณะการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ในอัตราเร่งจะทำให้เลือดไหลเวียนลงไปยังเท้าและค้างอยู่ที่ส่วนปลายเท้าตราบเท่าที่ยังมีการเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่ง กลไกนี้ทำให้ Cardiac preload ลดลง Cardiac outputลดลง ทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำ(Hypotension) แต่ในคนที่สุขภาพปกติ Baroreceptor reflex และ Vasoconstrictor reflex จะช่วยลดผลกระทบดังกล่าว หากแต่ในผู้ป่วยวิกฤตนั้นการทำงานของ Baroreceptor reflex และ Vasoconstrictor reflex ถูกขัดขวางหรือไม่มีปฏิกิริยาตอบสนอง(Absent reflex) เหตุจากการเจ็บป่วยในภาวะวิกฤตหรือจากการได้รับยา ทำให้เกิดผลกระทบต่อร่างกายของผู้ป่วยวิกกฤต
  4. พยาธิสภาพการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤต สมมติถ้าทำการเคลื่อนย้ายด้วยเปล (ศีรษะนำทาง) Handy&Zwanenberg (2007)ได้อธิบายเพิ่มเติมว่า ขณะการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ในอัตราเร่งจะทำให้เลือดไหลเวียนลงไปยังเท้าและค้างอยู่ที่ส่วนปลายเท้าตราบเท่าที่ยังมีการเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่ง กลไกนี้ทำให้ Cardiac preload ลดลง Cardiac outputลดลง ทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำ(Hypotension) แต่ในคนที่สุขภาพปกติ Baroreceptor reflex และ Vasoconstrictor reflex จะช่วยลดผลกระทบดังกล่าว หากแต่ในผู้ป่วยวิกฤตนั้นการทำงานของ Baroreceptor reflex และ Vasoconstrictor reflex ถูกขัดขวางหรือไม่มีปฏิกิริยาตอบสนอง(Absent reflex) เหตุจากการเจ็บป่วยในภาวะวิกฤตหรือจากการได้รับยา ทำให้เกิดผลกระทบต่อร่างกายของผู้ป่วยวิกกฤต
  5. 1) เครื่องช่วยหายใจชนิด volume การตั้งค่าเครื่องช่วยหายใจTransport ventilator ชนิด volume/minute, pressure, PEEP และ FiO2 นั้น ควรเหมาะสมกับอาการของผู้ป่วยเพื่อให้ได้ออกซิเจนที่เพียงพอ ในระหว่างการเคลื่อนย้ายควรติดตามค่าแจ้งเตือนดังต่อไปนี้ ประกอบด้วย airway pressure, apnea , high pressure และ disconnections (The Association of Anaesthetists of Great Britain and Ireland, 2009; Gupta et al. 2004) 2) Transport monitor : ที่ควรติดตามต่อเนื่องตลอดการเคลื่อนย้าย คือ Electrocardiograph , Pulse Oximetry และการประเมินเป็นครั้งและบันทึก คือ Blood Pressure ,Heart rate , Respiratory rates (Gupta et al. 2004) ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ ควรมีเครื่อง defribillation พร้อม jelly และ paddle (The Association of Anaesthetists of Great Britain and Ireland, 2009) 3) กล่องยาฉุกเฉินที่ใช้การเคลื่อนย้าย อย่างน้อยที่สุดควรจะมียาฉุกเฉินดังนี้ คือ adrenaline,lignocaine, atropine,diazepam และ sodium-bicarbonate ( Gupta et al. 2004) และอุปกรณ์ในการฉีดยา คือ syringes, เข็มฉีดยา (Australasian College for Emergency Medicine, 2013) 4) ยาที่ควรให้ก่อน/ระหว่างการเคลื่อนย้าย เพื่อให้การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตเป็นไปได้โดยสะดวก ควรให้ผู้ป่วยอยู่ในภาวะสงบ หรือไม่มีการ agitation ซึ่งสามารถทำให้ผู้ป่วยอยู่ในภาวะสงบได้ โดยให้ยาแก้ปวด (อาทิเช่น morphine , fentanyl ) ยานอนหลับ (อาทิเช่น midazolam , diazepam , propofal, ethomidate ) และยาคลายกล้ามเนื้อ (อาทิเช่น succinylcholine, atracurium, rocuronium) หลังได้รับยาควรประเมินผลข้างเคียงของยา โดยเฉพาะผลข้างเคียงต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด บางรายอาจมีความดันโลหิตต่ำได้(สมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย, มปป ) 5) Air way equipment ประกอบด้วย Oxygen mask, self-inflating bag for hand ventilation, oxygen supply ควรมีปริมานเพียงพอในการเคลื่อนย้ายแต่ละครั้ง (Australasian College for Emergency Medicine., 2013) 6) เครื่อง infusion pump ตรวจสอบการทำงานและแบตเตอร์รี่ ควรมีปริมาณพลังงานเพียงพอในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย (Australasian College for Emergency Medicine., 2013) ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤต อาทิเช่น ป้ายข้อมือ กล่องยาฉุกเฉิน เครื่องช่วยหายใจชนิดเคลื่อนย้าย Oxygen saturation monitor, ปริมานออกซิเจน ปริมานแบตเตอร์รี่ ปริมานสารน้ำ ปริมานยาที่ผู้ป่วยได้รับต่อเนื่องเป็นต้น โดยอุปกรณ์ในการเคลื่อนย้าย ควรมีประสิทธิภาพในการทำงานครบถ้วน ระยะเวลาการใช้งานเพียงพอสำหรับการเคลื่อนย้าย บันทึกการเตรียมความพร้อมในแบบประเมินก่อนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล(Jarden & Quirke, 2010; Blakeman & Branson, 2013; Day, 2010)