SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ความสงบในที่นี้ หมายถึง ใจของเรามันวางจากอารมณ์ภายนอก
แม้สิ่งใดจะผ่านเข้ามา เช่น
อย่างรูปผ่านเข้ามาทางตา เสียงผ่านเข้ามาทางหู
กลิ่นผ่านเข้ามาทางจมูก รสผ่านเข้ามาทางลิ้น อย่างนี้ เป็ นต้น
ใจไม่ยึด ใจไม่ถือ ใจวางเสีย นั้นแหละ ...
เรียกว่า ได้รับความสุขกาย สบายใจ
หลวงปู่ จันทร์ศรี จนฺททีโป
ค่อยทำค่อยไป คือไม่ให้ควำมอยำกมันเข้ำมำขัดขวำงจิตใจของเรำ เช่น อยำกให้จิตมันสงบ
อยำกให้จิตเป็นสมำธิ อยำกให้จิตมันสว่ำงไสว อยำกให้จิตมันเห็นนรก สวรรค์
อันนี้เรียกว่ำเป็นพญำมำร คือเป็นข้ำศึกอย่ำงสำคัญ
ที่เข้ำมำกั้นไม่ให้เรำบำเพ็ญคุณงำมควำมดี.
หลวงปู่ จันทร์ศรี จนฺททีโป
ถ้าเขายกย่องเราว่าปฏิบัติดี เราต้องถามตัวของเราอีกว่า เราดีอย่างเขาพูดหรือไม่
ถ้าเขาว่าเราชั่ว เราก็ถามตัวของเราอีกว่า เราชั่วอย่างเขาว่าหรือไม่
ถ้าใจมันวางได้ มันไม่ยึด ไม่ถือ ไม่เอามาเป็นอารมณ์ จิตนั้นก็ได้รับความสบาย
นั่นแหละเรียกว่าเป็นผลแห่งการปฏิบัติ
คำว่ำ "เจริญก้ำวหน้ำทำงธรรม"มิใช่เจริญด้วยยศศักดิ์เหมือนทำงโลก
หำกหมำยถึง "ใจ" ที่นิ่ง หนักแน่น มั่นคง คลำยควำมยึดติดในโลก
หำกผู้ใดยังหลงในยศศักดิ์ ก็ชื่อว่ำหลงตนและหลงโลก
เพรำะสิ่งนั้นเป็นของประจำโลก
กำรรักษำจิตนั้น จะรักษำไปทำไม..?
คือ รักษำไม่ให้มันยุ่ง มันไปยุ่งเกี่ยวกับอำรมณ์ส่วนไหน
ก็ใช้สติ และสัมปชัญญะคอยแก้ไข ให้มันละ มันวำงอำรมณ์สิ่งเหล่ำนั้นเสียได้
นั่นเรียกว่ำ..เป็นผู้มีปัญญำ
ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญญูหิ
อันวิญญูชนจะพึงรู้ได้เฉพาะตน
คือตนของตนเอง เมื่อปฏิบัติไป
จะเกิดความรู้ขึ้นในจิตใจของเรานั้นโดยเฉพาะ
ส่วนบุคคลอื่นนั้น เป็นแต่ผู้บอก
เมื่อจิตเรำไม่ยึด ก็เรียกว่ำ จิตมันไม่รับ
เหมือนกับใบบัวที่เรำเทน้ำลงไป
น้ำก็ไม่สำมำรถที่จะซึมซำบเข้ำไปในใบบัวนั้น
ฉันใดก็ดี อำรมณ์ต่ำงๆ จะเป็นอำรมณ์ดี อำรมณ์ไม่ดี
เมื่อมันเข้ำมำถึงใจเรำแล้ว ถ้ำใจเรำเป็นอย่ำงใบบัว
อำรมณ์นั้นก็ไม่ติดอยู่ในใจ
ตั้งใจ ตั้งสติ คือ ความระลึกได้ สัมปชัญญะ
คอยควบคุมจิตใจ ไม่ให้แส่ไปในอารมณ์
ที่ทําให้เราโลภ เราโกรธ เราหลง อยู่ทุกเวลานาที
ถ้าทําอย่างนี้ ได้ชื่อว่า การสร้างชีวิตของเรา ให้เป็นกําไรในภพนี้
ควำมรักดูเหมือนหอมหวำน ควำมชั่วดูเหมือนเผ็ดร้อน
ทั้งสองนี้เป็นอำรมณ์สุดโต่ง
มีอำนำจเหนือเรำเมื่อใด จะทำร้ำยเรำอย่ำงเจ็บปวดที่สุด
ในทำงโลก กำรได้มำมำกๆ เป็นสิ่งที่ทุกคนปรำรถนำ
แต่ในทำงธรรม กำรสละสิ่งที่มีมำกๆ ให้หมดไป
แม้แต่สิ่งละเอียดอ่อน ภำยในใจได้ … ท่ำนว่ำ ประเสริฐสุด

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von MI

Mehr von MI (20)

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 

Luangpoo chansri