SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เราก็ไม่จาเป็นจะต้องมีคุณสมบัติพิเศษ
หรือฉลาดล้าเลิศแต่อย่างใดในการที่จะเฝ้าดูลมหายใจของเรา
เพียงแต่เราพอใจอยู่กับมันระลึกรู้อยู่ทุกลมหายใจเข้าออก ก็เท่านั้น
อันสติปัญญาหรือความเฉลียวฉลาดนั้น
มิใช่จะได้มาจากการเรียนรู้ทฤษฎีหรือปรัชญาอันสูงส่ง
แต่ได้จากการเฝ้าสังเกตสิ่งที่เป็นปกติธรรมดานี้เอง
พระอาจารย์สุเมโธ
การใช้ชีวิตเพื่อการเสียสละหรือการปล่อยวาง
ไม่ใช่เรื่องของการได้หรือการเอา
แม้แต่การได้ฌานก็ยังเป็นเรื่องของการสละออกไป
ไม่ใช่เรื่องของการบรรลุถึง เมื่อเราสละละวางได้มากเท่าใด
ปล่อยวางออกไปได้มากเท่าใด
หลังจากนั้น สภาวะของฌาน ก็จะเกิดขึ้นมาเองตามธรรมชาติ
พระอาจารย์สุเมโธ
ที่มา : เพจบ้านจตุรทวีปประทาน เพื่องานพระศาสนา
พระพุทธเจ้าทรงแน่วแน่กับสิ่่งที่ได้ตรัสสอนว่าสิ่งที่สาคัญที่สุด
คือการฝึกจิต ให้เข้าใจและปล่อยวางสิ่งที่ไม่ใช่ตัวตนของเรา
โดยความเข้าใจนี้ แก่นแท้ธรรมชาติของตัวเราและสิ่งทั้งหลาย
จะเผยตัวออกมาเอง พระพุทธองค์ทรงสอนไว้ชัดเจนมากว่า
ประสบการณ์ความเข้าใจในสัจธรรม ...
ไม่สามารถสรุปย่อเป็นหลักการ หรือสื่อได้โดยใช้คาพูด
สิ่งที่สาคัญที่สุด คือ การฝึกจิต
พระอาจารย์สุเมโธ
ความทรงจา ความคิด อารมณ์
ความรู้สึกและความเห็นต่างๆ เหล่านี้
ไม่ใช่เรา หรือสิ่งที่เป็นตัวเราเลย
แต่เป็นแค่เพียงรูปแบบต่างๆ
ของประสบการณ์ที่ผ่านเข้ามา แล้วก็ผ่านไป
พระอาจารย์สุเมโธ
ตัวปัญหานั้นคือการเกาะเกี่ยวอย่างไม่ลืมหูลืมตาอยู่กับกามภพ
ท่านไม่จาเป็นต้องสลัดโลกทิ้ง แต่เรียนรู้จากมัน เฝ้าดู และไม่หลงไปกับมัน
ใช้ปัญญาของพระพุทธเจ้าเจาะทะลวงเข้าไปโดยเฝ้าสาเหนียก เฝ้าสังเกต ตื่นอยู่ รู้ตัวอยู่...
พระอาจารย์สุเมโธ
คุณภาพของชีวิตอยู่ที่มุมมองและวิธีปฏิบัติของเราต่างหาก
ถ้าเราฝึกอบรมจิตใจของเราให้เป็นจิตที่โปร่งโล่งเบาสบาย
เราก็ไม่จาเป็นต้องไปพึ่งวัตถุภายนอก หรือหาสิ่งประกันให้กับชีวิต
เพราะจิตที่สบายเช่นนั้นแหละ จะเป็นประกัน เป็นที่พึ่งที่แท้จริงของเราตลอดไป
พระอาจารย์สุเมโธ
ธรรมของพระพุทธเจ้านั้นเป็นคาสอนที่ตรง
การฝึกปฏิบัติของเรา มิได้มีความมุ่งหมายที่จะให้สาเร็จบรรลุมรรคผลอันใด
แต่เพื่อให้รู้แจ้งในปัจจุบันขณะเท่านั้น
พระอาจารย์สุเมโธ
โลกที่แท้จริงนั้นดาเนินไปตามรูปแบบของการเกิดขึ้นดับไป
เกิดขึ้นดับไป เช่นเดียวกับลมหายใจ...
เมื่อเราเฝ้าดูลมหายใจก็เท่ากับเฝ้าดูธรรมชาติ
และเมื่อเราเข้าใจธรรมชาติของลมหายใจ
เราก็เข้าใจธรรมชาติของสังขารทั้งหลาย
ถ้าเราจะพยายามทาความเข้าใจกับสภาวะที่เกิดจากปัจจัยปรุงแต่ง
ในแง่มุมอันหลากหลายแล้วละก็
จะเป็นเรื่องยุ่งยากยิ่งเกินกาลังที่จิตของเราจะทาได้
เราจึงเรียนรู้จากของง่ายๆ อย่างนี้
พระอาจารย์สุเมโธ
การดาเนินทางพระพุทธศาสนานั้นคือ การพัฒนาปัญญา...
ปัญญาในที่นี้ คือความสามารถที่จะเฝ้าสังเกตความยึดมั่นถือมั่น
และทาความรู้ความเข้าใจ แล้วก็ปล่อยวางไป
ไม่ไปยึดอยู่กับความนึกคิด ว่าจะไม่ยึดมั่นถือมั่น
เพราะการยึดอยู่กับความนึกคิดเช่นนั้น ...
ก็เป็นการยึดมั่นถือมั่นอีกเช่นกัน
พระอาจารย์สุเมโธ
บทเรียนส่วนใหญ่ในชีวิต
คือการเรียนรู้เพื่อเผชิญสิ่งที่ไม่ถูกใจ ในตัวเราเองและโลกรอบๆ ตัวเรา
โดยให้รู้จักอดทน และรู้จักมีเมตตาไม่ฉุนเฉียวไปกับความรู้สึกทางประสาทสัมผัส
ที่ไม่ได้ดังที่ใจต้องการ
พระอาจารย์สุเมโธ
การพึ่งในพระพุทธองค์ พึ่งในพระพุทธปัญญา คือการมีที่พึ่งอันปลอดภัย
เมื่อเรามีปัญญา เราประพฤติปฏิบัติ และมีความเป็นอยู่อย่างฉลาด เราก็ปลอดภัยอย่างแท้จริง ...
ปัญญาในที่นี้ไม่ได้หมายความว่ารู้เรื่องโลก...หมายถึงรู้จักธรรมชาติของสภาวะต่างๆ ตามที่เราได้พบเอง
ไม่ใช่ไปติดอยู่กับสิ่งปรุงแต่งตามนิสัยเดิมของเรา
ใช้ ‘พุทโธ’ พิจารณาความไม่เที่ยงของสิ่งที่เกิดจากปัจจัยปรุงแต่งเหล่านั้น
ความรู้ถึงความไม่เที่ยงหรืออนิจจังนี้แหละที่เราเรียกว่า ‘พุทธ’ และนี้แหละคือที่พึ่ง
พระอาจารย์สุเมโธ
การจะนั่งลงแล้วคิดโน่นคิดนี่ตลอดเวลานั้น มันง่ายกว่านั่งลงแล้วไม่คิด เพราะเราติดนิสัยอย่างนั้นมานานแล้ว
แม้ความคิดที่ว่า “จะไม่คิด” มันก็ยังเป็นความคิดอย่างหนึ่งอยู่ดี ถ้าจะไม่คิด เราต้องมีสติ แล้วเพียงเฝ้าสังเกตและฟัง
การเคลื่อนของจิต แทนที่จะคิดเรื่องจิต เราจะเฝ้าดูมัน และแทนที่จะไปติดอยู่กับความคิดความฝัน เราจะรู้ทันมัน
ความคิดเป็นการเคลื่อนไหว เป็นพลังผ่านมาแล้วก็ผ่านไป ไม่เที่ยง เราเพียงแต่รู้ไว้ว่าความคิดก็เป็นเพียงความคิด
โดยไม่ต้องไปประเมินคุณค่าหรือแยกแยะแต่ประการใด แล้วมันจะเบาบางลงไปและจะระงับไปในที่สุด นี้ไม่ได้หมายความว่า
จงใจไปประหัตประหารมัน แต่ยอมให้ระงับไปเอง เป็นลักษณะของความเมตตา นิสัยที่ชอบคิดจะเหือดหายไป
ความว่างอันไพศาลชนิดที่ไม่เคยประสบมาก่อนก็จะปรากฎแก่ท่าน
พระอาจารย์สุเมโธ
เมื่อพระเยซูถูกตรึงไว้บนไม้กางเขน เราจะเห็นได้ชัดเจนถึงตัวอย่างของคนที่กาลังเจ็บปวดอย่างทารุณที่สุด
ต่อหน้าฝูงชน กระนั้นก็ดีพระเยซูไม่ได้โทษใครเลย กลับตรัสว่า
“โปรดประทานอภัยให้แก่เขาเหล่านั้นด้วยเถิด เพราะเขาไม่รู้ว่าได้ทาอะไรลงไป” นี้เป็นสัญลักษณ์ของปัญญา
หมายความว่า ถึงแม้จะมีคนมาตรึงเราบนไม้กางเขน เฆี่ยนฆ่าเรา ดูหมิ่นเหยียดหยามทุกอย่าง แต่ความชิงชัง
ความใจแคบเห็นแก่ตัวนั้นต่างหากที่เป็นตัวปัญหา เป็นความทุกข์ ถ้าพระเยซูคริสต์ตรัสออกไปว่า
“มันผู้ใดมาทาเรา มันผู้นั้นจงพินาศทุกคน” แล้วละก็ ท่านจะกลายเป็นอาชญากรคนหนึ่งไปด้วย
และอีกสองสามวันต่อมาคนก็จะลืมหมด
พระอาจารย์สุเมโธ
.เมื่อเราได้เห็นแล้วว่า การยึดมั่นอยู่กับความสวยงาม ความลุ่มหลง
ความเพลิดเพลินในกามคุณ จะนาเราไปสู่ความผิดหวังในที่สุดเช่นนี้แล้ว
ท่าทีของเราก็คือไม่ยึดมั่นถือมั่น ทั้งนี้มิได้หมายความว่า
จงใจจะประหัตประหาร แต่จะปล่อยวางไปเฉยๆ ไม่เกี่ยวเกาะอีกต่อไป
พระอาจารย์สุเมโธ
ถ้าเราเคยชินกับการมองผ่านกระจกหน้าต่างที่สกปรก
ทุกสิ่งที่เห็นก็จะดูหมองมัวน่าเกลียดไปด้วย
การปฏิบัติจิตภาวนา เป็นการเช็ดกระจกให้หมดจดผ่องใส
เป็นการชาระจิตใจให้บริสุทธิ์ ยอมให้ทุกสิ่งเข้ามาในความรับรู้อารมณ์
แล้วยอมให้มันผ่านออกไป และด้วยปัญญาของพระผู้มีพระภาคเจ้า
เราจะเฝ้าสังเกตความเป็นไปของสิ่งทั้งปวงตามที่เป็นจริง ไม่ติดที่ความงาม
ไม่ติดที่ความบริสุทธิ์แห่งจิต เพียงแต่กาหนดรู้ไว้เท่านั้น
การพิจารณาความเป็นไปของธรรมชาติด้วยปัญญาเช่นนี้ จะทาให้เราไม่หลงอีกต่อไป
พระอาจารย์สุเมโธ
เมื่อพิเคราะห์ด้วยปัญญา
เราจะเข้าใจสิ่งที่เป็นบ่อเกิดแห่งทุกข์ เราจะมองเห็นว่า แท้จริงแล้ว
เราเองนั่นแหละเป็นผู้สร้างทุกข์ ด้วยอวิชชาหรือความโง่เขลา
ไม่เข้าใจโลกอย่างแท้จริง เราจึงติดอยู่กับสิ่งที่ไม่เที่ยง สิ่งที่ไม่น่าเอา ไม่น่าเป็น
สิ่งที่นาไปสู่ความสิ้นหวังและความตาย โลกนี้เป็นโลกแห่งความเศร้า มันมืดมนก็เพราะเรามีอุปาทาน
เพราะเราไปยึดอยู่กับสิ่งที่เป็นทุกข์ เมื่อใดเราหยุดทาเช่นนั้น เมื่อใดเราปล่อยวาง ความเห็นแจ้งก็จะปรากฎ
พระอาจารย์สุเมโธ
นิพพานไม่ใช่ภาวะที่ไม่มีอะไรเลย หรือภาวะซึ่งถูกทาลายล้างจนหมดสิ้น
แต่เป็นเสมือนความว่าง เป็นการเข้าไปในความว่างแห่งจิต
ที่ซึ่งท่านไม่ยึดมั่นเหนี่ยวรั้ง ไม่หลงไปกับปรากฎการณ์ของสิ่งทั้งปวง ไม่
เรียกร้องอะไรจากโลก ท่านเพียงแต่รู้จักมันเมื่อมันเกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไป
พระอาจารย์สุเมโธ
ถ้าเรายึดมั่นอยู่กับความหวัง เราจะพบความสิ้นหวัง
ถ้าเรายึดอยู่กับความตื่นเต้น เราจะเบื่อหน่าย...
พระอาจารย์สุเมโธ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิTeacher Sophonnawit
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนMI
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกMI
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo larMI
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
สรุปชื่อจริงจาว่า 4 ชื่อสุดท้าย
สรุปชื่อจริงจาว่า 4 ชื่อสุดท้ายสรุปชื่อจริงจาว่า 4 ชื่อสุดท้าย
สรุปชื่อจริงจาว่า 4 ชื่อสุดท้ายnewyok1
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
พระป่ากับคติธรรม
พระป่ากับคติธรรมพระป่ากับคติธรรม
พระป่ากับคติธรรมWachiraporn Kamnak
 
ธรรม
ธรรมธรรม
ธรรมaon04937
 
สรุปชื่อจริง 4 ชื่อสุดท้าย
สรุปชื่อจริง 4 ชื่อสุดท้ายสรุปชื่อจริง 4 ชื่อสุดท้าย
สรุปชื่อจริง 4 ชื่อสุดท้ายnewyok1
 

Was ist angesagt? (15)

ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
สรุปชื่อจริงจาว่า 4 ชื่อสุดท้าย
สรุปชื่อจริงจาว่า 4 ชื่อสุดท้ายสรุปชื่อจริงจาว่า 4 ชื่อสุดท้าย
สรุปชื่อจริงจาว่า 4 ชื่อสุดท้าย
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
พระป่ากับคติธรรม
พระป่ากับคติธรรมพระป่ากับคติธรรม
พระป่ากับคติธรรม
 
ธรรม
ธรรมธรรม
ธรรม
 
สรุปชื่อจริง 4 ชื่อสุดท้าย
สรุปชื่อจริง 4 ชื่อสุดท้ายสรุปชื่อจริง 4 ชื่อสุดท้าย
สรุปชื่อจริง 4 ชื่อสุดท้าย
 

Mehr von MI

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกMI
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตMI
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญMI
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำMI
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์MI
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙MI
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarmMI
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11MI
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotesMI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20MI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20MI
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113MI
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112MI
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1MI
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3MI
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1MI
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1MI
 
Luangpor intawai19
Luangpor intawai19Luangpor intawai19
Luangpor intawai19MI
 
Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18MI
 
Luangpor intawai17
Luangpor intawai17Luangpor intawai17
Luangpor intawai17MI
 

Mehr von MI (20)

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1
 
Luangpor intawai19
Luangpor intawai19Luangpor intawai19
Luangpor intawai19
 
Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18
 
Luangpor intawai17
Luangpor intawai17Luangpor intawai17
Luangpor intawai17
 

Pra a jarn sumaeto