SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โดย นางสาวเยาวลักษณ์ พรมดี
     นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 แนะนาตัว
 บทบาทและความสาคัญ
 ลักษณะของพิธีกรและหน้าที่
 ทักษะพื้นฐานในการทาหน้าที่
                          พิธีกร
 เทคนิคในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสาหรับพิธีกร
 การพูดในที่ชุมชน
 Workshop
 พิธีกร คือ ผู้ดาเนินการ ทาหน้าที่หลัก (Master) ดูแลทังหมด
                                                         ้
  ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดของ กิจกรรมนั้นๆ
 วิทยากร คือ ผู้รับหน้าที่บรรยาย ตามคาเชิญ
 โฆษก คือ ผู้ทาหน้าที่ พูดแทน องค์กรหรือบุคคล เช่น โฆษก
  รัฐบาล
 ผู้ดาเนินรายการ คือ ผู้ทาหน้าที่ ช่วงใดช่วงหนึ่ง เฉพาะของ
  รายการนั้นๆ
 ผู้ประกาศ คือ ผู้ทาหน้าที่ แจ้งข่าว ประกาศ หรือประชาสัมพันธ์
  เรื่องต่างๆให้ทราบ
ลักษณะ     แบ่งออกเป็น

2.1 พิธีกรเดี่ยว เป็นผู้ดาเนินการเพียงผู้เดียว ต้องเป็นผู้มีไหวพริบ
ปฏิภาณ แก้ปัญหา เฉพาะหน้าได้ดี ต้องสามารถสร้างบรรยากาศได้

2.2 พิธีกรคู่ เป็นผู้ดาเนินการ คู่ จะต้องระวังในเรื่องสัดส่วนของการพูด
อย่าแย่งกัน และต้องพูดให้สอดคล้องกันในลักษณะสนทนาจะดีกว่า
* หน้าที่พิธีกร                    * ประเภทการพูดที่พิธีกรต้องศึกษา

 1.   กล่าวต้อนรับ/ ทักทาย          1.   คาทักทายหรือปฏิสันถาร
 2.   แจ้งกาหนดการ                  2.   คากล่าวนา
 3.   ให้ข้อมูลของกิจกรรม           3.   การแจ้งรายการภาคพิธีการ
 4.   ดาเนินกิจกรรม ตามขั้นตอน      4.   การแนะนาวิทยากร
 5.   สร้างสีสัน และบรรยากาศ        5.   การกล่าวสรุป
 6.   แก้ปัญหาเฉพาะหน้า             6.   การกล่าวขอบคุณ
 7.   กล่าวขอบคุณ และกล่าวปิดงาน
การใช้ไมโครโฟน
การกล่าวทักทาย
- สวัสดี            ใช้ในภาพรวม ที่ผู้ฟังมีระดับเดียวกันหรือใกล้เคียง หรือต่ากว่า
- เรียน              ใช้กับผู้มีตาแหน่งสูงกว่า
- กราบเรียน           ใช้กับนายกรัฐมนตรี
- นมัสการพระคุณเจ้า ใช้กับพระภิกษุ (ในกรณีงานนั้นมีพระภิกษุมาต้องยกมือไหว้
พระภิกษุก่อน แล้วพูดว่า นมัสการพระคุณเจ้า จากนั้นพูดต่อว่า เรียน........ หรือ กราบ
เรียน......
- ถ้าพูดถึงตาแหน่ง เพื่อเป็นการยกย่องให้ใส่ ท่าน เช่น ท่านอธิการบดี ท่านผู้ว่า
ราชการจังหวัด หรือ ท่านคณบดี เป็นต้น
- การเอ่ยชื่อเพื่อทักที่ประชุม ไม่ควรจะเกิน 4 คน เช่น เรียน ท่านอธิการบดี
ท่านคณบดี
และผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน .................
คาที่ไม่ควรใช้และกิริยาซาชากที่ไม่ควรทา
- ไม่ควรขึ้นต้น นะคะ,นะครับ หลังคาพูดทุกๆ คา
- ไม่ควรพูดคาว่า เออ...... อ้า......
- ไม่ควรใช้คาว่า พวก....... ให้ใช้คาว่า ท่าน.........
- ไม่ควรพูดว่า เล็กๆ น้อยๆ......ฯลฯ ......เช่น มีกลอนเล็กๆ น้อยๆ มาก
ฝากท่าน....
- ต้องไม่พูดถ่อมตัว เช่น ไม่ค่อยรู้เรื่อง.. ไม่ชานาญ .. ไม่ได้เตรียมตัวมา...
       ( เพราะจะทาให้ผู้ฟังขาดความเชื่อถือ เพราะบ้างครั้งผู้ฟังก็ไม่สังเกตเห็น
ว่าท่านพลาด)
- ไม่ล่วง แคะ แกะ เกา หรือ ขณะพูด กระแอม ไอ ตลอดการพูด
คาที่ใช้ในโอกาสเป็นทางการ
- ในโอกาสนี.้ ...................      - ในนามของ.....................
- ขอนาทุกท่านเข้าสู่................. - บัดนี/ ณ บัดนี้
                                             ้
- หวังเป็นอย่างยิ่งว่า                    - สุดท้ายนี้
- ขอเชิญทุกท่าน......
- ท่านผู้มีเกียรติที่เคารพ.......(เป็นการเรียกผู้ฟังให้มาสนใจผู้พูด)
- บัดนี้ได้เวลาอันเป็นมงคล (ใช้กับงานที่ต้องมีฤกษ์ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น เปิด
งาน
- บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว (ใช้กับงานทั่วไป)
คาที่ใช้ในโอกาสเป็นทางการ
- ในโอกาสนี.้ ...................      - ในนามของ.....................
- ขอนาทุกท่านเข้าสู่................. - บัดนี/ ณ บัดนี้
                                             ้
- หวังเป็นอย่างยิ่งว่า                    - สุดท้ายนี้
- ขอเชิญทุกท่าน......
- ท่านผู้มีเกียรติที่เคารพ.......(เป็นการเรียกผู้ฟังให้มาสนใจผู้พูด)
- บัดนี้ได้เวลาอันเป็นมงคล (ใช้กับงานที่ต้องมีฤกษ์ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น เปิด
งาน
- บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว (ใช้กับงานทั่วไป)
คาที่ใช้ในโอกาสเป็นทางการ
- ในโอกาสนี.้ ...................      - ในนามของ.....................
- ขอนาทุกท่านเข้าสู่................. - บัดนี/ ณ บัดนี้
                                             ้
- หวังเป็นอย่างยิ่งว่า                    - สุดท้ายนี้
- ขอเชิญทุกท่าน......
- ท่านผู้มีเกียรติที่เคารพ.......(เป็นการเรียกผู้ฟังให้มาสนใจผู้พูด)
- บัดนี้ได้เวลาอันเป็นมงคล (ใช้กับงานที่ต้องมีฤกษ์ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น เปิด
งาน
- บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว (ใช้กับงานทั่วไป)
การใช้คาพูดและนาเสียงที่เหมาะสม

- สาหรับงานที่เป็นทางการ ท่านไม่ควรพูดเล่นจนมากเกินไป
- การอ่านประกาศ หรือเอกสารทางราชการ จะต้องเสียงดังฟังชัด เข้มแข็ง
กระชับ
บรรยากาศจริงจัง อักขระ ควบกล่า ร, ล การแบ่งวรรคตอน
- การอ่านเวลา ....เช่น 9.30 น. จะต้องอ่านว่า เก้านาฬิกา สามสิบนาที
.... ไม่อ่าน น.
บุคลิกภาพของผู้พูด
 ผู้พูดอยู่บนเวที คือเป้าสายตาของผู้ฟัง ดังนั้น ควรจะต้อง
ระมัดระวังในเรื่อง
* บุคลิกภาพการแต่งกาย เสือผ้า หน้า ผม ให้ดูดี
และน่าเชื่อถือ
* การใช้สีหน้า สายตา ไม่ควรใช้มือออกท่าทางเวลา
พูด
* เมื่อนั่งพูดไม่ควรเขย่าขา หรือสั่นขา
* ไม่ควรเอามือไขว่หลังขณะพูด (เพราะเป็นการพูดกับผู้มี
ศักดิ์ต่ากว่า)
   เมื่อถึงเวลาแล้วประธานหรือผู้พูดยังมาไม่ถึง
   เมื่อเครื่องเสียงไม่เป็นใจ
   เมื่อพิธีกรอ่านข้อความผิด
   เมื่อผู้ฟังออกอาการ...ไม่ฟัง...เบื่อ...หลับ
   เมื่อต้องเป็นพิธีจรจาเป็น
การพูดในที่ชุมชน
คือ การพูดในที่สาธารณะ มีผู้ฟังเป็นจานวนมาก
1. พูดแบบท่องจำ
           เตรียมเรื่องพูดอย่างมีคุณค่า สาระถูกต้องเหมาะสม แล้วจาเรื่องพูด
ให้ได้ เวลาพูดให้เป็น ธรรมชาติ มีลีลา จังหวะ ถ่ายทอดออกมาทุก
ตัวอักษร
2. พูดแบบมีต้นฉบับ
           พูดไปอ่านไป จากต้นร่างที่เตรียมมาอย่างดีแล้ว แต่ไม่ใช่ก้มหน้าก้ม
ตาอ่าน เพราะไม่ใช่ ผลดีสาหรับผู้พูด
3. พูดจำกควำมเข้ำใจ
           เตรียมเรื่องพูดไว้ล่วงหน้า ถ่ายทอดสารจากความรู้ความเข้าใจของ
ตนเอง มีต้นฉบับ เฉพาะหัวข้อสาคัญเท่านั้น เช่น การพูด , สนทนา , อภิปราย ,
สัมภาษณ์
สันติ อภัยราช. เทคนิคการพูดในที่ชุมชน .กาแพงเพชร

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
cm carent
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
suchinmam
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
Tik Msr
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
Mapowzee Dahajee
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sp'z Puifai
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 

Was ist angesagt? (20)

หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
หนังสือรับรอง(เด็กศูนย์ฯ)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยาฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 

Andere mochten auch

คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
niralai
 
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
Treetita Intachai
 
คำคมคำขาย
คำคมคำขายคำคมคำขาย
คำคมคำขาย
guestab14f9a
 

Andere mochten auch (20)

คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
 
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
Requirement gathering-and-lean-canvas
Requirement gathering-and-lean-canvasRequirement gathering-and-lean-canvas
Requirement gathering-and-lean-canvas
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
คำคมคำขาย
คำคมคำขายคำคมคำขาย
คำคมคำขาย
 
Climate master
Climate masterClimate master
Climate master
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
Case tools
Case toolsCase tools
Case tools
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
Case tools
Case toolsCase tools
Case tools
 
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
 
Case tools
Case toolsCase tools
Case tools
 
Computer-Aided Engineering
Computer-Aided EngineeringComputer-Aided Engineering
Computer-Aided Engineering
 
Computer aided software engineering
Computer aided software engineeringComputer aided software engineering
Computer aided software engineering
 
Computer Aided Software Engineering Nayab Awan
Computer Aided Software Engineering Nayab AwanComputer Aided Software Engineering Nayab Awan
Computer Aided Software Engineering Nayab Awan
 
Planning Your MVP: Lean Canvas & User Stories
Planning Your MVP: Lean Canvas & User StoriesPlanning Your MVP: Lean Canvas & User Stories
Planning Your MVP: Lean Canvas & User Stories
 
Requirement analysis and specification
Requirement analysis and specificationRequirement analysis and specification
Requirement analysis and specification
 

Ähnlich wie การเป็นพิธีการมืออาชีพ

Ähnlich wie การเป็นพิธีการมืออาชีพ (6)

การนำเสนอผลงานทางวิชาการ
การนำเสนอผลงานทางวิชาการการนำเสนอผลงานทางวิชาการ
การนำเสนอผลงานทางวิชาการ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Music and Human
Music and HumanMusic and Human
Music and Human
 

Mehr von Yaowaluck Promdee

Mehr von Yaowaluck Promdee (20)

A basic of UX for beginner
A basic of UX for beginnerA basic of UX for beginner
A basic of UX for beginner
 
TCAS 2563
TCAS 2563TCAS 2563
TCAS 2563
 
Portfolio design
Portfolio designPortfolio design
Portfolio design
 
Concept to creation story and storyboard
Concept to creation  story and storyboard Concept to creation  story and storyboard
Concept to creation story and storyboard
 
Observation and interviewing
Observation and interviewingObservation and interviewing
Observation and interviewing
 
Good bad design
Good bad designGood bad design
Good bad design
 
Bootstrap Framework
Bootstrap Framework Bootstrap Framework
Bootstrap Framework
 
Tables and forms with HTML, CSS
Tables and forms with HTML, CSS  Tables and forms with HTML, CSS
Tables and forms with HTML, CSS
 
Navigation and Link
Navigation and LinkNavigation and Link
Navigation and Link
 
Graphic, Color and tools
Graphic, Color and toolsGraphic, Color and tools
Graphic, Color and tools
 
Page layouts flexible and fixed layout with CSS
Page layouts flexible and fixed layout with CSSPage layouts flexible and fixed layout with CSS
Page layouts flexible and fixed layout with CSS
 
CSS Boc model
CSS Boc model CSS Boc model
CSS Boc model
 
CSS Font & Text style
CSS Font & Text style CSS Font & Text style
CSS Font & Text style
 
Style and Selector Part2
Style and Selector Part2Style and Selector Part2
Style and Selector Part2
 
Style and Selector
Style and SelectorStyle and Selector
Style and Selector
 
Design sitemap
Design sitemapDesign sitemap
Design sitemap
 
Good/Bad Web Design
Good/Bad Web DesignGood/Bad Web Design
Good/Bad Web Design
 
HTML 5
HTML 5HTML 5
HTML 5
 
Overview HTML, HTML5 and Validations
Overview HTML, HTML5 and Validations Overview HTML, HTML5 and Validations
Overview HTML, HTML5 and Validations
 
Web Interface
Web InterfaceWeb Interface
Web Interface
 

การเป็นพิธีการมืออาชีพ

  • 1. โดย นางสาวเยาวลักษณ์ พรมดี นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2.  แนะนาตัว  บทบาทและความสาคัญ  ลักษณะของพิธีกรและหน้าที่  ทักษะพื้นฐานในการทาหน้าที่ พิธีกร  เทคนิคในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสาหรับพิธีกร  การพูดในที่ชุมชน  Workshop
  • 3.  พิธีกร คือ ผู้ดาเนินการ ทาหน้าที่หลัก (Master) ดูแลทังหมด ้ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดของ กิจกรรมนั้นๆ  วิทยากร คือ ผู้รับหน้าที่บรรยาย ตามคาเชิญ  โฆษก คือ ผู้ทาหน้าที่ พูดแทน องค์กรหรือบุคคล เช่น โฆษก รัฐบาล  ผู้ดาเนินรายการ คือ ผู้ทาหน้าที่ ช่วงใดช่วงหนึ่ง เฉพาะของ รายการนั้นๆ  ผู้ประกาศ คือ ผู้ทาหน้าที่ แจ้งข่าว ประกาศ หรือประชาสัมพันธ์ เรื่องต่างๆให้ทราบ
  • 4.
  • 5. ลักษณะ แบ่งออกเป็น 2.1 พิธีกรเดี่ยว เป็นผู้ดาเนินการเพียงผู้เดียว ต้องเป็นผู้มีไหวพริบ ปฏิภาณ แก้ปัญหา เฉพาะหน้าได้ดี ต้องสามารถสร้างบรรยากาศได้ 2.2 พิธีกรคู่ เป็นผู้ดาเนินการ คู่ จะต้องระวังในเรื่องสัดส่วนของการพูด อย่าแย่งกัน และต้องพูดให้สอดคล้องกันในลักษณะสนทนาจะดีกว่า
  • 6. * หน้าที่พิธีกร * ประเภทการพูดที่พิธีกรต้องศึกษา  1. กล่าวต้อนรับ/ ทักทาย  1. คาทักทายหรือปฏิสันถาร  2. แจ้งกาหนดการ  2. คากล่าวนา  3. ให้ข้อมูลของกิจกรรม  3. การแจ้งรายการภาคพิธีการ  4. ดาเนินกิจกรรม ตามขั้นตอน  4. การแนะนาวิทยากร  5. สร้างสีสัน และบรรยากาศ  5. การกล่าวสรุป  6. แก้ปัญหาเฉพาะหน้า  6. การกล่าวขอบคุณ  7. กล่าวขอบคุณ และกล่าวปิดงาน
  • 8. การกล่าวทักทาย - สวัสดี ใช้ในภาพรวม ที่ผู้ฟังมีระดับเดียวกันหรือใกล้เคียง หรือต่ากว่า - เรียน ใช้กับผู้มีตาแหน่งสูงกว่า - กราบเรียน ใช้กับนายกรัฐมนตรี - นมัสการพระคุณเจ้า ใช้กับพระภิกษุ (ในกรณีงานนั้นมีพระภิกษุมาต้องยกมือไหว้ พระภิกษุก่อน แล้วพูดว่า นมัสการพระคุณเจ้า จากนั้นพูดต่อว่า เรียน........ หรือ กราบ เรียน...... - ถ้าพูดถึงตาแหน่ง เพื่อเป็นการยกย่องให้ใส่ ท่าน เช่น ท่านอธิการบดี ท่านผู้ว่า ราชการจังหวัด หรือ ท่านคณบดี เป็นต้น - การเอ่ยชื่อเพื่อทักที่ประชุม ไม่ควรจะเกิน 4 คน เช่น เรียน ท่านอธิการบดี ท่านคณบดี และผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน .................
  • 9. คาที่ไม่ควรใช้และกิริยาซาชากที่ไม่ควรทา - ไม่ควรขึ้นต้น นะคะ,นะครับ หลังคาพูดทุกๆ คา - ไม่ควรพูดคาว่า เออ...... อ้า...... - ไม่ควรใช้คาว่า พวก....... ให้ใช้คาว่า ท่าน......... - ไม่ควรพูดว่า เล็กๆ น้อยๆ......ฯลฯ ......เช่น มีกลอนเล็กๆ น้อยๆ มาก ฝากท่าน.... - ต้องไม่พูดถ่อมตัว เช่น ไม่ค่อยรู้เรื่อง.. ไม่ชานาญ .. ไม่ได้เตรียมตัวมา... ( เพราะจะทาให้ผู้ฟังขาดความเชื่อถือ เพราะบ้างครั้งผู้ฟังก็ไม่สังเกตเห็น ว่าท่านพลาด) - ไม่ล่วง แคะ แกะ เกา หรือ ขณะพูด กระแอม ไอ ตลอดการพูด
  • 10. คาที่ใช้ในโอกาสเป็นทางการ - ในโอกาสนี.้ ................... - ในนามของ..................... - ขอนาทุกท่านเข้าสู่................. - บัดนี/ ณ บัดนี้ ้ - หวังเป็นอย่างยิ่งว่า - สุดท้ายนี้ - ขอเชิญทุกท่าน...... - ท่านผู้มีเกียรติที่เคารพ.......(เป็นการเรียกผู้ฟังให้มาสนใจผู้พูด) - บัดนี้ได้เวลาอันเป็นมงคล (ใช้กับงานที่ต้องมีฤกษ์ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น เปิด งาน - บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว (ใช้กับงานทั่วไป)
  • 11. คาที่ใช้ในโอกาสเป็นทางการ - ในโอกาสนี.้ ................... - ในนามของ..................... - ขอนาทุกท่านเข้าสู่................. - บัดนี/ ณ บัดนี้ ้ - หวังเป็นอย่างยิ่งว่า - สุดท้ายนี้ - ขอเชิญทุกท่าน...... - ท่านผู้มีเกียรติที่เคารพ.......(เป็นการเรียกผู้ฟังให้มาสนใจผู้พูด) - บัดนี้ได้เวลาอันเป็นมงคล (ใช้กับงานที่ต้องมีฤกษ์ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น เปิด งาน - บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว (ใช้กับงานทั่วไป)
  • 12. คาที่ใช้ในโอกาสเป็นทางการ - ในโอกาสนี.้ ................... - ในนามของ..................... - ขอนาทุกท่านเข้าสู่................. - บัดนี/ ณ บัดนี้ ้ - หวังเป็นอย่างยิ่งว่า - สุดท้ายนี้ - ขอเชิญทุกท่าน...... - ท่านผู้มีเกียรติที่เคารพ.......(เป็นการเรียกผู้ฟังให้มาสนใจผู้พูด) - บัดนี้ได้เวลาอันเป็นมงคล (ใช้กับงานที่ต้องมีฤกษ์ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น เปิด งาน - บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว (ใช้กับงานทั่วไป)
  • 13. การใช้คาพูดและนาเสียงที่เหมาะสม - สาหรับงานที่เป็นทางการ ท่านไม่ควรพูดเล่นจนมากเกินไป - การอ่านประกาศ หรือเอกสารทางราชการ จะต้องเสียงดังฟังชัด เข้มแข็ง กระชับ บรรยากาศจริงจัง อักขระ ควบกล่า ร, ล การแบ่งวรรคตอน - การอ่านเวลา ....เช่น 9.30 น. จะต้องอ่านว่า เก้านาฬิกา สามสิบนาที .... ไม่อ่าน น.
  • 14. บุคลิกภาพของผู้พูด ผู้พูดอยู่บนเวที คือเป้าสายตาของผู้ฟัง ดังนั้น ควรจะต้อง ระมัดระวังในเรื่อง * บุคลิกภาพการแต่งกาย เสือผ้า หน้า ผม ให้ดูดี และน่าเชื่อถือ * การใช้สีหน้า สายตา ไม่ควรใช้มือออกท่าทางเวลา พูด * เมื่อนั่งพูดไม่ควรเขย่าขา หรือสั่นขา * ไม่ควรเอามือไขว่หลังขณะพูด (เพราะเป็นการพูดกับผู้มี ศักดิ์ต่ากว่า)
  • 15. เมื่อถึงเวลาแล้วประธานหรือผู้พูดยังมาไม่ถึง  เมื่อเครื่องเสียงไม่เป็นใจ  เมื่อพิธีกรอ่านข้อความผิด  เมื่อผู้ฟังออกอาการ...ไม่ฟัง...เบื่อ...หลับ  เมื่อต้องเป็นพิธีจรจาเป็น
  • 17. 1. พูดแบบท่องจำ เตรียมเรื่องพูดอย่างมีคุณค่า สาระถูกต้องเหมาะสม แล้วจาเรื่องพูด ให้ได้ เวลาพูดให้เป็น ธรรมชาติ มีลีลา จังหวะ ถ่ายทอดออกมาทุก ตัวอักษร 2. พูดแบบมีต้นฉบับ พูดไปอ่านไป จากต้นร่างที่เตรียมมาอย่างดีแล้ว แต่ไม่ใช่ก้มหน้าก้ม ตาอ่าน เพราะไม่ใช่ ผลดีสาหรับผู้พูด 3. พูดจำกควำมเข้ำใจ เตรียมเรื่องพูดไว้ล่วงหน้า ถ่ายทอดสารจากความรู้ความเข้าใจของ ตนเอง มีต้นฉบับ เฉพาะหัวข้อสาคัญเท่านั้น เช่น การพูด , สนทนา , อภิปราย , สัมภาษณ์