SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 7
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เทคนิคเริ่มต้นเขียนบทความ สาหรับมือใหม่ วิธีเขียนบทความนั้น ไม่ยากเกินความพยามยามของคนเรา หาก คุณตั้งใจจะเขียนจริงๆ มันสามารถทาได้อย่างแน่นอน ปัญหาที่ หลายคนประสบอยู่คือ ไม่รู้จะเขียนเรืองอะไรดี? จริงๆแล้ว ในโลกนี้ มีเรื่องให้คุณเขียนได้มากมาย ทุกอย่าง รอบๆตัวเราสามารถหยิบยกขึ้นมาเขียน เรียบเรียง ให้เป็น บทความได้ แม้เรื่องเดียวกัน หากแต่มองกันคนละมุม ต่างคนต่าง ก็มีความคิดเห็นในเรื่องนั้นแตกต่างกัน การถ่ายทอดออกมาก็ ต่างกันด้วย หากคุณมีปัญหา ไม่สามารถนึกเรื่องที่จะเขียนได้ วันนี้ผมมี เทคนิคการเขียนบทความ ให้คุณเอาไปใช้กันดู เพราะวิธีนี้เป็นวิธีที่ ผมใช้อยู่ทุกๆวัน สามารถเอาไปปรับให้เหมาะกับตัวคุณ หรือ นาไปใช้งานเลยก็ได้เช่นกัน
เขียนเรื่องของตัวเอง 
ยังจากันได้ไหมว่าตอนเด็กๆนั้น คุณครูให้คุณเขียนเรียงความเรื่อง อะไร ถ้าผมจาไม่ผิด มันคือเรียงความเกี่ยวกับครอบครัวของผม เอง เราต่างรู้จักครอบครัวของเราอยู่แล้ว ว่ามีใครบ้าง ตัวเราคือ ใคร ความสัมพันธ์ของแต่ละคนในครอบครัวเป็นอย่างไร และแต่ ละคนเป็นคนยังไง มีลักษณะนิสัยอะไรที่โดดเด่นออกมา จนเราจา ได้ขึ้นใจ เช่น พี่สาวชอบแย่งขนมของเรา คุณพ่อชอบดุเวลาเราไม่ อาบน้า เป็นต้น เรื่องของเราเอง เรารู้ เราสามารถนามาเขียนได้ อย่างดี คุณสามารถนาเรื่องราวส่วนตัวของคุ ณมาฝึกเขียน ลองเล่าเรื่อง ของตัวเอง ลองแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆจากมุมมองของตัว คุณเอง โดยไม่ต้องคานึงถึงกฎเกณฑ์ใดๆเวลาเขียน เพราะจะทาให้ ความคิดสร้างสรรค์ของคุณถูกลดทอนลงได้ เขียนออกมาจาก ความรู้สึก นึกคิด เมื่อเขียนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ค่อยมา ตรวจทานภายหลังได้
เขียนเรื่องที่คุณรู้ 
อย่าพยายามเขียนเรื่องที่คุณไม่รู้ เพราะว่าหากคุณไม่รู้จริง ข้อมูล ที่คุณนามาเขียนจะไม่เพียงพอ ขาดความน่าเชื่อถือ ดังนั้น จง เลือกเขียนเรื่องที่คุณรู้ คุณถนัด คุณมีความคลั่งไคล้กับเรื่องนั้นๆ เป็นอันมาก คุณจะสามารถถ่ายทอดออกมาได้อย่างดี อย่ากังวล ว่าคุณจะเขียนได้ไม่ดี เพราะคุณยังไม่เริ่มเขียนเลย จะรู้ได้ไงว่าดี หรือไม่ดี เรื่องที่คุณเชียวชาญ เรื่องที่คุณสามารถพูดคุยได้ทั้งวัน โดยที่ไม่ ต้องค้นหาข้อมูลมาเพื่อตอบคาถามเลย คุณอยู่กับมัน คุณคลั่ง ไคล้ คุณติดตามเรื่องนั้นๆ อยู่ตลอดเวลา นั้นแหละคือเรื่องที่คุณ สมควรนามาเขียนบทความมากที่สุด เพราะคุณรู้ ยิ่งรู้มากยิ่ง สามารถถ่ายทอดออกมาได้ดี สามารถหยิบยกข้อมูลมาเปรียบได้ ทันที นั่นคือข้อดีของการเขียนเรื่องที่คุณรู้ ดังนั้นหากคุณไม่รู้จะ เขียนเรื่องอะไร จงเริ่มต้นจากสิ่งที่คุณมีความรู้อยู่แล้ว มไม่ว่าจะ เป็นเรื่องอะไรก็ตาม
เขียนเรื่องใกล้ตัว 
ลองสังเกตดูในนิยายแทบทุกเรื่อง เป็นการนาเสนอเรื่องราวใกล้ๆ ตัว แทบทั้งสิ้น เพราะเรื่องทั่วไป เรื่องที่คุณคนรู้อยู่แล้ว กิจกรรม ที่หลายๆคนทามันอยู่เป็นประจา คนอ่านสามารถเข้าใจ และเข้าถึง ข้อเขียนนั้นได้ง่าย และเร็ว การนาเสนอเรื่องทั่วๆไป เรื่องใกล้ใน มุมมองที่แตกต่างออกไป ในความคิดเห็นของคุณเอง ช่วยให้ ข้อเขียนหรือบทความนั้นน่าสนใจยิ่งขึ้น เพิ่มเติมมุมมองต่าง นาการเปรียบเทียบเหตุการณ์ที่คล้ายกันมา เขียน ช่วยให้เรื่องมีความน่าสนใจ ไม่ซ้าซากจาเจ อาจเลือกหัวข้อ ในที่ทางาน เพื่อนที่โรงเรียน เรื่องของคนข้างบ้านที่มีความ น่าสนใจ มีความแตกต่าง และเป็นเรื่องที่มีประเด็น สามารถนามา เรียบเรียงให้เป็นบทความที่น่าอ่านได้ หรือเรื่องที่อยู่รอบๆตัวคุณ ตัวที่อยู่ใกล้ชิดคุณ ก็เป็นวัตถุดิบชั้นดีในการนามาเขียนบทความ ได้
เขียนด้วยแรงผลักดัน 
แรงผลักดันดูเป็นเหมือนนามธรรม ไม่มีอยู่จริง แท้จริงแล้ว มัน อยู่ในใจ อยู่ในชีวิตของคุณ แรงผลักดันที่จะทาให้คุณเขียนมันให้ได้ ให้ดี เขียนให้เสร็จ เหมือนเป็นบทความที่คุณอยากจะเขียน มากมาย ไม่ว่าสิ่งนั้นคืออะไร ผมไม่สามารถบอกคุณได้ มีแค่ตัว คุณเท่านั้นที่จะรู้ และต้องบอกตัวเองให้เขียน  หากคุณต้องทาเงินจากเขียน ไม่เขียนก็ไม่มีกิน นั้นคือ ความจาเป็น นั้นคือแรงผลักดัน  หากคุณต้องการที่จะเป็นนักเขียนให้ได้ มีผลงานตีพิมพ์ลง หนังสือ มีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับ นั่นคือแรงผลักดัน  หากคุณต้องการที่เผยแพร่แนวคิด ให้ผู้คนมากมายในโลก นี้ได้รับรู้ รับทราบ นั่นคือแรงผลักดัน ไม่ว่ามันจะคืออะไร แรงผลักดันนี้แหละ ที่จะทาให้คุณกล้าที่จะ เขียน กล้าที่จะทามันทุกๆวัน กล้าที่จะเผยแพร่ข้อเขียน หรือ บทความของคุณออกไปสู่สาธารณะ ทั้งหมดที่กล่าวมานั้น คือเทคนิคเล็กๆน้อยๆ สาหรับคนที่มีปัญหา เรื่องการเขียนบทความ แต่แน่นอนว่าพื้นฐานของคุณต้องมี พอสมควร การจะมีพื้นฐานการเขียนที่ดีได้นั้น เกิดจากการหา
วัตถุดิบใหม่ๆในการเขียน การมองโลก มองเรื่องต่างๆที่เกิดขึ้น ใน มุมที่ต่างออกไป จะสามารถช่วยให้คุณมองเห็นความต่างใน เรื่องราว หรือเหตุการณ์นั้นๆ การหาวัตถุดิบมาเพื่อเขียนบทความนั้น หาได้ง่าย ทั้งจากการ อ่าน ก็สามารถช่วยได้เยอะ ชีวิตประจาวันของคุณในแต่ละวันก็ใช่ บทสนทนา คาพูดบางคา หรือพฤติกรรมบางอย่าง สามารถ นามาขยายความ และเปรียบเทียบ สร้างเป็นเรื่องราว บทความ นั้นก็ยิ่งน่าสนใจยิ่งขึ้น หากคุณเป็นมือใหม่ที่เพิ่งหัดเขียนบทความ ผมแนะนาอีกอย่างที่ เป็นหัวใจหลักของการทาทุกๆอย่าง ไม่เว้นกระทั้งการเขียน นั้น คือ ความขยัน ยิ่งคุณเขียนไม่เก่งเท่าไหร่ คุณยิ่งต้องขยันมากขึ้น การฝึกเขียนทุกๆวัน ช่วยให้เกิดความชานาญในการเขียนมากขึ้น 
เครดิต: http://www.ewritor.com/article-writing.php

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie เทคนิคเริ่มต้นเขียนบทความสำหรับมือใหม่

ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
Arm Watcharin
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
She's Kukkik Kanokporn
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
Atima Teraksee
 
นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์ ชั้น ม
นายฐิติพงศ์      วงศ์จันทร์  ชั้น มนายฐิติพงศ์      วงศ์จันทร์  ชั้น ม
นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์ ชั้น ม
Thitipong Wongchan
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Piyatida Prayoonprom
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
natnardtaya
 

Ähnlich wie เทคนิคเริ่มต้นเขียนบทความสำหรับมือใหม่ (20)

The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์ ชั้น ม
นายฐิติพงศ์      วงศ์จันทร์  ชั้น มนายฐิติพงศ์      วงศ์จันทร์  ชั้น ม
นายฐิติพงศ์ วงศ์จันทร์ ชั้น ม
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
 
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
ภารกิจในระดับครูมือใหม่1
 
SWU151 การปรับตัว
SWU151 การปรับตัว SWU151 การปรับตัว
SWU151 การปรับตัว
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
ทักษะการปฏิเสธ
ทักษะการปฏิเสธทักษะการปฏิเสธ
ทักษะการปฏิเสธ
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 

เทคนิคเริ่มต้นเขียนบทความสำหรับมือใหม่

  • 1.
  • 2. เทคนิคเริ่มต้นเขียนบทความ สาหรับมือใหม่ วิธีเขียนบทความนั้น ไม่ยากเกินความพยามยามของคนเรา หาก คุณตั้งใจจะเขียนจริงๆ มันสามารถทาได้อย่างแน่นอน ปัญหาที่ หลายคนประสบอยู่คือ ไม่รู้จะเขียนเรืองอะไรดี? จริงๆแล้ว ในโลกนี้ มีเรื่องให้คุณเขียนได้มากมาย ทุกอย่าง รอบๆตัวเราสามารถหยิบยกขึ้นมาเขียน เรียบเรียง ให้เป็น บทความได้ แม้เรื่องเดียวกัน หากแต่มองกันคนละมุม ต่างคนต่าง ก็มีความคิดเห็นในเรื่องนั้นแตกต่างกัน การถ่ายทอดออกมาก็ ต่างกันด้วย หากคุณมีปัญหา ไม่สามารถนึกเรื่องที่จะเขียนได้ วันนี้ผมมี เทคนิคการเขียนบทความ ให้คุณเอาไปใช้กันดู เพราะวิธีนี้เป็นวิธีที่ ผมใช้อยู่ทุกๆวัน สามารถเอาไปปรับให้เหมาะกับตัวคุณ หรือ นาไปใช้งานเลยก็ได้เช่นกัน
  • 3. เขียนเรื่องของตัวเอง ยังจากันได้ไหมว่าตอนเด็กๆนั้น คุณครูให้คุณเขียนเรียงความเรื่อง อะไร ถ้าผมจาไม่ผิด มันคือเรียงความเกี่ยวกับครอบครัวของผม เอง เราต่างรู้จักครอบครัวของเราอยู่แล้ว ว่ามีใครบ้าง ตัวเราคือ ใคร ความสัมพันธ์ของแต่ละคนในครอบครัวเป็นอย่างไร และแต่ ละคนเป็นคนยังไง มีลักษณะนิสัยอะไรที่โดดเด่นออกมา จนเราจา ได้ขึ้นใจ เช่น พี่สาวชอบแย่งขนมของเรา คุณพ่อชอบดุเวลาเราไม่ อาบน้า เป็นต้น เรื่องของเราเอง เรารู้ เราสามารถนามาเขียนได้ อย่างดี คุณสามารถนาเรื่องราวส่วนตัวของคุ ณมาฝึกเขียน ลองเล่าเรื่อง ของตัวเอง ลองแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆจากมุมมองของตัว คุณเอง โดยไม่ต้องคานึงถึงกฎเกณฑ์ใดๆเวลาเขียน เพราะจะทาให้ ความคิดสร้างสรรค์ของคุณถูกลดทอนลงได้ เขียนออกมาจาก ความรู้สึก นึกคิด เมื่อเขียนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ค่อยมา ตรวจทานภายหลังได้
  • 4. เขียนเรื่องที่คุณรู้ อย่าพยายามเขียนเรื่องที่คุณไม่รู้ เพราะว่าหากคุณไม่รู้จริง ข้อมูล ที่คุณนามาเขียนจะไม่เพียงพอ ขาดความน่าเชื่อถือ ดังนั้น จง เลือกเขียนเรื่องที่คุณรู้ คุณถนัด คุณมีความคลั่งไคล้กับเรื่องนั้นๆ เป็นอันมาก คุณจะสามารถถ่ายทอดออกมาได้อย่างดี อย่ากังวล ว่าคุณจะเขียนได้ไม่ดี เพราะคุณยังไม่เริ่มเขียนเลย จะรู้ได้ไงว่าดี หรือไม่ดี เรื่องที่คุณเชียวชาญ เรื่องที่คุณสามารถพูดคุยได้ทั้งวัน โดยที่ไม่ ต้องค้นหาข้อมูลมาเพื่อตอบคาถามเลย คุณอยู่กับมัน คุณคลั่ง ไคล้ คุณติดตามเรื่องนั้นๆ อยู่ตลอดเวลา นั้นแหละคือเรื่องที่คุณ สมควรนามาเขียนบทความมากที่สุด เพราะคุณรู้ ยิ่งรู้มากยิ่ง สามารถถ่ายทอดออกมาได้ดี สามารถหยิบยกข้อมูลมาเปรียบได้ ทันที นั่นคือข้อดีของการเขียนเรื่องที่คุณรู้ ดังนั้นหากคุณไม่รู้จะ เขียนเรื่องอะไร จงเริ่มต้นจากสิ่งที่คุณมีความรู้อยู่แล้ว มไม่ว่าจะ เป็นเรื่องอะไรก็ตาม
  • 5. เขียนเรื่องใกล้ตัว ลองสังเกตดูในนิยายแทบทุกเรื่อง เป็นการนาเสนอเรื่องราวใกล้ๆ ตัว แทบทั้งสิ้น เพราะเรื่องทั่วไป เรื่องที่คุณคนรู้อยู่แล้ว กิจกรรม ที่หลายๆคนทามันอยู่เป็นประจา คนอ่านสามารถเข้าใจ และเข้าถึง ข้อเขียนนั้นได้ง่าย และเร็ว การนาเสนอเรื่องทั่วๆไป เรื่องใกล้ใน มุมมองที่แตกต่างออกไป ในความคิดเห็นของคุณเอง ช่วยให้ ข้อเขียนหรือบทความนั้นน่าสนใจยิ่งขึ้น เพิ่มเติมมุมมองต่าง นาการเปรียบเทียบเหตุการณ์ที่คล้ายกันมา เขียน ช่วยให้เรื่องมีความน่าสนใจ ไม่ซ้าซากจาเจ อาจเลือกหัวข้อ ในที่ทางาน เพื่อนที่โรงเรียน เรื่องของคนข้างบ้านที่มีความ น่าสนใจ มีความแตกต่าง และเป็นเรื่องที่มีประเด็น สามารถนามา เรียบเรียงให้เป็นบทความที่น่าอ่านได้ หรือเรื่องที่อยู่รอบๆตัวคุณ ตัวที่อยู่ใกล้ชิดคุณ ก็เป็นวัตถุดิบชั้นดีในการนามาเขียนบทความ ได้
  • 6. เขียนด้วยแรงผลักดัน แรงผลักดันดูเป็นเหมือนนามธรรม ไม่มีอยู่จริง แท้จริงแล้ว มัน อยู่ในใจ อยู่ในชีวิตของคุณ แรงผลักดันที่จะทาให้คุณเขียนมันให้ได้ ให้ดี เขียนให้เสร็จ เหมือนเป็นบทความที่คุณอยากจะเขียน มากมาย ไม่ว่าสิ่งนั้นคืออะไร ผมไม่สามารถบอกคุณได้ มีแค่ตัว คุณเท่านั้นที่จะรู้ และต้องบอกตัวเองให้เขียน  หากคุณต้องทาเงินจากเขียน ไม่เขียนก็ไม่มีกิน นั้นคือ ความจาเป็น นั้นคือแรงผลักดัน  หากคุณต้องการที่จะเป็นนักเขียนให้ได้ มีผลงานตีพิมพ์ลง หนังสือ มีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับ นั่นคือแรงผลักดัน  หากคุณต้องการที่เผยแพร่แนวคิด ให้ผู้คนมากมายในโลก นี้ได้รับรู้ รับทราบ นั่นคือแรงผลักดัน ไม่ว่ามันจะคืออะไร แรงผลักดันนี้แหละ ที่จะทาให้คุณกล้าที่จะ เขียน กล้าที่จะทามันทุกๆวัน กล้าที่จะเผยแพร่ข้อเขียน หรือ บทความของคุณออกไปสู่สาธารณะ ทั้งหมดที่กล่าวมานั้น คือเทคนิคเล็กๆน้อยๆ สาหรับคนที่มีปัญหา เรื่องการเขียนบทความ แต่แน่นอนว่าพื้นฐานของคุณต้องมี พอสมควร การจะมีพื้นฐานการเขียนที่ดีได้นั้น เกิดจากการหา
  • 7. วัตถุดิบใหม่ๆในการเขียน การมองโลก มองเรื่องต่างๆที่เกิดขึ้น ใน มุมที่ต่างออกไป จะสามารถช่วยให้คุณมองเห็นความต่างใน เรื่องราว หรือเหตุการณ์นั้นๆ การหาวัตถุดิบมาเพื่อเขียนบทความนั้น หาได้ง่าย ทั้งจากการ อ่าน ก็สามารถช่วยได้เยอะ ชีวิตประจาวันของคุณในแต่ละวันก็ใช่ บทสนทนา คาพูดบางคา หรือพฤติกรรมบางอย่าง สามารถ นามาขยายความ และเปรียบเทียบ สร้างเป็นเรื่องราว บทความ นั้นก็ยิ่งน่าสนใจยิ่งขึ้น หากคุณเป็นมือใหม่ที่เพิ่งหัดเขียนบทความ ผมแนะนาอีกอย่างที่ เป็นหัวใจหลักของการทาทุกๆอย่าง ไม่เว้นกระทั้งการเขียน นั้น คือ ความขยัน ยิ่งคุณเขียนไม่เก่งเท่าไหร่ คุณยิ่งต้องขยันมากขึ้น การฝึกเขียนทุกๆวัน ช่วยให้เกิดความชานาญในการเขียนมากขึ้น เครดิต: http://www.ewritor.com/article-writing.php