SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 113
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แผนพัฒนาสามปี
(พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๑)
เทศบาลเมืองวังสะพุง
อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย
********************************************************
งานวิเคราะห์นโยบายและแผน
กองวิชาการและแผนงาน
โทร ๐-๔๒๘๔-๑๓๙๓ ต่อ ๒๑
สารบัญ
หน้า
ส่วนที่ 1 บทนา
1.1 ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี 1-1
1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทาแผนพัฒนาสามปี 1-1
1.3 ขั้นตอนในการจัดทาแผนพัฒนาสามปี 2-2
1.4 ประโยชน์ของการจัดทาแผนพัฒนาสามปี 2-2
ส่วนที่ 2 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมา
2.1 การสรุปสถานการณ์พัฒนา 3-15
2.2 การประเมินผลการนาแผนพัฒนาไปปฏิบัติในเชิงปริมาณ 16-18
2.3 การประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาในเชิงคุณภาพ 19-21
ส่วนที่ 3 การนาแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติ
3.1 แนวทางการพัฒนาหรือกลยุทธ์ตามแผนยุทธศาสตร์ 22-30
3.2 บัญชีโครงการพัฒนา
ผ 01 บัญชีโครงการพัฒนา 31-83
ผ 03 บัญชีสรุปโครงการพัฒนา 84-86
ส่วนที่ 4 แนวทางการติดตามประเมินผล
4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล 87-88
4.2 ระเบียบ วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและประเมินผล 88-98
ภาคผนวก ก รูปแผนที่ตามแผนพัฒนาท้องถิ่น
ข การประเมินคุณภาพของแผน
******************************************
ส่วนที่ 1
บทนา
ส่วนที่ 2
สรุปผลการพัฒนา
ท้องถิ่นในปีที่ผ่านมา
ส่วนที่ 3
การนาแผนพัฒนา
สามปีไปสู่การปฏิบัติ
ส่วนที่ 4
แนวทางการติดตาม
ประเมินผล
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข
ส่วนที่ 1
บทนา
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
2548 กําหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกท้องถิ่น ดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาสามปีให้แล้วเสร็จ ภายใน
เดือนมิถุนายนก่อนงบประมาณประจําปี เทศบาลเมืองวังสะพุง จึงได้จัดทําแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2561)
เทศบาลเมืองวังสะพุงขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมการสําหรับการพัฒนาในอนาคต โดยให้ความสําคัญกับการสร้าง
กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมทุกระดับภายใต้หลักการ คือ การร่วมคิด ร่วมทํา และร่วม
ผลักดันตามบทบาท และความรับผิดชอบของแต่ละภาคส่วน ให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของ
ประชาชน รวมถึงกฎหมาย/ระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดําเนินการตามยุทธศาสตร์และแนวทางการ
พัฒนาที่กําหนดให้สําเร็จลุล่วงบรรลุวัตถุประสงค์และเปูาหมายการพัฒนา และสามารถนําไปปฏิบัติได้จริง
ตลอดจนได้รับการสนับสนุนในด้านต่างๆ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาสามปี หมายความว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา อันมีลักษณะเป็นการกําหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาที่
จัดทําขึ้นสําหรับมีงบประมาณแต่ละปี ซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้าครอบคลุมระยะเวลาสามปี โดยมี
การทบทวนเพื่อปรับปรุงเป็นประจําทุกปี
1.1 ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี
1. เป็นแผนที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
2. เป็นแผนที่แสดงแนวทางการพัฒนาและวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจนและมี
ลักษณะเฉพาะเจาะจงที่ดําเนินการ
3. เป็นแผนที่แสดงโครงการ กิจกรรมการพัฒนาที่จะดําเนินการเป็นห้วงระยะเวลาสามปี
4. เป็นแผนที่แสดงความเชื่อมโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากับงบประมาณรายจ่าย
ประจําปี
1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทาแผนพัฒนาสามปี
1. เพื่อแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงและสอดคล้องกันระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น และการจัดทํางบประมาณประจําปีไปในทิศทางเดียวกัน
2. เพื่อแสดงแนวทางขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาในช่วงสามปีที่มีความสอดคล้องกับ
ความต้องการของประชาชน และสามารถแก้ไขปัญหาของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อเป็นการจัดเตรียมโครงการพัฒนาต่างๆให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมบรรจุในเอกสารงบประมาณ
รายจ่ายประจําปี และนําไปปฏิบัติได้ทันทีเมื่อได้รับงบประมาณ
2
1.3 ขั้นตอนการจัดทาแผนพัฒนาสามปี
เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ดําเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับประชาคมท้องถิ่น กําหนดประเด็นหลักการพัฒนาให้
สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจและจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา รวมทั้งสอดคล้อง
กับปัญหาและความต้องการของชุมชน โดยให้นําข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่างๆ และข้อมูลใน
แผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทําแผนพัฒนาสามปี
2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น รวบรวมประเด็นหลักการพัฒนาปัญหาและ
ความต้องการและข้อมูลนํามาจัดทําร่างแผนพัฒนาสามปีและเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น
3. คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนสามปีเพื่อเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่น
4. ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติร่างแผนพัฒนาสามปี และประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี
1.4 ประโยชน์การจัดทาแผนสามปี
1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแผนพัฒนาสามปี เพื่อทําให้ปฏิบัติสอดคล้องกับแผนเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้จัดทําแล้ว
2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีแผนพัฒนาสามปีเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการดําเนินการพัฒนา
ในช่วงสามปีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3
ส่วนที่ 2
สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมา
2.1 การสรุปสถานการณ์พัฒนา
เทศบาลเมืองวังสะพุง จัดตั้งขึ้นตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงฐานะเทศบาล
ตําบลวังสะพุง อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เป็นเทศบาลเมืองวังสะพุง เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2554 สํานักงาน
(หลังเก่า) ตั้งอยู่เลขที่ 303 ถนนประชาเสรี ม.5 ตําบลวังสะพุง อําเภอวังสะพุง และสํานักงาน(หลังใหม่) เลขที่
222 ถนนประชาเสรี ม.5 ตําบลวังสะพุง อําเภอวังสะพุง อยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดเลย ห่างจากจังหวัดเลย
ระยะทาง 20 กิโลเมตร
ตราประจาเทศบาล
เทศบาลเมืองวังสะพุง มีตราประจําเทศบาล เป็นรูปปราสาท แม่น้ํา และ
ต้นไม้
ความหมาย
ปราสาท คือ ที่อยู่ของเจ้าผู้ครองเมืองวังสะพุง ที่นําความเจริญรุ่งเรืองมา
ช้านาน
แม่น้ํา คือ แม่น้ําเลยไหลผ่านกลางเมือง ซึ่งหมายถึงความอุดมสมบูรณ์
มีวังน้ําวน มีทรัพยากรทางน้ําหาได้ตลอดทั้งปี
ต้นไม้ คือ ต้นสะพุง เป็นต้นไม้ที่มักเกิดในปุาที่มีดินอุดมสมบูรณ์ มีลําต้น
ตรง สูงประมาณ 15-20 เมตร กว้าง 5-7 คนโอบ ตั้งอยู่ใกล้ปราสาทริมน้ํา
เลยซึ่งหมายถึง ความร่มเย็นเป็นสุขของเมืองวังสะพุง
ลักษณะที่ตั้ง เทศบาลเมืองวังสะพุง ตั้งอยู่ในพื้นที่ราบลุ่ม ล้อมรอบด้วยภูเขา มีแม่น้ําที่สําคัญไหล
ผ่าน คือ แม่น้ําเลย ซึ่งมีต้นกําเนิดจากภูหลวง ด้านอําเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ไหลผ่านอําเภอภูหลวง
อําเภอวังสะพุง อําเภอเมือง และไหลลงสู่แม่น้ําโขงที่อําเภอเชียงคาน
อาณาเขต
- ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตําบลปากปวน เริ่มจากหลักเขตที่ 1 ตั้งอยู่ที่บริเวณสามแยกทางออกไปจังหวัด
เลย ตามหลักกิโลเมตรที่ 331450 ตัดผ่านถนนสาย เลย–ขอนแก่น ที่หลักเขตที่ 2 ตัดเชื่อมถนนด้านนอกทางทิศ
ตะวันตก ห่างจากถนน 100 เมตร ตรงไปจรดหลักเขตที่ 3 ระยะทาง 4,500 เมตร
- ทิศใต้ ติดต่อกับ ตําบลทรายขาว เริ่มจากหลักเขตที่ 1 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านทางหลวง
จังหวัด หมายเลข 21400101 ไปจดถนนศาลเจ้าไปยังหลักเขตที่ 7 ระยะทาง 600 เมตร
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตําบลศรีสงคราม เริ่มจากหลักเขตที่ 3 วกข้ามสะพาน ลําน้ําเลยทางทิศ
เหนือบ้านบุ่งไสล่ ไปยังหลักเขตที่ 4 ระยะทาง 300 เมตร และเลียบริมฝั่งลําน้ําเลยด้านในไปยังหลักเขตที่ 5
ระยะทาง 1,800 เมตร
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตําบลวังสะพุง เริ่มจากหลักเขตที่ 5 ไปทางทิศตะวันตกของบ้านบุ่งผักก้าม
เลียบฝั่งลําน้ําเลยครอบคลุมพื้นที่หนองบุ่งผักก้ามทั้งหมดไปจนถึงหลักเขตที่ 6 อ้อมไปจดหลักเขตที่ 7 ระยะทาง
1,300 เมตร
4
เขตการปกครอง เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 ตําบล 9 หมู่บ้าน
ดังนี้
1. ตาบลวังสะพุง จํานวน 7 หมู่บ้าน คือ
1. บ้านบุ่งผักก้าม หมู่ที่ 3
2. บ้านปากเปุง หมู่ที่ 4
3. บ้านบุ่งคล้า หมู่ที่ 5
4. บ้านนาหลัก หมู่ที่ 6
5. บ้านเลิง หมู่ที่ 8
6. บ้านวังสะพุง หมู่ที่ 9
7. บ้านศรีบุญเรือง หมู่ที่ 10
2. ตาบลศรีสงคราม จํานวน 2 หมู่บ้าน คือ
1. บ้านน้อยนา หมู่ที่ 1
2. บ้านบุ่งไสล่ หมู่ที่ 2
ปัจจุบันได้ประกาศจัดตั้งเป็นชุมชนโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 50 (7) แห่งพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. 2496 และระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีปฏิบัติงานของเทศบาล พ.ศ. 2496 ข้อ 6(5)
พร้อมทั้งระเบียบเทศบาลตําบลวังสะพุง ว่าด้วยคณะกรรมการชุมชน พ.ศ. 2544 ซึ่งประกาศจัดตั้งชุมชน
ทั้งหมด 20 ชุมชน ประกอบด้วย
1) ชุมชนบ้านนาหลัก 1 11) ชุมชนบุ่งคล้าน้อย
2) ชุมชนบ้านนาหลัก 2 12) ชุมชนบุ่งผักก้าม
3) ชุมชนบ้านศรีบุญเรือง 1 13) ชุมชนบุ่งผักก้ามสามัคคี
4) ชุมชนบ้านศรีบุญเรือง 2 14) ชุมชนหนองเงิน
5) ชุมชนวัดศรีชมชื่น 15) ชุมชนบ้านเลิง
6) ชุมชนวัดจอมมณี 1 16) ชุมชนบ้านบุ่งไสล่ 1
7) ชุมชนวัดจอมมณี 2 17) ชุมชนบ้านบุ่งไสล่ 2
8) ชุมชนบ้านวังสะพุง 1 18) ชุมชนบ้านน้อยนา
9) ชุมชนบ้านวังสะพุง 2 19) ชุมชนร่วมใจพัฒนา
10) ชุมชนบุ่งคล้า 20) ชุมชนวัดวังสะพุงพัฒนาราม
พื้นที่ เขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีพื้นที่ 6.07 ตารางกิโลเมตร
ประชากร จํานวนประชากรในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง
ปี ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน)
2553 6,132 6,393 12,525
2554 6,035 6,339 12,374
2555 5,959 6,253 12,212
2556 5,896 6,223 12,119
2557 5,843 6,178 12,021
หมายเหตุ : ข้อมูล ณ เดือนธันวาคมของทุกปี
5
ข้อมูลโครงสร้างด้านต่างๆ ของเทศบาลเมืองวังสะพุง
1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
เนื่องจากเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีประชากรอยู่ในความดูแลเป็นจํานวนมาก ประกอบกับมี
อัตรากําลัง และเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ไม่เพียงพอกับภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในด้านต่างๆของ
เทศบาล แต่อย่างไรก็ตามในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เทศบาลเมืองวังสะพุงได้ตั้งงบประมาณเพื่อก่อสร้าง
ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เช่น ก่อสร้างปรับปรุงถนนสายต่างๆ วางท่อระบายน้ํา ปรับปรุงไฟฟูา
สาธารณะ ปรับปรุงภูมิทัศน์และทัศนียภาพต่างๆ รวมถึงโครงการที่เป็นการพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆของ
ประชาชน การพัฒนาด้านการศึกษาและกีฬา การส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน และการพัฒนา
ด้านต่างๆ อย่างเต็มความสามารถ ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ระบบบริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย
1.1 การคมนาคม / ขนส่ง
เทศบาลเมืองวังสะพุง มีการคมนาคมสะดวกสบาย มีเส้นทางติดต่อกับภาคเหนือและเส้นทางที่จะ
เดินทางสู่ภาคอื่นๆ ได้สะดวกโดยทางรถยนต์
มีสถานีขนส่งวังสะพุง ให้บริการประชาชน ประกอบด้วย รถโดยสารประจําทาง มีทั้งรถปรับอากาศ
ชั้น 1 ปรับอากาศชั้น 2 และรถโดยสารธรรมดา เส้นทางระหว่างเมืองเลย–กรุงเทพฯ,เชียงคาน–กรุงเทพฯ
,นครพนม – เชียงราย , อุดรธานี–เชียงใหม่, เมืองเลย–ขอนแก่น , เมืองเลย–อุดรธานี, เชียงคาน–นครราชสีมา
ผ่านตลอดเวลา
1.2 การไฟฟ้า
การให้บริการด้านการไฟฟูา มีสํานักงานการไฟฟูาส่วนภูมิภาคสาขาอําเภอวังสะพุง ให้บริการกับ
ประชาชนในเขตพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่ภายในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีไฟฟูาใช้หมดแล้ว
1.3 การประปา
การให้บริการด้านน้ําประปา ในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง ปัจจุบันมีการประปาส่วนภูมิภาคสาขา
วังสะพุงรับผิดชอบเรื่องการดําเนินการระบบประปา และจําหน่ายน้ําประปาให้กับประชาชนในเขตเทศบาล
โดยกําลังมีการขยายระบบการผลิตน้ําประปาที่มีคุณภาพและพัฒนาการให้บริการประชาชนเพื่อให้ครอบคลุม
พื้นที่มากขึ้นในอนาคต
1.4 การสื่อสารและโทรคมนาคม
การให้บริการด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม ในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีที่ทําการไปรษณีย์
วังสะพุง ให้การบริการแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง
1.5 การติดต่อสื่อสาร
สํานักงานเทศบาลเมืองวังสะพุง มีหมายเลขโทรศัพท์ติดต่อดังนี้
1. หมายเลขโทรศัพท์ คือ 0-4284-1393 และ 0-4284-2135
2. โทรสาร 0-4284-1727
3. หมายเลขโทรศัพท์ภายใน ดังนี้
ห้อง/กอง/หน่วยงาน
หมายเลขโทรศัพท์
ภายใน
ห้อง/กอง/หน่วยงาน
หมายเลขโทรศัพท์
ภายใน
ห้องนายก 12 กองวิชาการฯ 21
ห้องรองนายก 13-14 กองสวัสดิการสังคม 22
ห้องสมาชิกสภา 17 กองการศึกษา 23
ห้องปลัดเทศบาล 18 กองสาธารณสุขฯ 24
สํานักปลัดเทศบาล 15 งานปูองกันฯ 25-26
กองคลัง 16 One stop service 11
กองช่าง 20 ห้องเสียงตามสาย 0-4284-1488
6
4. ให้บริการ Internet Wifi ฟรี จํานวน 3 จุด ได้แก่ หน้าสํานักงานเทศบาลเมืองวังสะพุง
ถนนอาหารชาววัง และบริเวณสวนสาธารณะคลองบุ่งคล้า
5. Email : wangsaphung001@gmail.com
www.wangsaphung.go.th
facebok.com/wangsaphung
1.6 การจราจร
ในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีระบบการจราจรที่คล่องตัวพอสมควร ส่วนใหญ่สภาพถนนดี ไม่ชํารุด
เสียหาย แต่บางส่วนยังคับแคบโดยเฉพาะในเขตชุมชน มีเส้นทางสายหลักเชื่อมต่อกับสายย่อยและสามารถ
เดินทางติดต่อถึงกันได้อย่างทั่วถึง โดยเทศบาลเมืองวังสะพุงได้ดําเนินการปรับปรุงถนนสายต่างๆ ทั้งสายหลัก
และสายรองให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอ
1.7 บริการสาธารณะอื่นๆ ปัจจุบันในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีระบบการบริการสาธารณะ ดังนี้
(1) สถานีดับเพลิง ปัจจุบันเทศบาลเมืองวังสะพุง มีรถยนต์ดับเพลิง ขนาด 170 แรงม้า จํานวน 2 คัน
ขนาดบรรจุ 2,000 ลิตร และรถยนต์บรรทุกน้ําขนาด 190 แรงม้า จํานวน 1 คัน ขนาดบรรจุ 6,000 ลิตร
รถกู้ภัย จํานวน 1 คัน และเทศบาลมีโครงการจะจัดหาเพิ่มเติมเพื่อให้เพียงพอในการให้บริการ
(2) ตลาด เทศบาลเมืองวังสะพุง มีตลาดอยู่ 2 แห่ง คือ ตลาดสดเทศบาล และตลาดเอกชนบ้าน
นาหลัก ซึ่งสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง
2. ด้านเศรษฐกิจ
โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ลักษณะของการประกอบอาชีพ ในเขตชุมชนเทศบาลเมืองวังสะพุง
ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ร้านค้าเกี่ยวกับเครื่องอุปโภคบริโภคและสินค้าจําเป็นทางด้านการเกษตร และร้านค้ารับ
ซื้อผลผลิตทางการเกษตร โดยส่วนใหญ่ที่ตั้งของร้านค้าดังกล่าวมักจะติดอยู่กับถนนสายหลัก และรายได้ของ
ประชากรเฉลี่ย อยู่ในระดับปานกลาง
2.1 การเกษตรกรรม
ลักษณะของการประกอบอาชีพส่วนใหญ่ คือ ทํานา สวนผลไม้ และปลูกพืชผัก แต่ประสบปัญหาแหล่ง
น้ําธรรมชาติมีน้อย มีสภาพตื้นเขิน ขาดการบํารุงรักษา และในฤดูฝนเกิดน้ําท่วมพื้นที่การเกษตร
2.2 การปศุสัตว์
ลักษณะการประกอบการปศุสัตว์ ส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงในลักษณะควบคู่ไปกับการปลูกพืชในรูปแบบ
ของเกษตรแบบผสมผสาน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้ในการบริโภคและใช้จ่ายให้กับครัวเรือน เมื่อเหลือจาก
การบริโภคหรือใช้งานแล้ว จึงจําหน่ายเพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน
2.3 การอุตสาหกรรม
ลักษณะของการประกอบอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อมซึ่งเป็นระบบ
ครอบครัวและจ้างแรงงานเพียงไม่กี่คน เช่น การหล่ออิฐบล๊อค, หล่อเสา, ทําลูกชิ้น, ขนมจีน เป็นต้น
2.4 การพานิชยกรรม / การบริการ
การประกอบการค้าในเขตเทศบาล เป็นรานค้าเกี่ยวกับการอุปโภค บริโภค สินค้าทางการเกษตร
การค้าผลผลิตทางการเกษตร โดยร้านค้าส่วนใหญ่ตั้งอยู่ติดกับถนนสายหลัก
ทิศทางการค้า/การลงทุน โดยพื้นฐานในเขตเทศบาลเป็นเมืองค้าขาย ทั้งสินค้าอุปโภคบริโภค มีสภาพ
เศรษฐกิจดี การซื้อขายเป็นไปอย่างคล่องตัว การคมนาคมสะดวกสบาย สภาพความเจริญอยู่ในระดับกลาง
เหมาะสมอย่างยิ่งสําหรับการลงทุนในทุก ๆ ด้าน
2.5 การท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุงนั้น จัดเป็น 2 ส่วน คือ ความสวยงามของภูมิทัศน์ของ
ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการหน้าบ้านน่ามอง ซึ่งเป็นแหล่งศึกษาดูงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ หรือ
ประชาชนที่สนใจ และสถานที่ท่องเที่ยวที่ศักดิ์สิทธิ์ ได้แก่
7
(1) ศาลเจ้าพ่อศรีสงคราม ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลในชุมชนวัดศรีชมชื่นใกล้กับแม่น้ําเลย
ลักษณะแหล่งท่องเที่ยว เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่เคารพสักการะของชาวอําเภอวังสะพุงและอําเภอใกล้เคียง
ซึ่งจะแวะเวียนเข้ามากราบไหว้อยู่เป็นประจํา และจะมีการจัดงานงิ้วเป็นประจําทุกปี ในระหว่างเดือนมีนาคม –
เมษายน (ไหหลํา)
(2) ศาลเจ้าปู่ – ย่า วังสะพุง ตั้งอยู่บริเวณสามแยกถนนภูมิวิถี เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่
เคารพสักการะของชาวอําเภอวังสะพุงและอําเภอใกล้เคียง มีลักษณะการก่อสร้างแบบจีน โดยจะมีการจัดงานงิ้ว
เป็นประจําทุกปี ในระหว่างเดือนตุลาคม – ธันวาคม (แต้จิ๋ว)
รายได้จากการท่องเที่ยว ส่วนใหญ่จะเป็นในลักษณะของค่าใช้จ่ายในการเดินทางเข้ามาเยี่ยมชม ค่าใช้จ่าย
ในการจับจ่ายซื้อของ ซึ่งความเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าพ่อศรีสงครามและศาลเจ้าปูุ-ย่าวังสะพุง มีส่วนในการ
จูงใจให้คนเดินทางเข้ามาในเขตเทศบาลมาก รายได้จากการท่องเที่ยวที่น่าส่งเสริม คือ การจําหน่ายของที่ระลึก
การมีร้านอาหารที่สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้อย่างเหมาะสม รายได้จากการขายพวงมาลัยและสิ่งสักการะอื่น
และการอาหารและที่พักรองรับนักท่องเที่ยว
3. ด้านสังคม
3.1 การศึกษา
เทศบาลเมืองวังสะพุง มีสถานศึกษาในความรับผิดชอบ คือ โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 , โรงเรียน
เทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง ส่วนการจัดการศึกษาอยู่ในความ
รับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับมัธยม, ประถมศึกษาและระดับอนุบาล สามารถจําแนกได้ ดังนี้
(1) โรงเรียนประถมศึกษา จํานวน 2 แห่ง
(2) โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น-ปลาย จํานวน 1 แห่ง
(3) ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) จํานวน 1 แห่ง
(4) ห้องสมุดประชาชน จํานวน 1 แห่ง
ข้อมูลทั่วไปโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังสะพุง
1. โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1
โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 ตั้งอยู่เลขที่ 74 หมู่ 2 ตําบลศรีสงคราม อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย สังกัด
กองการศึกษา เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย โรงเรียน
เทศบาลวังสะพุง 1 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2548 โดยยกฐานะจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะ
พุง บนพื้นที่สาธารณะประโยชน์บริเวณโรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 2 ไร่ 2 งาน
16 ตารางวา โดยทิศเหนือ ติดกับ วัดศรีอุดมวงศ์ ทิศตะวันออกติดกับโรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้าน บุ่งไสล่
ทิศใต้ติดกับชุมชนบุ่งไสล่ ทิศตะวันตก ติดกับแม่น้ําเลย
โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 จัดการศึกษาในระดับปฐมวัยและประถมศึกษา เปิดทําการสอนในระดับชั้น
อนุบาลปีที่ 1 ถึง ระดับประถมศึกษาถึงชั้นปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2552 ทางคณะผู้บริหารของเทศบาลเมืองวังสะ
พุงได้เล็งเห็นถึงอนาคตและความก้าวหน้าต่อไปของโรงเรียน จึงมีนโยบายเปิดการเรียนการสอนในโปรแกรมกีฬา
ที่เน้นกีฬาฟุตบอล และในปีการศึกษา 2555 ผู้บริหารเทศบาลเมืองวังสะพุง ได้พิจารณาถึงความเหมาะสมในด้าน
การจัดการเรียนการสอน จึงมอบหมายให้โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่ เป็นผู้รับผิดชอบดูแลในการ
บริหารจัดการโปรแกรมกีฬาฟุตบอลและในวันที่ 15 สิงหาคม 2557 ผู้บริหารเทศบาลเมืองวังสะพุง ได้มอบหมาย
ให้การบริหารจัดการโปรแกรมกีฬาฟุตบอลอยู่ในการดูแลของโรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 อีกครั้ง
ในปี พ.ศ. 2554 ได้จัดการเรียนการสอนเพื่อสู่ประชาคมอาเชียน โดยจัดการศึกษาตามหลักสูตร
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรพิเศษ Mini English Program โดยมีครูชาวต่างชาติมาสอน ให้ผู้เรียนได้เกิด
ประสบการณ์จริง มีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ โดยการจัดเตรียมกิจกรรมต่าง ๆ ให้ผู้เรียน
ได้ฝึกปฏิบัติ มีกิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมเสริมทักษะ กิจกรรมกีฬานันทนาการ กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
กิจกรรมส่งเสริมทางศาสนาในวันสําคัญต่างๆและกิจกรรมอื่นๆ ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะความรู้
ความสามารถเต็มตามศักยภาพของผู้เรียน
8
วิสัยทัศน์
จัดการศึกษาได้มาตรฐาน เน้นการประสานของชุมชน เข้มข้นคุณธรรม นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การเรียนรู้ สู่ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ
พันธกิจ
1. โรงเรียนจัดการศึกษาโดยใช้กระบวนการโรงเรียนเป็นฐาน
2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ และก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
3. จัดให้มีการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง สู่ครูมืออาชีพ
4. จัดให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา
5. จัดให้มีข้อมูลสารสนเทศครบถ้วน ทันสมัย
6. จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
7. ปลูกฝังคุณธรรมนําความรู้ ค่านิยม แบบเศรษฐกิจพอเพียงและให้นักเรียนอนุรักษ์
ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น และค่านิยมรักความเป็นไทย ภูมิใจและรักถิ่นกําเนิด และยึดมั่นใน
ชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์
8. จัดการเรียนรู้พิเศษด้านภาษาอังกฤษ
จานวนบุคลากร
1) ผู้อํานวยการสถานศึกษา จํานวน 1 คน
2) รองผู้อํานวยการสถานศึกษา (ตามมาตรฐานตําแหน่ง) จํานวน 2 คน
3) ครูผู้สอน
ข้าราชการ/พนักงานครู จํานวน 27 คน
พนักงานจ้าง (สอน) จํานวน 5 คน
พนักงานจ้างตามภารกิจ จํานวน 2 คน
ข้อมูลนักเรียน
จํานวนนักเรียนในโรงเรียนทั้งสิ้น 818 คน จําแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน
1. ระดับก่อนประถมศึกษา
- นักเรียนชั้นอนุบาล 1 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 84 คน
- นักเรียนชั้นอนุบาล 2 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 92 คน
2. ระดับประถมศึกษา
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 98 คน
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 85 คน
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 82 คน
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 113 คน
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 132 คน
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 132 คน
ข้อมูลอาคารสถานที่
1. อาคารเรียน จํานวน 3 หลัง
2. อาคารประกอบ จํานวน 1 หลัง
3. ห้องน้ํา/ห้องส้วม จํานวน 2 หลัง
4. ห้องสมุด จํานวน 1 ห้อง
5. ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ จํานวน 1 ห้อง
6. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จํานวน 1 ห้อง
9
2. โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่
ข้อมูลทั่วไป
1.1 ชื่อ สถานศึกษาโรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่ ตั้งอยู่เลขที่ .......-.......
ถนน มลิวรรณ ตําบลศรีสงคราม อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย รหัสไปรษณีย์ 42130
โทรศัพท์ 0-4284-1431 Facebook โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่
1.2 สังกัด กองการศึกษา เทศบาลเมืองวังสะพุง อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย
1.3 เปิดสอนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-5
1.4 กลุ่มการศึกษาท้องถิ่นที่ 9
ข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา
2.1 ผู้อํานวยการสถานศึกษา จํานวน 1 คน
2.2 รองผู้อํานวยการสถานศึกษา จํานวน 1 คน
2.3 พนักงานครู จํานวน 13 คน
บุคลากรทางการศึกษา จํานวน 2 คน
พนักงานจ้างรายชั่วโมง จํานวน 2 คน
พนักงานจ้างรายวัน จํานวน 5 คน
พนักงานบริการ จํานวน 1 คน
รวม ผู้บริหาร พนักงานครูและ บุคลากรทางการศึกษาพนักงานจ้าง ทั้งสิ้น 25 คน
อาคารสถานที่ปัจจุบัน
3.1 มีอาคารเรียนจํานวน 3 หลัง
- อาคารเรียนแบบ ป 1 ฉ 4 ห้องเรียน จํานวน 1 หลัง ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ 2523
- อาคารเรียนแบบ สปช. 102 3 ห้องเรียน จํานวน 1 หลัง ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ 2525
- กําลังก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สน.สท 4/12 จํานวน 12 ห้องเรียนใต้ถุนโล่ง
3.2 อาคารประกอบ
- อาคารเอนกประสงค์แบบ สน.ปท (ชั้นลอย) จํานวน 1 หลัง
- อาคารเอนกประสงค์แบบ สปช. 203 จํานวน 1 หลัง
- ส้วม 10 ที่นั่ง จํานวน 2 หลัง
- บ้านพักครู จํานวน 1 หลัง
3.3 รั้วโรงเรียน
- รั้วโรงเรียน ก่อสร้างใหม่บริเวณด้านหน้าโรงเรียนพร้อมปูายชื่อโรงเรียน ก่อสร้างปี 2557
- รั้วโรงเรียนด้านทิศเหนือของโรงเรียน ก่อสร้างปี พ.ศ. 2543 (สภาพชํารุด)
- บริเวณโรงเรียนด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ยังไม่มีรั้วโรงเรียน
3.4 สนามกีฬา ประกอบด้วย
- สนามฟุตบอล จํานวน 1 สนาม ใช้งานได้
ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนในปีการศึกษา 2558
- นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 104 คน
- นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มี 2 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 89 คน
- นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี 2 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 76 คน
- นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มี 1 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 40 คน
- นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มี 1 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 20 คน
รวมทั้งสิ้น 329 คน
10
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง
เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ดําเนินการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุงและรับเด็กก่อนวัย
เรียนเข้าเตรียมความพร้อมเพื่อปฏิบัติตามนโยบายกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมี
วัตถุประสงค์ในการกระจายโอกาสการพัฒนาความพร้อม ให้เด็กทุกคนได้รับพัฒนาอย่างทั่วถึงมีคุณภาพ และ
เป็นไปตามพัฒนาการแห่งวัย ให้สามารถเข้ารับการศึกษาในระดับสูงขึ้นต่อไปอย่างมีประสิทธิผล
เทศบาลเมืองวังสะพุง จึงได้ประกาศรับสมัครเด็กเข้าเรียนเพื่อพัฒนาความพร้อม ณ ศูนย์พัฒนา
เด็กเล็กเทศบาลตําบลวังสะพุง บริเวณวัดศรีชมชื่น ตั้งแต่ปีการศึกษา 2544 กองการศึกษา เทศบาลเมือง
วังสะพุง ได้พิจารณาเลือกเด็กที่มีฐานะยากจนในเขตเทศบาล ซึ่งอยู่ในดุลยพินิจของประชาชนทุกชุมชน
โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ดําเนินการขอใช้พื้นที่สาธารณะของราชพัสดุ บริเวณ
โรงเรียนบ้านบุ่งไสล่ และได้รับอนุญาตให้ใช้พื้นที่ เนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 16 ตารางวา เพื่อใช้เป็นสถานที่จัด
กิจกรรมการเตรียมความพร้อมของนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง เป็นต้นมา
ในปีการศึกษา 2547 เทศบาลตําบลวังสะพุง ได้ดําเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาความพร้อมของศูนย์พัฒนาเด็ก
เล็กเทศบาลตําบลวังสะพุง และได้รวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่รับถ่ายโอนจากกรมศาสนา จํานวน 2 ศูนย์เข้าด้วยกัน
และดําเนินการเรียนการสอนเป็นแห่งเดียว ณ บริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง ตั้งแต่วันที่ 17
พฤษภาคม 2547
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง มีอาณาเขตติดต่อ และบริเวณใกล้เคียง ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดกับ โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1
- ทิศตะวันออก ติดกับ โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่
- ทิศใต้ ติดกับ โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1
- ทิศตะวันตก ติดกับ โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้างต่างๆ ดังนี้
1) อาคารเรียนแบบ สน.ศท.อนุบาล 8 จํานวน 1 หลัง ประกอบด้วย
- ห้องเรียน จํานวน 6 ห้อง
- ห้องวิชาการ จํานวน 1 ห้อง
- ห้องรับประทานอาหาร จํานวน 1 ห้อง
- ห้องน้ําห้องส้วมครู จํานวน 4 ห้อง
- ห้องน้ําห้องส้วมนักเรียน จํานวน 8 ห้อง
สถิติจานวนนักเรียน ปีการศึกษา 2558 จานวนนักเรียน 160 คน
นักเรียนชาย 74 คน นักเรียนหญิง 86 คน
บุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง มีอัตราและบุคลากรทั้งหมด 13 คน
1. หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จํานวน 1 คน
2. ครูผู้ดูแลเด็ก จํานวน 4 คน
3. ผู้ดูแลเด็ก จํานวน 7 คน
4. นักการ จํานวน 1 คน
3.2 ศาสนา
ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลนับถือศาสนาพุทธ รองลงมา คือ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม มี
จํานวน ศาสนสถานในเขตเทศบาล ดังนี้ วัดในพุทธศาสนา 8 วัด ส่วนโบสถ์ทางศาสนาคริสต์และมัสยิดไม่มี
3.3 ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ในเขตเทศบาลมีประเพณีที่สําคัญและจัดขึ้นประจํา ได้แก่
(1) ประเพณีสงกรานต์ 6) ประเพณีเลี้ยงศาลเจ้าพ่อศรีสงคราม
(2) ประเพณีแห่ดอกไม้เครื่อง 7) งานงิ้วศาลเจ้าปูุ-ย่าวังสะพุง
(3) ประเพณีแห่เทียนพรรษา 8) ประเพณีลอยกระทง
(4) ประเพณีเลี้ยงบ้าน (เลี้ยงหอ) 9) ประเพณีแข่งเรือกาบ
(5) งานประจําปี (งานวัด) 10) ทําบุญมหาชาติ
11
3.4 การสาธารณสุข
เทศบาลยังไม่มีการให้บริการในด้านการรักษาพยาบาลแก่ประชาชนโดยตรง ส่วนใหญ่จะเป็นการให้ความรู้
ต่างๆ ด้านสาธารณสุข การปูองกันโรค ร่วมกับสาธารณสุขอําเภอวังสะพุง โรงพยาบาลวังสะพุง และหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในการให้บริการความรู้ หรือแนะนําประชาชนเกี่ยวกับสุขภาพ และการประกอบกิจการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ
ด้านสาธารณสุข ประชาชนส่วนใหญ่จะใช้บริการด้านรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลวังสะพุง และสถานบริการของ
เอกชน
3.5 การสังคมสงเคราะห์และการสวัสดิการ
สํานักงานเทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ร่วมกับส่วนราชการในพื้นที่ดําเนินการให้ความช่วยเหลือสงเคราะห์
ประชาชนในหลายประเภทตามสถานการณ์และความต้องการของประชาชน เช่น ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย,วาตภัย,
ช่วยเหลือเด็กและคนชรา, ช่วยเหลือคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในสังคม โดยดําเนินการอย่างต่อเนื่อง การให้ความ
ช่วยเหลือของเทศบาลได้รับความร่วมมือจากหลายฝุายด้วยกัน
เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพื่อเป็นการ
สงเคราะห์เบี้ยยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ปุวยเอดส์ รวมถึงผู้ด้อยโอกาสในสังคม ซึ่งจากการสํารวจพบว่า ยังมี
ประชาชนในเขตเทศบาลที่ต้องการความช่วยเหลืออยู่ เทศบาลเมืองวังสะพุงจึงได้ดําเนินการโครงการไทวังสะพุงรวมใจ
ห่วงใยไม่ทิ้งกัน เป็นการช่วยเหลือด้านที่อยู่อาศัย และด้านอื่นๆ ให้กับประชาชน โดยไม่ใช้งบประมาณของเทศบาล
แต่เป็นการช่วยเหลือกันระหว่างผู้ที่เข้มแข็งในสังคม ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในสังคม ซึ่งเป็นการช่วยเหลือกันใน
เบื้องต้น เพื่อให้เทศบาลเมืองวังสะพุงเป็นสังคมที่น่าอยู่ต่อไป
3.6 การประกันสังคม
เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ทําประกันสังคมด้านการรักษาพยาบาลให้กับพนักงานจ้างของเทศบาลทุกราย
3.7 รัฐสวัสดิการ และการบริการด้านอื่นของรัฐ
(1) อบรม และช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด
(2) จัดการแข่งขันกีฬาเยาวชนและประชาชนทั่วไปเพื่อส่งเสริมการออกกําลังกาย ห่างไกลยาเสพ
ติด
4. ด้านการเมืองการบริหาร
4.1 โครงสร้างและกระบวนการบริหารงานบุคคล เทศบาลเมืองวังสะพุงมีโครงสร้างการบริหารงาน ดังนี้
ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี
นายกเทศมนตรี
รองนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี
เลขานุการนายกเทศมนตรี
ปลัดเทศบาล
รองปลัดเทศบาล
สานักปลัดฯ กองวิชาการฯ กองช่างกองคลัง กองสาธารณสุขฯ กองการศึกษา กองสวัสดิการฯ
รองนายกเทศมนตรี
12
อัตรากาลังพนักงานเทศบาลสามัญ เทศบาลเมืองวังสะพุง
สังกัดกอง
จาแนกพนักงาน แยกตามระดับ
รวม
1 2 3 4 5 6 7 8
1. สํานักปลัดฯ - - - - 3 2 3 2 10
2. กองวิชาการและแผนงาน - - - - - 3 2 - 5
3. กองคลัง - 1 - 2 1 1 1 1 7
4. กองช่าง - - - - 2 - 2 1 5
5. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม - - 1 - - 2 - 1 4
6. กองการศึกษา - - 1 1 - 3 2 1 8
7. กองสวัสดิการสังคม - - - - 1 - 1 1 3
รวม - 1 2 3 7 11 11 7 42
เทศบาลเมืองวังสะพุง มีอัตรากําลังพนักงานเทศบาลสามัญ 42 คน ลูกจ้างประจํา 3 คน พนักงาน
จ้างตามภารกิจ 12 คน พนักงานจ้างทั่วไป 36 คน รวมทั้งสิ้น 93 คน
4.2 อานาจหน้าที่ในการบริหารงาน
เทศบาลเมืองวังสะพุง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ
เทศบาล ซึ่งมีอํานาจหน้าที่ดําเนินการกิจการในเขตเทศบาล อันได้แก่ รักษาความสงบเรียบร้อยและศีลธรรม
อันดีของประชาชน การทํานุบํารุงศาสนา การส่งเสริมวัฒนธรรม การสาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ซึ่งจําเป็น
เพื่อประโยชน์ของราษฎรและท้องถิ่น ซึ่งจากการดําเนินการในระยะที่ผ่านมา ได้ดําเนินการเกี่ยวกับด้าน
โครงสร้างพื้นฐานประเภทถนน ไฟฟูา ท่อระบายน้ํา และส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชนให้มีรายได้
เพิ่มขึ้น รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านต่างๆ แต่ยังมีข้อจํากัดในด้านงบประมาณที่ยังไม่เพียงพอต่อการ
พัฒนา
4.3 การคลังเทศบาล รายรับของเทศบาลประกอบด้วย รายได้และเงินอื่น ดังนี้
รายได้ ประกอบด้วย
(1) ภาษีอากรซึ่งเทศบาลมีอํานาจจัดเก็บ เช่น ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีปูาย อากรฆ่าสัตว์ หรือที่
รัฐบาลจัดเก็บแล้วโอนทั้งหมดหรือบางส่วนให้แก่เทศบาล เช่น ภาษีการค้า ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และ
ล้อเลื่อน ภาษีและค่าธรรมเนียมที่ดิน ภาษีสุรา ภาษีสรรพสามิต
(2) ค่าธรรมเนียม ค่าปรับและใบอนุญาต ซึ่งเทศบาลมีอํานาจจัดเก็บ หรือที่รัฐบาลจัดเก็บแล้วโอน
ทั้งหมดหรือบางส่วนให้เทศบาลตามกฎหมายกําหนด เช่น ค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการฆ่าสัตว์ ค่าธรรมเนียม
ใบอนุญาตขายสุรา ฯลฯ
(3) รายได้จากทรัพย์สิน เป็นรายได้ที่เกิดจากดอกเบี้ยเงินฝาก และจากการให้เช่าสถานที่ หรือที่ดินซึ่ง
เป็นทรัพย์สินของเทศบาล หรืออยู่ในความควบคุมดูแลของเทศบาล เช่น ค่าเช่าที่ดิน ค่าเช่าสถานที่ พันธบัตร
หรือเงินกู้ หรือเงินฝาก ฯลฯ
(4) รายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์ เช่น เงินเหลือจ่ายท้องถิ่น จากการประปา หรือสถาน
ธนานุบาล ฯลฯ
(5) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลหรือหน่วยงานอื่นจัดสรรให้ เช่น เงินอุดหนุนทั่วไป, เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ,
รายได้เบ็ดเตล็ดซึ่งเป็นรายได้ที่ไม่เข้าลักษณะรายได้หมวดหนึ่งหมวดใดดังกล่าวข้างต้น เช่น เงินที่มีผู้อุทิศให้
13
ตารางที่ 1 รายรับของเทศบาล
รายรับ รายรับจริง
ปี 2556
รายรับจริง
ปี 2557
ประมาณการ
ปี 2558
รายได้จัดเก็บเอง
หมวดภาษีอาการ 3,210,429.80 3,489,392.15 3,196,000.00
หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต 1,460,010.23 2,189,163.80 1,503,400.00
หมวดรายได้จากทรัพย์สิน 2,609,024.72 2,330,734.65 2,142,000.00
หมวดรายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์ - - -
หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด 587,399.00 613,606.48 510,400.00
หมวดรายได้จากทุน - - 5,000.00
รวมรายได้จัดเก็บเอง 7,866,863.75 8,622,897.08 7,356,800.00
รายได้ที่รัฐบาลเก็บแล้วจัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวดภาษีจัดสรร 40,182,982.68 34,993,712.53 49,561,310.00
รวมรายได้ที่รัฐบาลเก็บแล้วจัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 40,182,982.68 34,993,712.53 49,561,310.00
รายได้ที่รัฐบาลอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป 44,905,111.00 51,419,003.50 58,300,170.00
รวมรายได้ที่รัฐบาลอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 44,905,111.00 51,419,003.50 58,300,170.00
รวม 92,954,957.43 95,035,613.11 115,218,280.00
รายจ่ายของหน่วยงาน แยกเป็น
- รายจ่ายงบกลาง หมายถึง รายจ่ายที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีภาระผูกพันต้องจ่าย และเป็น
รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจัดสรรให้หน่วยงานต่างๆ เบิกจ่าย เช่น ค่าชําระหนี้เงินต้น ค่าชําระดอกเบี้ย เงินสบทบ
กองทุนประกันสังคม รายจ่ายตามข้อผูกพัน สํารองจ่าย ฯลฯ
- รายจ่ายตามแผนงาน หมายถึง รายจ่ายซึ่งกําหนดรายละเอียดหมวดรายจ่ายไว้ในงานหรือโครงการ
ตามแผนงานสําหรับหน่วยงานใดโดยเฉพาะ ได้แก่ รายจ่ายดังต่อไปนี้
1. งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคล ได้แก่ รายจ่ายที่
จ่ายในลักษณะเงินเดือน ค่าจ้างประจํา ค่าจ้างชั่วคราว และค่าตอบแทนพนักงานจ้าง รวมถึงรายจ่ายที่
กําหนดให้จ่ายในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว
2. งบดําเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจํา ได้แก่ รายจ่าย
ที่เป็นลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึงรายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายในลักษณะ
รายจ่ายดังกล่าว ประกอบด้วย
3. งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่เป็นลักษณะ
ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รวมถึงรายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่าย
ดังกล่าว
4. งบเงินอุดหนุน หมายถึง เงินที่จ่ายให้องค์กรอื่นเพื่อนําไปดําเนินการตามอํานาจหน้าที่
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกฎหมาย โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมิได้ดําเนินการเอง
5. งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง
หรือรายจ่ายที่กําหนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้
14
ตารางที่ 1 รายจ่ายของเทศบาล
รายจ่าย รายจ่ายจริง
ปี 2556
รายจ่ายจริง
ปี2557
ประมาณการ
ปี 2558
จ่ายจากงบประมาณ
งบกลาง 3,374,825.14 3,236,362.68 6,943,180.00
งบบุคลากร (หมวดเงินเดือน ค่าจ้างประจํา และค่าจ้าง
ชั่วคราว)
34,777,100.39 39,549,324.54 46,694,000.00
งบดําเนินงาน (หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ
และหมวดค่าสาธารณูปโภค)
31,555,697.25 31,421,847.25 38,791,400.00
งบลงทุน (หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) 11,973,788.85 11,887,804.75 16,665,700.00
งบรายจ่ายอื่น (หมวดรายจ่ายอื่น) 1,001,678.98 1,127,087.98 1,140,000.00
งบเงินอุดหนุน (หมวดเงินอุดหนุน) 3,796,351.02 5,126,000.00 4,984,000.00
รวมจ่ายจากงบประมาณ 86,479,441.63 92,348,427.20 115,218,280.00
รวม 86,479441.63 92,348,427.20 115,218,280.00
4.4 บทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมทางการเมือง ในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในทาง
การเมืองการปกครองตนเอง ซึ่งพิจารณาได้จากการมีการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีและสมาชิกสภาเทศบาลเมือง
วังสะพุง เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2554 ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จํานวน 8,954 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้ง จํานวน 6,036 คน
คิดเป็นร้อยละ 67.41 ในการเลือกตั้งแต่ละครั้งประชาชนในเขตเทศบาลจะมีความสนใจและตื่นตัวเป็น
อย่างมาก
ทางการบริหาร ในแต่ละชุมชนได้มีการจัดประชุมเพื่อดําเนินการในเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องกับชุมชนของ
ตนเองอย่างต่อเนื่อง และเทศบาลเมืองวังสะพุงได้มีการจัดประชุมประจําเดือน โดยได้เชิญกํานัน ผู้ใหญ่บ้าน
ประธานชุมชนเข้าร่วมปรึกษาหารือในเรื่องต่างๆเป็นประจําทุกวันอังคารแรกของเดือน ทําให้ความร่วมมือใน
การดําเนินการในโครงการต่าง ๆ จากทุกภาคส่วนด้วยดี
4.5 การอานวยการเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ร่วมกับหน่วยงานราชการ เอกชน และกลุ่มพลังมวลชนต่างๆ เช่น ที่ทําการ
ปกครองอําเภอวังสะพุง สถานีตํารวจภูธรวังสะพุง กลุ่ม อปพร. สายตรวจจักรยาน เทศกิจ ฯลฯ ในการ
สอดส่องดูแลความสงบสุขและความเรียบร้อยของประชาชน
5. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5.1 ทรัพยากรน้า คุณภาพแหล่งน้ําโดยทั่วไป สภาพแหล่งน้ํา ลําคลอง อยู่ในสภาพตื้นเขิน ทําให้ไม่
สามารถใช้ประโยชน์ได้ไม่เต็มที่ ระบบจัดการด้านสิ่งแวดล้อมยังมีปัญหา คือ ขาดระบบระบายน้ําที่ถูกต้องและ
เหมาะสม ทําให้ปัญหาน้ําท่วมขังระยะสั้นๆ เมื่อฝนตกหนัก โดยในขณะนี้เทศบาลเมืองวังสะพุง และหน่วยงาน
ราชการอื่นๆได้ร่วมมือกันดําเนินการปรับปรุงแก้ไขแหล่งน้ําต่างๆ เช่น การขุดลอกแม่น้ําเลย การก่อสร้างเขื่อน
ปูองกันตลิ่งแม่น้ําเลย รวมถึงการปรับปรุงคลอง/บุ่งต่างๆในเขตเทศบาลให้อยู่ในสภาพที่ใช้ประโยชน์ได้และ
มีทัศนียภาพที่สวยงาม
ประเภททรัพยากรแหล่งน้า ได้แก่ แม่น้ํา ลําคลอง
จานวนทรัพยากรแหล่งน้า
1. แม่น้ํา จํานวน 1 แห่ง คือ แม่น้ําเลย
2. ลําคลอง จํานวน 4 แห่ง คือ
15
1) บุ่งคล้า
2) บุ่งไสล่
3) บุ่งผักก้าม
4) กุดจับ
5.2 ขยะสิ่งปฏิกูล
ในปี 2557 ปริมาณขยะและสิ่งปฏิกูลที่จัดเก็บในเขตเทศบาล มีจํานวนประมาณ 3,240 ตัน เทศบาล
เมืองวังสะพุง มีระบบการกําจัดขยะมูลฝอย โดยนําขยะที่เก็บในเขตเทศบาลไปทิ้งยังบริเวณที่ทิ้งขยะของ
เทศบาล เมืองเลย โดยชําระค่าบริการเป็นรายเดือน ปัจจุบันเทศบาลเมืองวังสะพุง มีรถยนต์ขนขยะมูลฝอย
แบบเทข้าง จํานวน 2 คัน และรถยนต์ขนขยะมูลฝอยแบบอัดท้าย จํานวน 2 คัน ซึ่งนับว่ายังไม่เพียงพอและไม่
สามารถให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เทศบาลเมืองวังสะพุงร่วมกับ
ชุมชนในเขตเทศบาลได้ดําเนินโครงการธนาคารขยะ โครงการถนนปลอดถังขยะ เพื่อคัดแยกและลดปริมาณ
ขยะในเขตเทศบาล และลดค่าใช้จ่ายในการกําจัดขยะอีกทางหนึ่ง
การวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนา (SWOT Analysis)
เพื่อให้การพัฒนาเทศบาลตําบลวังสะพุง ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาล เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ และตรงกับความต้องการของประชาชน โดยมีเปูาหมายการพัฒนาที่ชัดเจน เทศบาล จึงได้จัด
ประชุมระดมความเห็นจากผู้แทนทุกฝุาย ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน ในการวิเคราะห์ศักยภาพของ
เทศบาลเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาในปัจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคต ด้วยเทคนิค SWOT
Analysis ซึ่งเป็นการประเมินโดยการวิเคราะห์ถึงโอกาส และภาวะคุกคามหรือข้อจํากัด อันเป็นสภาวะ
แวดล้อมภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาด้านต่างๆ ของเทศบาล รวมทั้งการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของเทศบาล
อันเป็นสภาวะแวดล้อมภายในเทศบาล สามารถสรุปผลการวิเคราะห์ ดังนี้
จุดแข็ง
1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ บุคลากรมีขีดสมรรถนะ ตลอดจนสิ่งอํานวยความสะดวกมีครบพร้อมสําหรับ
บริการประชาชน
2. เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการค้า และเป็นเมืองหน้าด่านจังหวัดเลย และมีภูมิสถาปัตย์ที่เหมาะสม
โดยมีแม่น้ํา ลําคลอง ในเขตเทศบาล
3. มีการสืบทอดศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี อันเก่าแก่ จนถึงปัจจุบัน
4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดําเนินกิจกรรมของเทศบาล
จุดอ่อน
1. ระบบสารสนเทศ และระบบการบริการประชาชน ยังไม่มีประสิทธิภาพ เช่น การประชาสัมพันธ
การประสานความร่วมมือ ฯลฯ
2. โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคไม่สมบูรณ์ เช่น ถนน ไฟฟูา ประปา ระบบระบายน้ํา
ระบบบําบัดน้ําเสีย ฯลฯ
3. ไม่มีสถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ
4. ขาดการส่งเสริมการตลาด สําหรับผลิตภัณฑ์ชุมชน
5. ขาดแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และปราชญ์ชาวบ้าน
6. เครือข่ายชุมชนไม่เข้มแข็ง
โอกาส
1. การคมนาคมสู่จังหวัดสะดวก เช่น เลย หนองบัวลําภู
2. นโยบารัฐบาล มีการกระจายอํานาจสู่ท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น
3. เป็นบ้านเกิดของเกจิอาจารย์ เช่น หลวงปูุแหวน หลวงปูุชอบ หลวงปูุขาว หลวงปูุท่อน
16
อุปสรรค
1. อปท.ข้างเคียงขาดการบริหารจัดการที่ดี
2. น้ําท่วมบ่อย เนื่องจากสภาพพื้นที่ต่ํา และอยู่ตอนล่างของแม่น้ําเลย อ่างเก็บน้ํานาอีเลิศ
3. ราคาสินค้าเกษตรตกต่ํา และน้ํามันราคาแพง
2.2 การประเมินผลการนาแผนพัฒนาไปปฏิบัติเชิงปริมาณ
รายงานสรุปผลการดาเนินงาน ปี 2557 เทศบาลเมืองวังสะพุง อ.วังสะพุง จ.เลย
ยุทธศาสตร์
แผนการดาเนินการ
ทั้งหมด
อนุมัติ
งบประมาณ
ลงนามสัญญา เบิกจ่าย 100%
จานวน
โครงการ
งบ
ประมาณ
จานวน
โครงการ
งบ
ประมาณ
จานวน
โครงการ
งบ
ประมาณ
จานวน
โครงการ
งบ
ประมาณ
จานวน
โครงการ
งบ
ประมา
ณ
1.ด้านโครงสร้าง
พื้นฐาน
30.0 47.55 12.0 3.36 11.0 2.82 11.0 2.82 11.0 2.82
2.ด้านการพัฒนาคน 92.0 59.17 52.0 24.01 40.0 5.54 40.0 5.54 40.0 5.54
3.ด้านการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
7.0 0.66 2.0 0.40 1.0 0.10 1.0 0.10 1.0 0.10
4.ด้านการบริหาร
จัดการที่ดี และบริการ
สาธารณะ
38.0 9.24 27.0 2.16 19.0 1.56 19.0 1.56 19.0 1.56
5.ด้านภาคประชา
สังคม ความเข้มแข็ง
ของชุมชน และการมี
ส่วนร่วม
24.0 5.47 18.0 3.20 14.0 1.50 14.0 1.50 14.0 1.50
โครงการที่ดาเนินการไปแล้วในปีงบประมาณ 2557 มีดังนี้
ชื่อโครงการ
งบประมาณ
(บาท)
ผู้รับผิดชอบ
1. โครงการก่อสร้างถนน ค.ส.ล.ทางเข้าวัดศรีอุดมวงศ์ 199,000.00 กองช่าง
2. โครงการก่อสร้างถนน ค.ส.ล.ตามตรอกซอยต่างๆในเขตเทศบาล 490,000.00 กองช่าง
3. โครงการก่อสร้างรางระบายน้ํา ค.ส.ล.ซอยหลังธนาคารไทยพาณิชย์ 218,500.00 กองช่าง
4. โครงการติดตั้ง Internet WiFi ในเขตเทศบาล 134,820.00 กองวิชาการและแผนงาน
5. โครงการก่อสร้างปูายชื่อซอยในเขตเทศบาล 637,000.00 สํานักปลัด
6. ก่อสร้างผนังกันดินคลองบุ่งไสล่ 99,600.00 กองช่าง
7. โครงการก่อสร้างรั้วเหล็ก บริเวณลานคอนกรีตหน้าเทศบาลเมือง
วังสะพุง
99,000.00 กองช่าง
8. ติดตั้งปูายบอกทาง(ถนนมลิวรรณสายเก่า) 83,000.00 สํานักปลัด
9. ก่อสร้างดาดคอนกรีตเชื่อมต่อคอสะพาน 309,000.00 กองช่าง
10.ก่อสร้างรางระบายน้ํา ค.ส.ล.และขยายไหล่ทาง ค.ส.ล.ถนนภูมิวิถี
ซอย 10
449,000.00 กองช่าง
11. จ้างเหมาติดตั้งเสาไฟปฏิมากรรม(แบบกิ่งเดี่ยว) 99,900.00 กองช่าง
12. โครงการจ้างนักเรียน/นักศึกษาเข้าทํางานช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อน
(ปิดเทอมเพิ่มประสบการณ์)
100,000.00 สํานักปลัด
13. โครงการแข่งขันนักเรียนคนเก่งของโรงเรียนท้องถิ่น 28,548.00 กองการศึกษา
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาFURD_RSU
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี   2558รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี 2558Pmj Khonkaen
 
ASEAN WORLD
ASEAN WORLDASEAN WORLD
ASEAN WORLDploysaro
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...FURD_RSU
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD_RSU
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่Moddang Tampoem
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองFURD_RSU
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนnun_napassorn
 

Was ist angesagt? (16)

จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
 
รายงานประจำปี 2558
รายงานประจำปี   2558รายงานประจำปี   2558
รายงานประจำปี 2558
 
ASEAN WORLD
ASEAN WORLDASEAN WORLD
ASEAN WORLD
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
ตาก
ตากตาก
ตาก
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 

Mehr von เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย

กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุง
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุงประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุง
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุงเทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุง
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุงรายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุง
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุงเทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬา
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬากำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬา
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬาเทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย
 

Mehr von เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย (20)

แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
แผนการใช้จ่ายเงินรวม ไตรมาสที่ ๒ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
 
ประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆ
ประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆ
ประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินและงบอื่นๆ
 
กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
กำหนดราคากลางจ้างประกอบอาหารโปรแกรมกีฬา ระหว่างวันที่ ๑ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
 
จ้างประกอบอาหาร 16 สค ถึง 30กย 60
จ้างประกอบอาหาร 16 สค ถึง 30กย 60จ้างประกอบอาหาร 16 สค ถึง 30กย 60
จ้างประกอบอาหาร 16 สค ถึง 30กย 60
 
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560
กำหนดราคากลางจ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ประจะปีงบประมาณ 2560
 
จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60
จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60
จ้างเหมาประกอบอาหารนักเรียนโปรแกรมกีฬา ปี 60
 
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุกำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ
 
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุก่อสร้าง
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุก่อสร้างกำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุก่อสร้าง
กำหนดราคากลางจัดซื้อวัสดุก่อสร้าง
 
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุง
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุงประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุง
ประมูลราคาเช่าห้องน้ำ - ห้องส้วม ตลาด(เช้า) เทศบาลเมืองวังสะพุง
 
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลังหลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
 
โครงการก่อสร้างสนามฝึกซ้อมฟุตบอล
โครงการก่อสร้างสนามฝึกซ้อมฟุตบอลโครงการก่อสร้างสนามฝึกซ้อมฟุตบอล
โครงการก่อสร้างสนามฝึกซ้อมฟุตบอล
 
ครั้งที่160 วันที่ 5 ม.ค.60
ครั้งที่160 วันที่ 5 ม.ค.60ครั้งที่160 วันที่ 5 ม.ค.60
ครั้งที่160 วันที่ 5 ม.ค.60
 
ครั้งที่ 5 60 วันที่ 9 พ.ค. 60
ครั้งที่ 5 60 วันที่ 9 พ.ค. 60ครั้งที่ 5 60 วันที่ 9 พ.ค. 60
ครั้งที่ 5 60 วันที่ 9 พ.ค. 60
 
ครั้งที่ 4 60 วันที่ 4 เม.ย. 60
ครั้งที่ 4 60 วันที่ 4 เม.ย. 60ครั้งที่ 4 60 วันที่ 4 เม.ย. 60
ครั้งที่ 4 60 วันที่ 4 เม.ย. 60
 
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุง
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุงรายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุง
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการเทศบาลเมืองวังสะพุง
 
กำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิต
กำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิตกำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิต
กำหนดราคากลางโครงการก่อสร้าง คสล. หลังวัดประชาราษฎร์นิมิต
 
แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
แบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
 
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬา
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬากำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬา
กำหนดราคากลางจัดซื้อโต๊ะเก้าอี้ , เก้าอี้เลคเชอร์ไม้โปรแกรมกีฬา
 
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑
กำหนดราคากลางจ้างเหมาโครงการปรับปรุงอาคารเรียน สน.ศท.๔/๑๒ อาคาร ๑
 
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...
รายงานการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง และกา...
 

แผนพัฒนาสามปี 59-61

  • 1.
  • 3. สารบัญ หน้า ส่วนที่ 1 บทนา 1.1 ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี 1-1 1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทาแผนพัฒนาสามปี 1-1 1.3 ขั้นตอนในการจัดทาแผนพัฒนาสามปี 2-2 1.4 ประโยชน์ของการจัดทาแผนพัฒนาสามปี 2-2 ส่วนที่ 2 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมา 2.1 การสรุปสถานการณ์พัฒนา 3-15 2.2 การประเมินผลการนาแผนพัฒนาไปปฏิบัติในเชิงปริมาณ 16-18 2.3 การประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาในเชิงคุณภาพ 19-21 ส่วนที่ 3 การนาแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติ 3.1 แนวทางการพัฒนาหรือกลยุทธ์ตามแผนยุทธศาสตร์ 22-30 3.2 บัญชีโครงการพัฒนา ผ 01 บัญชีโครงการพัฒนา 31-83 ผ 03 บัญชีสรุปโครงการพัฒนา 84-86 ส่วนที่ 4 แนวทางการติดตามประเมินผล 4.1 กรอบและแนวทางในการติดตามและประเมินผล 87-88 4.2 ระเบียบ วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและประเมินผล 88-98 ภาคผนวก ก รูปแผนที่ตามแผนพัฒนาท้องถิ่น ข การประเมินคุณภาพของแผน ******************************************
  • 11. ส่วนที่ 1 บทนา ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 กําหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกท้องถิ่น ดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาสามปีให้แล้วเสร็จ ภายใน เดือนมิถุนายนก่อนงบประมาณประจําปี เทศบาลเมืองวังสะพุง จึงได้จัดทําแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2561) เทศบาลเมืองวังสะพุงขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมการสําหรับการพัฒนาในอนาคต โดยให้ความสําคัญกับการสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมทุกระดับภายใต้หลักการ คือ การร่วมคิด ร่วมทํา และร่วม ผลักดันตามบทบาท และความรับผิดชอบของแต่ละภาคส่วน ให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของ ประชาชน รวมถึงกฎหมาย/ระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดําเนินการตามยุทธศาสตร์และแนวทางการ พัฒนาที่กําหนดให้สําเร็จลุล่วงบรรลุวัตถุประสงค์และเปูาหมายการพัฒนา และสามารถนําไปปฏิบัติได้จริง ตลอดจนได้รับการสนับสนุนในด้านต่างๆ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสามปี หมายความว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา อันมีลักษณะเป็นการกําหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาที่ จัดทําขึ้นสําหรับมีงบประมาณแต่ละปี ซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้าครอบคลุมระยะเวลาสามปี โดยมี การทบทวนเพื่อปรับปรุงเป็นประจําทุกปี 1.1 ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี 1. เป็นแผนที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 2. เป็นแผนที่แสดงแนวทางการพัฒนาและวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจนและมี ลักษณะเฉพาะเจาะจงที่ดําเนินการ 3. เป็นแผนที่แสดงโครงการ กิจกรรมการพัฒนาที่จะดําเนินการเป็นห้วงระยะเวลาสามปี 4. เป็นแผนที่แสดงความเชื่อมโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากับงบประมาณรายจ่าย ประจําปี 1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทาแผนพัฒนาสามปี 1. เพื่อแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงและสอดคล้องกันระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และการจัดทํางบประมาณประจําปีไปในทิศทางเดียวกัน 2. เพื่อแสดงแนวทางขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาในช่วงสามปีที่มีความสอดคล้องกับ ความต้องการของประชาชน และสามารถแก้ไขปัญหาของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อเป็นการจัดเตรียมโครงการพัฒนาต่างๆให้อยู่ในลักษณะที่พร้อมบรรจุในเอกสารงบประมาณ รายจ่ายประจําปี และนําไปปฏิบัติได้ทันทีเมื่อได้รับงบประมาณ
  • 12. 2 1.3 ขั้นตอนการจัดทาแผนพัฒนาสามปี เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ดําเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับประชาคมท้องถิ่น กําหนดประเด็นหลักการพัฒนาให้ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจและจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา รวมทั้งสอดคล้อง กับปัญหาและความต้องการของชุมชน โดยให้นําข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่างๆ และข้อมูลใน แผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทําแผนพัฒนาสามปี 2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น รวบรวมประเด็นหลักการพัฒนาปัญหาและ ความต้องการและข้อมูลนํามาจัดทําร่างแผนพัฒนาสามปีและเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น 3. คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนสามปีเพื่อเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่น 4. ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติร่างแผนพัฒนาสามปี และประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี 1.4 ประโยชน์การจัดทาแผนสามปี 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแผนพัฒนาสามปี เพื่อทําให้ปฏิบัติสอดคล้องกับแผนเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้จัดทําแล้ว 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีแผนพัฒนาสามปีเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการดําเนินการพัฒนา ในช่วงสามปีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 13. 3 ส่วนที่ 2 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมา 2.1 การสรุปสถานการณ์พัฒนา เทศบาลเมืองวังสะพุง จัดตั้งขึ้นตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงฐานะเทศบาล ตําบลวังสะพุง อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เป็นเทศบาลเมืองวังสะพุง เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2554 สํานักงาน (หลังเก่า) ตั้งอยู่เลขที่ 303 ถนนประชาเสรี ม.5 ตําบลวังสะพุง อําเภอวังสะพุง และสํานักงาน(หลังใหม่) เลขที่ 222 ถนนประชาเสรี ม.5 ตําบลวังสะพุง อําเภอวังสะพุง อยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดเลย ห่างจากจังหวัดเลย ระยะทาง 20 กิโลเมตร ตราประจาเทศบาล เทศบาลเมืองวังสะพุง มีตราประจําเทศบาล เป็นรูปปราสาท แม่น้ํา และ ต้นไม้ ความหมาย ปราสาท คือ ที่อยู่ของเจ้าผู้ครองเมืองวังสะพุง ที่นําความเจริญรุ่งเรืองมา ช้านาน แม่น้ํา คือ แม่น้ําเลยไหลผ่านกลางเมือง ซึ่งหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ มีวังน้ําวน มีทรัพยากรทางน้ําหาได้ตลอดทั้งปี ต้นไม้ คือ ต้นสะพุง เป็นต้นไม้ที่มักเกิดในปุาที่มีดินอุดมสมบูรณ์ มีลําต้น ตรง สูงประมาณ 15-20 เมตร กว้าง 5-7 คนโอบ ตั้งอยู่ใกล้ปราสาทริมน้ํา เลยซึ่งหมายถึง ความร่มเย็นเป็นสุขของเมืองวังสะพุง ลักษณะที่ตั้ง เทศบาลเมืองวังสะพุง ตั้งอยู่ในพื้นที่ราบลุ่ม ล้อมรอบด้วยภูเขา มีแม่น้ําที่สําคัญไหล ผ่าน คือ แม่น้ําเลย ซึ่งมีต้นกําเนิดจากภูหลวง ด้านอําเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ไหลผ่านอําเภอภูหลวง อําเภอวังสะพุง อําเภอเมือง และไหลลงสู่แม่น้ําโขงที่อําเภอเชียงคาน อาณาเขต - ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตําบลปากปวน เริ่มจากหลักเขตที่ 1 ตั้งอยู่ที่บริเวณสามแยกทางออกไปจังหวัด เลย ตามหลักกิโลเมตรที่ 331450 ตัดผ่านถนนสาย เลย–ขอนแก่น ที่หลักเขตที่ 2 ตัดเชื่อมถนนด้านนอกทางทิศ ตะวันตก ห่างจากถนน 100 เมตร ตรงไปจรดหลักเขตที่ 3 ระยะทาง 4,500 เมตร - ทิศใต้ ติดต่อกับ ตําบลทรายขาว เริ่มจากหลักเขตที่ 1 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านทางหลวง จังหวัด หมายเลข 21400101 ไปจดถนนศาลเจ้าไปยังหลักเขตที่ 7 ระยะทาง 600 เมตร - ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตําบลศรีสงคราม เริ่มจากหลักเขตที่ 3 วกข้ามสะพาน ลําน้ําเลยทางทิศ เหนือบ้านบุ่งไสล่ ไปยังหลักเขตที่ 4 ระยะทาง 300 เมตร และเลียบริมฝั่งลําน้ําเลยด้านในไปยังหลักเขตที่ 5 ระยะทาง 1,800 เมตร - ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตําบลวังสะพุง เริ่มจากหลักเขตที่ 5 ไปทางทิศตะวันตกของบ้านบุ่งผักก้าม เลียบฝั่งลําน้ําเลยครอบคลุมพื้นที่หนองบุ่งผักก้ามทั้งหมดไปจนถึงหลักเขตที่ 6 อ้อมไปจดหลักเขตที่ 7 ระยะทาง 1,300 เมตร
  • 14. 4 เขตการปกครอง เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 ตําบล 9 หมู่บ้าน ดังนี้ 1. ตาบลวังสะพุง จํานวน 7 หมู่บ้าน คือ 1. บ้านบุ่งผักก้าม หมู่ที่ 3 2. บ้านปากเปุง หมู่ที่ 4 3. บ้านบุ่งคล้า หมู่ที่ 5 4. บ้านนาหลัก หมู่ที่ 6 5. บ้านเลิง หมู่ที่ 8 6. บ้านวังสะพุง หมู่ที่ 9 7. บ้านศรีบุญเรือง หมู่ที่ 10 2. ตาบลศรีสงคราม จํานวน 2 หมู่บ้าน คือ 1. บ้านน้อยนา หมู่ที่ 1 2. บ้านบุ่งไสล่ หมู่ที่ 2 ปัจจุบันได้ประกาศจัดตั้งเป็นชุมชนโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 50 (7) แห่งพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. 2496 และระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีปฏิบัติงานของเทศบาล พ.ศ. 2496 ข้อ 6(5) พร้อมทั้งระเบียบเทศบาลตําบลวังสะพุง ว่าด้วยคณะกรรมการชุมชน พ.ศ. 2544 ซึ่งประกาศจัดตั้งชุมชน ทั้งหมด 20 ชุมชน ประกอบด้วย 1) ชุมชนบ้านนาหลัก 1 11) ชุมชนบุ่งคล้าน้อย 2) ชุมชนบ้านนาหลัก 2 12) ชุมชนบุ่งผักก้าม 3) ชุมชนบ้านศรีบุญเรือง 1 13) ชุมชนบุ่งผักก้ามสามัคคี 4) ชุมชนบ้านศรีบุญเรือง 2 14) ชุมชนหนองเงิน 5) ชุมชนวัดศรีชมชื่น 15) ชุมชนบ้านเลิง 6) ชุมชนวัดจอมมณี 1 16) ชุมชนบ้านบุ่งไสล่ 1 7) ชุมชนวัดจอมมณี 2 17) ชุมชนบ้านบุ่งไสล่ 2 8) ชุมชนบ้านวังสะพุง 1 18) ชุมชนบ้านน้อยนา 9) ชุมชนบ้านวังสะพุง 2 19) ชุมชนร่วมใจพัฒนา 10) ชุมชนบุ่งคล้า 20) ชุมชนวัดวังสะพุงพัฒนาราม พื้นที่ เขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีพื้นที่ 6.07 ตารางกิโลเมตร ประชากร จํานวนประชากรในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง ปี ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) 2553 6,132 6,393 12,525 2554 6,035 6,339 12,374 2555 5,959 6,253 12,212 2556 5,896 6,223 12,119 2557 5,843 6,178 12,021 หมายเหตุ : ข้อมูล ณ เดือนธันวาคมของทุกปี
  • 15. 5 ข้อมูลโครงสร้างด้านต่างๆ ของเทศบาลเมืองวังสะพุง 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เนื่องจากเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีประชากรอยู่ในความดูแลเป็นจํานวนมาก ประกอบกับมี อัตรากําลัง และเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ไม่เพียงพอกับภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในด้านต่างๆของ เทศบาล แต่อย่างไรก็ตามในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เทศบาลเมืองวังสะพุงได้ตั้งงบประมาณเพื่อก่อสร้าง ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เช่น ก่อสร้างปรับปรุงถนนสายต่างๆ วางท่อระบายน้ํา ปรับปรุงไฟฟูา สาธารณะ ปรับปรุงภูมิทัศน์และทัศนียภาพต่างๆ รวมถึงโครงการที่เป็นการพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆของ ประชาชน การพัฒนาด้านการศึกษาและกีฬา การส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน และการพัฒนา ด้านต่างๆ อย่างเต็มความสามารถ ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ระบบบริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 1.1 การคมนาคม / ขนส่ง เทศบาลเมืองวังสะพุง มีการคมนาคมสะดวกสบาย มีเส้นทางติดต่อกับภาคเหนือและเส้นทางที่จะ เดินทางสู่ภาคอื่นๆ ได้สะดวกโดยทางรถยนต์ มีสถานีขนส่งวังสะพุง ให้บริการประชาชน ประกอบด้วย รถโดยสารประจําทาง มีทั้งรถปรับอากาศ ชั้น 1 ปรับอากาศชั้น 2 และรถโดยสารธรรมดา เส้นทางระหว่างเมืองเลย–กรุงเทพฯ,เชียงคาน–กรุงเทพฯ ,นครพนม – เชียงราย , อุดรธานี–เชียงใหม่, เมืองเลย–ขอนแก่น , เมืองเลย–อุดรธานี, เชียงคาน–นครราชสีมา ผ่านตลอดเวลา 1.2 การไฟฟ้า การให้บริการด้านการไฟฟูา มีสํานักงานการไฟฟูาส่วนภูมิภาคสาขาอําเภอวังสะพุง ให้บริการกับ ประชาชนในเขตพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่ภายในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีไฟฟูาใช้หมดแล้ว 1.3 การประปา การให้บริการด้านน้ําประปา ในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง ปัจจุบันมีการประปาส่วนภูมิภาคสาขา วังสะพุงรับผิดชอบเรื่องการดําเนินการระบบประปา และจําหน่ายน้ําประปาให้กับประชาชนในเขตเทศบาล โดยกําลังมีการขยายระบบการผลิตน้ําประปาที่มีคุณภาพและพัฒนาการให้บริการประชาชนเพื่อให้ครอบคลุม พื้นที่มากขึ้นในอนาคต 1.4 การสื่อสารและโทรคมนาคม การให้บริการด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม ในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีที่ทําการไปรษณีย์ วังสะพุง ให้การบริการแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง 1.5 การติดต่อสื่อสาร สํานักงานเทศบาลเมืองวังสะพุง มีหมายเลขโทรศัพท์ติดต่อดังนี้ 1. หมายเลขโทรศัพท์ คือ 0-4284-1393 และ 0-4284-2135 2. โทรสาร 0-4284-1727 3. หมายเลขโทรศัพท์ภายใน ดังนี้ ห้อง/กอง/หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ ภายใน ห้อง/กอง/หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ ภายใน ห้องนายก 12 กองวิชาการฯ 21 ห้องรองนายก 13-14 กองสวัสดิการสังคม 22 ห้องสมาชิกสภา 17 กองการศึกษา 23 ห้องปลัดเทศบาล 18 กองสาธารณสุขฯ 24 สํานักปลัดเทศบาล 15 งานปูองกันฯ 25-26 กองคลัง 16 One stop service 11 กองช่าง 20 ห้องเสียงตามสาย 0-4284-1488
  • 16. 6 4. ให้บริการ Internet Wifi ฟรี จํานวน 3 จุด ได้แก่ หน้าสํานักงานเทศบาลเมืองวังสะพุง ถนนอาหารชาววัง และบริเวณสวนสาธารณะคลองบุ่งคล้า 5. Email : wangsaphung001@gmail.com www.wangsaphung.go.th facebok.com/wangsaphung 1.6 การจราจร ในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีระบบการจราจรที่คล่องตัวพอสมควร ส่วนใหญ่สภาพถนนดี ไม่ชํารุด เสียหาย แต่บางส่วนยังคับแคบโดยเฉพาะในเขตชุมชน มีเส้นทางสายหลักเชื่อมต่อกับสายย่อยและสามารถ เดินทางติดต่อถึงกันได้อย่างทั่วถึง โดยเทศบาลเมืองวังสะพุงได้ดําเนินการปรับปรุงถนนสายต่างๆ ทั้งสายหลัก และสายรองให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอ 1.7 บริการสาธารณะอื่นๆ ปัจจุบันในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง มีระบบการบริการสาธารณะ ดังนี้ (1) สถานีดับเพลิง ปัจจุบันเทศบาลเมืองวังสะพุง มีรถยนต์ดับเพลิง ขนาด 170 แรงม้า จํานวน 2 คัน ขนาดบรรจุ 2,000 ลิตร และรถยนต์บรรทุกน้ําขนาด 190 แรงม้า จํานวน 1 คัน ขนาดบรรจุ 6,000 ลิตร รถกู้ภัย จํานวน 1 คัน และเทศบาลมีโครงการจะจัดหาเพิ่มเติมเพื่อให้เพียงพอในการให้บริการ (2) ตลาด เทศบาลเมืองวังสะพุง มีตลาดอยู่ 2 แห่ง คือ ตลาดสดเทศบาล และตลาดเอกชนบ้าน นาหลัก ซึ่งสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง 2. ด้านเศรษฐกิจ โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ลักษณะของการประกอบอาชีพ ในเขตชุมชนเทศบาลเมืองวังสะพุง ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ร้านค้าเกี่ยวกับเครื่องอุปโภคบริโภคและสินค้าจําเป็นทางด้านการเกษตร และร้านค้ารับ ซื้อผลผลิตทางการเกษตร โดยส่วนใหญ่ที่ตั้งของร้านค้าดังกล่าวมักจะติดอยู่กับถนนสายหลัก และรายได้ของ ประชากรเฉลี่ย อยู่ในระดับปานกลาง 2.1 การเกษตรกรรม ลักษณะของการประกอบอาชีพส่วนใหญ่ คือ ทํานา สวนผลไม้ และปลูกพืชผัก แต่ประสบปัญหาแหล่ง น้ําธรรมชาติมีน้อย มีสภาพตื้นเขิน ขาดการบํารุงรักษา และในฤดูฝนเกิดน้ําท่วมพื้นที่การเกษตร 2.2 การปศุสัตว์ ลักษณะการประกอบการปศุสัตว์ ส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงในลักษณะควบคู่ไปกับการปลูกพืชในรูปแบบ ของเกษตรแบบผสมผสาน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้ในการบริโภคและใช้จ่ายให้กับครัวเรือน เมื่อเหลือจาก การบริโภคหรือใช้งานแล้ว จึงจําหน่ายเพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน 2.3 การอุตสาหกรรม ลักษณะของการประกอบอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อมซึ่งเป็นระบบ ครอบครัวและจ้างแรงงานเพียงไม่กี่คน เช่น การหล่ออิฐบล๊อค, หล่อเสา, ทําลูกชิ้น, ขนมจีน เป็นต้น 2.4 การพานิชยกรรม / การบริการ การประกอบการค้าในเขตเทศบาล เป็นรานค้าเกี่ยวกับการอุปโภค บริโภค สินค้าทางการเกษตร การค้าผลผลิตทางการเกษตร โดยร้านค้าส่วนใหญ่ตั้งอยู่ติดกับถนนสายหลัก ทิศทางการค้า/การลงทุน โดยพื้นฐานในเขตเทศบาลเป็นเมืองค้าขาย ทั้งสินค้าอุปโภคบริโภค มีสภาพ เศรษฐกิจดี การซื้อขายเป็นไปอย่างคล่องตัว การคมนาคมสะดวกสบาย สภาพความเจริญอยู่ในระดับกลาง เหมาะสมอย่างยิ่งสําหรับการลงทุนในทุก ๆ ด้าน 2.5 การท่องเที่ยว สถานที่ท่องเที่ยวในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุงนั้น จัดเป็น 2 ส่วน คือ ความสวยงามของภูมิทัศน์ของ ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการหน้าบ้านน่ามอง ซึ่งเป็นแหล่งศึกษาดูงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ หรือ ประชาชนที่สนใจ และสถานที่ท่องเที่ยวที่ศักดิ์สิทธิ์ ได้แก่
  • 17. 7 (1) ศาลเจ้าพ่อศรีสงคราม ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลในชุมชนวัดศรีชมชื่นใกล้กับแม่น้ําเลย ลักษณะแหล่งท่องเที่ยว เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่เคารพสักการะของชาวอําเภอวังสะพุงและอําเภอใกล้เคียง ซึ่งจะแวะเวียนเข้ามากราบไหว้อยู่เป็นประจํา และจะมีการจัดงานงิ้วเป็นประจําทุกปี ในระหว่างเดือนมีนาคม – เมษายน (ไหหลํา) (2) ศาลเจ้าปู่ – ย่า วังสะพุง ตั้งอยู่บริเวณสามแยกถนนภูมิวิถี เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่ เคารพสักการะของชาวอําเภอวังสะพุงและอําเภอใกล้เคียง มีลักษณะการก่อสร้างแบบจีน โดยจะมีการจัดงานงิ้ว เป็นประจําทุกปี ในระหว่างเดือนตุลาคม – ธันวาคม (แต้จิ๋ว) รายได้จากการท่องเที่ยว ส่วนใหญ่จะเป็นในลักษณะของค่าใช้จ่ายในการเดินทางเข้ามาเยี่ยมชม ค่าใช้จ่าย ในการจับจ่ายซื้อของ ซึ่งความเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าพ่อศรีสงครามและศาลเจ้าปูุ-ย่าวังสะพุง มีส่วนในการ จูงใจให้คนเดินทางเข้ามาในเขตเทศบาลมาก รายได้จากการท่องเที่ยวที่น่าส่งเสริม คือ การจําหน่ายของที่ระลึก การมีร้านอาหารที่สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้อย่างเหมาะสม รายได้จากการขายพวงมาลัยและสิ่งสักการะอื่น และการอาหารและที่พักรองรับนักท่องเที่ยว 3. ด้านสังคม 3.1 การศึกษา เทศบาลเมืองวังสะพุง มีสถานศึกษาในความรับผิดชอบ คือ โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 , โรงเรียน เทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง ส่วนการจัดการศึกษาอยู่ในความ รับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับมัธยม, ประถมศึกษาและระดับอนุบาล สามารถจําแนกได้ ดังนี้ (1) โรงเรียนประถมศึกษา จํานวน 2 แห่ง (2) โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น-ปลาย จํานวน 1 แห่ง (3) ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) จํานวน 1 แห่ง (4) ห้องสมุดประชาชน จํานวน 1 แห่ง ข้อมูลทั่วไปโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังสะพุง 1. โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 ตั้งอยู่เลขที่ 74 หมู่ 2 ตําบลศรีสงคราม อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย สังกัด กองการศึกษา เทศบาลเมืองวังสะพุง จังหวัดเลย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย โรงเรียน เทศบาลวังสะพุง 1 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2548 โดยยกฐานะจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะ พุง บนพื้นที่สาธารณะประโยชน์บริเวณโรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 2 ไร่ 2 งาน 16 ตารางวา โดยทิศเหนือ ติดกับ วัดศรีอุดมวงศ์ ทิศตะวันออกติดกับโรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้าน บุ่งไสล่ ทิศใต้ติดกับชุมชนบุ่งไสล่ ทิศตะวันตก ติดกับแม่น้ําเลย โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 จัดการศึกษาในระดับปฐมวัยและประถมศึกษา เปิดทําการสอนในระดับชั้น อนุบาลปีที่ 1 ถึง ระดับประถมศึกษาถึงชั้นปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2552 ทางคณะผู้บริหารของเทศบาลเมืองวังสะ พุงได้เล็งเห็นถึงอนาคตและความก้าวหน้าต่อไปของโรงเรียน จึงมีนโยบายเปิดการเรียนการสอนในโปรแกรมกีฬา ที่เน้นกีฬาฟุตบอล และในปีการศึกษา 2555 ผู้บริหารเทศบาลเมืองวังสะพุง ได้พิจารณาถึงความเหมาะสมในด้าน การจัดการเรียนการสอน จึงมอบหมายให้โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่ เป็นผู้รับผิดชอบดูแลในการ บริหารจัดการโปรแกรมกีฬาฟุตบอลและในวันที่ 15 สิงหาคม 2557 ผู้บริหารเทศบาลเมืองวังสะพุง ได้มอบหมาย ให้การบริหารจัดการโปรแกรมกีฬาฟุตบอลอยู่ในการดูแลของโรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 อีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2554 ได้จัดการเรียนการสอนเพื่อสู่ประชาคมอาเชียน โดยจัดการศึกษาตามหลักสูตร สถานศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรพิเศษ Mini English Program โดยมีครูชาวต่างชาติมาสอน ให้ผู้เรียนได้เกิด ประสบการณ์จริง มีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ โดยการจัดเตรียมกิจกรรมต่าง ๆ ให้ผู้เรียน ได้ฝึกปฏิบัติ มีกิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมเสริมทักษะ กิจกรรมกีฬานันทนาการ กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมส่งเสริมทางศาสนาในวันสําคัญต่างๆและกิจกรรมอื่นๆ ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะความรู้ ความสามารถเต็มตามศักยภาพของผู้เรียน
  • 18. 8 วิสัยทัศน์ จัดการศึกษาได้มาตรฐาน เน้นการประสานของชุมชน เข้มข้นคุณธรรม นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่การเรียนรู้ สู่ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ พันธกิจ 1. โรงเรียนจัดการศึกษาโดยใช้กระบวนการโรงเรียนเป็นฐาน 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ และก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 3. จัดให้มีการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง สู่ครูมืออาชีพ 4. จัดให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา 5. จัดให้มีข้อมูลสารสนเทศครบถ้วน ทันสมัย 6. จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 7. ปลูกฝังคุณธรรมนําความรู้ ค่านิยม แบบเศรษฐกิจพอเพียงและให้นักเรียนอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น และค่านิยมรักความเป็นไทย ภูมิใจและรักถิ่นกําเนิด และยึดมั่นใน ชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์ 8. จัดการเรียนรู้พิเศษด้านภาษาอังกฤษ จานวนบุคลากร 1) ผู้อํานวยการสถานศึกษา จํานวน 1 คน 2) รองผู้อํานวยการสถานศึกษา (ตามมาตรฐานตําแหน่ง) จํานวน 2 คน 3) ครูผู้สอน ข้าราชการ/พนักงานครู จํานวน 27 คน พนักงานจ้าง (สอน) จํานวน 5 คน พนักงานจ้างตามภารกิจ จํานวน 2 คน ข้อมูลนักเรียน จํานวนนักเรียนในโรงเรียนทั้งสิ้น 818 คน จําแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน 1. ระดับก่อนประถมศึกษา - นักเรียนชั้นอนุบาล 1 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 84 คน - นักเรียนชั้นอนุบาล 2 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 92 คน 2. ระดับประถมศึกษา - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 98 คน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 85 คน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 82 คน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 113 คน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 132 คน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 132 คน ข้อมูลอาคารสถานที่ 1. อาคารเรียน จํานวน 3 หลัง 2. อาคารประกอบ จํานวน 1 หลัง 3. ห้องน้ํา/ห้องส้วม จํานวน 2 หลัง 4. ห้องสมุด จํานวน 1 ห้อง 5. ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ จํานวน 1 ห้อง 6. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จํานวน 1 ห้อง
  • 19. 9 2. โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่ ข้อมูลทั่วไป 1.1 ชื่อ สถานศึกษาโรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่ ตั้งอยู่เลขที่ .......-....... ถนน มลิวรรณ ตําบลศรีสงคราม อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย รหัสไปรษณีย์ 42130 โทรศัพท์ 0-4284-1431 Facebook โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่ 1.2 สังกัด กองการศึกษา เทศบาลเมืองวังสะพุง อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย 1.3 เปิดสอนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-5 1.4 กลุ่มการศึกษาท้องถิ่นที่ 9 ข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา 2.1 ผู้อํานวยการสถานศึกษา จํานวน 1 คน 2.2 รองผู้อํานวยการสถานศึกษา จํานวน 1 คน 2.3 พนักงานครู จํานวน 13 คน บุคลากรทางการศึกษา จํานวน 2 คน พนักงานจ้างรายชั่วโมง จํานวน 2 คน พนักงานจ้างรายวัน จํานวน 5 คน พนักงานบริการ จํานวน 1 คน รวม ผู้บริหาร พนักงานครูและ บุคลากรทางการศึกษาพนักงานจ้าง ทั้งสิ้น 25 คน อาคารสถานที่ปัจจุบัน 3.1 มีอาคารเรียนจํานวน 3 หลัง - อาคารเรียนแบบ ป 1 ฉ 4 ห้องเรียน จํานวน 1 หลัง ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ 2523 - อาคารเรียนแบบ สปช. 102 3 ห้องเรียน จํานวน 1 หลัง ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ 2525 - กําลังก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สน.สท 4/12 จํานวน 12 ห้องเรียนใต้ถุนโล่ง 3.2 อาคารประกอบ - อาคารเอนกประสงค์แบบ สน.ปท (ชั้นลอย) จํานวน 1 หลัง - อาคารเอนกประสงค์แบบ สปช. 203 จํานวน 1 หลัง - ส้วม 10 ที่นั่ง จํานวน 2 หลัง - บ้านพักครู จํานวน 1 หลัง 3.3 รั้วโรงเรียน - รั้วโรงเรียน ก่อสร้างใหม่บริเวณด้านหน้าโรงเรียนพร้อมปูายชื่อโรงเรียน ก่อสร้างปี 2557 - รั้วโรงเรียนด้านทิศเหนือของโรงเรียน ก่อสร้างปี พ.ศ. 2543 (สภาพชํารุด) - บริเวณโรงเรียนด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ยังไม่มีรั้วโรงเรียน 3.4 สนามกีฬา ประกอบด้วย - สนามฟุตบอล จํานวน 1 สนาม ใช้งานได้ ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนในปีการศึกษา 2558 - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มี 3 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 104 คน - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มี 2 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 89 คน - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี 2 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 76 คน - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มี 1 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 40 คน - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มี 1 ห้องเรียน จํานวนนักเรียนทั้งหมด 20 คน รวมทั้งสิ้น 329 คน
  • 20. 10 3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ดําเนินการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุงและรับเด็กก่อนวัย เรียนเข้าเตรียมความพร้อมเพื่อปฏิบัติตามนโยบายกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมี วัตถุประสงค์ในการกระจายโอกาสการพัฒนาความพร้อม ให้เด็กทุกคนได้รับพัฒนาอย่างทั่วถึงมีคุณภาพ และ เป็นไปตามพัฒนาการแห่งวัย ให้สามารถเข้ารับการศึกษาในระดับสูงขึ้นต่อไปอย่างมีประสิทธิผล เทศบาลเมืองวังสะพุง จึงได้ประกาศรับสมัครเด็กเข้าเรียนเพื่อพัฒนาความพร้อม ณ ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กเทศบาลตําบลวังสะพุง บริเวณวัดศรีชมชื่น ตั้งแต่ปีการศึกษา 2544 กองการศึกษา เทศบาลเมือง วังสะพุง ได้พิจารณาเลือกเด็กที่มีฐานะยากจนในเขตเทศบาล ซึ่งอยู่ในดุลยพินิจของประชาชนทุกชุมชน โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ดําเนินการขอใช้พื้นที่สาธารณะของราชพัสดุ บริเวณ โรงเรียนบ้านบุ่งไสล่ และได้รับอนุญาตให้ใช้พื้นที่ เนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 16 ตารางวา เพื่อใช้เป็นสถานที่จัด กิจกรรมการเตรียมความพร้อมของนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง เป็นต้นมา ในปีการศึกษา 2547 เทศบาลตําบลวังสะพุง ได้ดําเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาความพร้อมของศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กเทศบาลตําบลวังสะพุง และได้รวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่รับถ่ายโอนจากกรมศาสนา จํานวน 2 ศูนย์เข้าด้วยกัน และดําเนินการเรียนการสอนเป็นแห่งเดียว ณ บริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง ตั้งแต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2547 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง มีอาณาเขตติดต่อ และบริเวณใกล้เคียง ดังนี้ - ทิศเหนือ ติดกับ โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 - ทิศตะวันออก ติดกับ โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 2 บ้านบุ่งไสล่ - ทิศใต้ ติดกับ โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 - ทิศตะวันตก ติดกับ โรงเรียนเทศบาลวังสะพุง 1 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้างต่างๆ ดังนี้ 1) อาคารเรียนแบบ สน.ศท.อนุบาล 8 จํานวน 1 หลัง ประกอบด้วย - ห้องเรียน จํานวน 6 ห้อง - ห้องวิชาการ จํานวน 1 ห้อง - ห้องรับประทานอาหาร จํานวน 1 ห้อง - ห้องน้ําห้องส้วมครู จํานวน 4 ห้อง - ห้องน้ําห้องส้วมนักเรียน จํานวน 8 ห้อง สถิติจานวนนักเรียน ปีการศึกษา 2558 จานวนนักเรียน 160 คน นักเรียนชาย 74 คน นักเรียนหญิง 86 คน บุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองวังสะพุง มีอัตราและบุคลากรทั้งหมด 13 คน 1. หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จํานวน 1 คน 2. ครูผู้ดูแลเด็ก จํานวน 4 คน 3. ผู้ดูแลเด็ก จํานวน 7 คน 4. นักการ จํานวน 1 คน 3.2 ศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลนับถือศาสนาพุทธ รองลงมา คือ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม มี จํานวน ศาสนสถานในเขตเทศบาล ดังนี้ วัดในพุทธศาสนา 8 วัด ส่วนโบสถ์ทางศาสนาคริสต์และมัสยิดไม่มี 3.3 ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ในเขตเทศบาลมีประเพณีที่สําคัญและจัดขึ้นประจํา ได้แก่ (1) ประเพณีสงกรานต์ 6) ประเพณีเลี้ยงศาลเจ้าพ่อศรีสงคราม (2) ประเพณีแห่ดอกไม้เครื่อง 7) งานงิ้วศาลเจ้าปูุ-ย่าวังสะพุง (3) ประเพณีแห่เทียนพรรษา 8) ประเพณีลอยกระทง (4) ประเพณีเลี้ยงบ้าน (เลี้ยงหอ) 9) ประเพณีแข่งเรือกาบ (5) งานประจําปี (งานวัด) 10) ทําบุญมหาชาติ
  • 21. 11 3.4 การสาธารณสุข เทศบาลยังไม่มีการให้บริการในด้านการรักษาพยาบาลแก่ประชาชนโดยตรง ส่วนใหญ่จะเป็นการให้ความรู้ ต่างๆ ด้านสาธารณสุข การปูองกันโรค ร่วมกับสาธารณสุขอําเภอวังสะพุง โรงพยาบาลวังสะพุง และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในการให้บริการความรู้ หรือแนะนําประชาชนเกี่ยวกับสุขภาพ และการประกอบกิจการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ ด้านสาธารณสุข ประชาชนส่วนใหญ่จะใช้บริการด้านรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลวังสะพุง และสถานบริการของ เอกชน 3.5 การสังคมสงเคราะห์และการสวัสดิการ สํานักงานเทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ร่วมกับส่วนราชการในพื้นที่ดําเนินการให้ความช่วยเหลือสงเคราะห์ ประชาชนในหลายประเภทตามสถานการณ์และความต้องการของประชาชน เช่น ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย,วาตภัย, ช่วยเหลือเด็กและคนชรา, ช่วยเหลือคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในสังคม โดยดําเนินการอย่างต่อเนื่อง การให้ความ ช่วยเหลือของเทศบาลได้รับความร่วมมือจากหลายฝุายด้วยกัน เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพื่อเป็นการ สงเคราะห์เบี้ยยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ปุวยเอดส์ รวมถึงผู้ด้อยโอกาสในสังคม ซึ่งจากการสํารวจพบว่า ยังมี ประชาชนในเขตเทศบาลที่ต้องการความช่วยเหลืออยู่ เทศบาลเมืองวังสะพุงจึงได้ดําเนินการโครงการไทวังสะพุงรวมใจ ห่วงใยไม่ทิ้งกัน เป็นการช่วยเหลือด้านที่อยู่อาศัย และด้านอื่นๆ ให้กับประชาชน โดยไม่ใช้งบประมาณของเทศบาล แต่เป็นการช่วยเหลือกันระหว่างผู้ที่เข้มแข็งในสังคม ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในสังคม ซึ่งเป็นการช่วยเหลือกันใน เบื้องต้น เพื่อให้เทศบาลเมืองวังสะพุงเป็นสังคมที่น่าอยู่ต่อไป 3.6 การประกันสังคม เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ทําประกันสังคมด้านการรักษาพยาบาลให้กับพนักงานจ้างของเทศบาลทุกราย 3.7 รัฐสวัสดิการ และการบริการด้านอื่นของรัฐ (1) อบรม และช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด (2) จัดการแข่งขันกีฬาเยาวชนและประชาชนทั่วไปเพื่อส่งเสริมการออกกําลังกาย ห่างไกลยาเสพ ติด 4. ด้านการเมืองการบริหาร 4.1 โครงสร้างและกระบวนการบริหารงานบุคคล เทศบาลเมืองวังสะพุงมีโครงสร้างการบริหารงาน ดังนี้ ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล รองปลัดเทศบาล สานักปลัดฯ กองวิชาการฯ กองช่างกองคลัง กองสาธารณสุขฯ กองการศึกษา กองสวัสดิการฯ รองนายกเทศมนตรี
  • 22. 12 อัตรากาลังพนักงานเทศบาลสามัญ เทศบาลเมืองวังสะพุง สังกัดกอง จาแนกพนักงาน แยกตามระดับ รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 1. สํานักปลัดฯ - - - - 3 2 3 2 10 2. กองวิชาการและแผนงาน - - - - - 3 2 - 5 3. กองคลัง - 1 - 2 1 1 1 1 7 4. กองช่าง - - - - 2 - 2 1 5 5. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม - - 1 - - 2 - 1 4 6. กองการศึกษา - - 1 1 - 3 2 1 8 7. กองสวัสดิการสังคม - - - - 1 - 1 1 3 รวม - 1 2 3 7 11 11 7 42 เทศบาลเมืองวังสะพุง มีอัตรากําลังพนักงานเทศบาลสามัญ 42 คน ลูกจ้างประจํา 3 คน พนักงาน จ้างตามภารกิจ 12 คน พนักงานจ้างทั่วไป 36 คน รวมทั้งสิ้น 93 คน 4.2 อานาจหน้าที่ในการบริหารงาน เทศบาลเมืองวังสะพุง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ เทศบาล ซึ่งมีอํานาจหน้าที่ดําเนินการกิจการในเขตเทศบาล อันได้แก่ รักษาความสงบเรียบร้อยและศีลธรรม อันดีของประชาชน การทํานุบํารุงศาสนา การส่งเสริมวัฒนธรรม การสาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ซึ่งจําเป็น เพื่อประโยชน์ของราษฎรและท้องถิ่น ซึ่งจากการดําเนินการในระยะที่ผ่านมา ได้ดําเนินการเกี่ยวกับด้าน โครงสร้างพื้นฐานประเภทถนน ไฟฟูา ท่อระบายน้ํา และส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชนให้มีรายได้ เพิ่มขึ้น รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านต่างๆ แต่ยังมีข้อจํากัดในด้านงบประมาณที่ยังไม่เพียงพอต่อการ พัฒนา 4.3 การคลังเทศบาล รายรับของเทศบาลประกอบด้วย รายได้และเงินอื่น ดังนี้ รายได้ ประกอบด้วย (1) ภาษีอากรซึ่งเทศบาลมีอํานาจจัดเก็บ เช่น ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีปูาย อากรฆ่าสัตว์ หรือที่ รัฐบาลจัดเก็บแล้วโอนทั้งหมดหรือบางส่วนให้แก่เทศบาล เช่น ภาษีการค้า ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และ ล้อเลื่อน ภาษีและค่าธรรมเนียมที่ดิน ภาษีสุรา ภาษีสรรพสามิต (2) ค่าธรรมเนียม ค่าปรับและใบอนุญาต ซึ่งเทศบาลมีอํานาจจัดเก็บ หรือที่รัฐบาลจัดเก็บแล้วโอน ทั้งหมดหรือบางส่วนให้เทศบาลตามกฎหมายกําหนด เช่น ค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการฆ่าสัตว์ ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาตขายสุรา ฯลฯ (3) รายได้จากทรัพย์สิน เป็นรายได้ที่เกิดจากดอกเบี้ยเงินฝาก และจากการให้เช่าสถานที่ หรือที่ดินซึ่ง เป็นทรัพย์สินของเทศบาล หรืออยู่ในความควบคุมดูแลของเทศบาล เช่น ค่าเช่าที่ดิน ค่าเช่าสถานที่ พันธบัตร หรือเงินกู้ หรือเงินฝาก ฯลฯ (4) รายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์ เช่น เงินเหลือจ่ายท้องถิ่น จากการประปา หรือสถาน ธนานุบาล ฯลฯ (5) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลหรือหน่วยงานอื่นจัดสรรให้ เช่น เงินอุดหนุนทั่วไป, เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ , รายได้เบ็ดเตล็ดซึ่งเป็นรายได้ที่ไม่เข้าลักษณะรายได้หมวดหนึ่งหมวดใดดังกล่าวข้างต้น เช่น เงินที่มีผู้อุทิศให้
  • 23. 13 ตารางที่ 1 รายรับของเทศบาล รายรับ รายรับจริง ปี 2556 รายรับจริง ปี 2557 ประมาณการ ปี 2558 รายได้จัดเก็บเอง หมวดภาษีอาการ 3,210,429.80 3,489,392.15 3,196,000.00 หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต 1,460,010.23 2,189,163.80 1,503,400.00 หมวดรายได้จากทรัพย์สิน 2,609,024.72 2,330,734.65 2,142,000.00 หมวดรายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์ - - - หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด 587,399.00 613,606.48 510,400.00 หมวดรายได้จากทุน - - 5,000.00 รวมรายได้จัดเก็บเอง 7,866,863.75 8,622,897.08 7,356,800.00 รายได้ที่รัฐบาลเก็บแล้วจัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมวดภาษีจัดสรร 40,182,982.68 34,993,712.53 49,561,310.00 รวมรายได้ที่รัฐบาลเก็บแล้วจัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 40,182,982.68 34,993,712.53 49,561,310.00 รายได้ที่รัฐบาลอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป 44,905,111.00 51,419,003.50 58,300,170.00 รวมรายได้ที่รัฐบาลอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 44,905,111.00 51,419,003.50 58,300,170.00 รวม 92,954,957.43 95,035,613.11 115,218,280.00 รายจ่ายของหน่วยงาน แยกเป็น - รายจ่ายงบกลาง หมายถึง รายจ่ายที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีภาระผูกพันต้องจ่าย และเป็น รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจัดสรรให้หน่วยงานต่างๆ เบิกจ่าย เช่น ค่าชําระหนี้เงินต้น ค่าชําระดอกเบี้ย เงินสบทบ กองทุนประกันสังคม รายจ่ายตามข้อผูกพัน สํารองจ่าย ฯลฯ - รายจ่ายตามแผนงาน หมายถึง รายจ่ายซึ่งกําหนดรายละเอียดหมวดรายจ่ายไว้ในงานหรือโครงการ ตามแผนงานสําหรับหน่วยงานใดโดยเฉพาะ ได้แก่ รายจ่ายดังต่อไปนี้ 1. งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคล ได้แก่ รายจ่ายที่ จ่ายในลักษณะเงินเดือน ค่าจ้างประจํา ค่าจ้างชั่วคราว และค่าตอบแทนพนักงานจ้าง รวมถึงรายจ่ายที่ กําหนดให้จ่ายในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว 2. งบดําเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจํา ได้แก่ รายจ่าย ที่เป็นลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึงรายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายในลักษณะ รายจ่ายดังกล่าว ประกอบด้วย 3. งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่เป็นลักษณะ ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รวมถึงรายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่าย ดังกล่าว 4. งบเงินอุดหนุน หมายถึง เงินที่จ่ายให้องค์กรอื่นเพื่อนําไปดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกฎหมาย โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมิได้ดําเนินการเอง 5. งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายที่กําหนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้
  • 24. 14 ตารางที่ 1 รายจ่ายของเทศบาล รายจ่าย รายจ่ายจริง ปี 2556 รายจ่ายจริง ปี2557 ประมาณการ ปี 2558 จ่ายจากงบประมาณ งบกลาง 3,374,825.14 3,236,362.68 6,943,180.00 งบบุคลากร (หมวดเงินเดือน ค่าจ้างประจํา และค่าจ้าง ชั่วคราว) 34,777,100.39 39,549,324.54 46,694,000.00 งบดําเนินงาน (หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ และหมวดค่าสาธารณูปโภค) 31,555,697.25 31,421,847.25 38,791,400.00 งบลงทุน (หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) 11,973,788.85 11,887,804.75 16,665,700.00 งบรายจ่ายอื่น (หมวดรายจ่ายอื่น) 1,001,678.98 1,127,087.98 1,140,000.00 งบเงินอุดหนุน (หมวดเงินอุดหนุน) 3,796,351.02 5,126,000.00 4,984,000.00 รวมจ่ายจากงบประมาณ 86,479,441.63 92,348,427.20 115,218,280.00 รวม 86,479441.63 92,348,427.20 115,218,280.00 4.4 บทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชน การมีส่วนร่วมทางการเมือง ในเขตเทศบาลเมืองวังสะพุง ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในทาง การเมืองการปกครองตนเอง ซึ่งพิจารณาได้จากการมีการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีและสมาชิกสภาเทศบาลเมือง วังสะพุง เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2554 ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จํานวน 8,954 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้ง จํานวน 6,036 คน คิดเป็นร้อยละ 67.41 ในการเลือกตั้งแต่ละครั้งประชาชนในเขตเทศบาลจะมีความสนใจและตื่นตัวเป็น อย่างมาก ทางการบริหาร ในแต่ละชุมชนได้มีการจัดประชุมเพื่อดําเนินการในเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องกับชุมชนของ ตนเองอย่างต่อเนื่อง และเทศบาลเมืองวังสะพุงได้มีการจัดประชุมประจําเดือน โดยได้เชิญกํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ประธานชุมชนเข้าร่วมปรึกษาหารือในเรื่องต่างๆเป็นประจําทุกวันอังคารแรกของเดือน ทําให้ความร่วมมือใน การดําเนินการในโครงการต่าง ๆ จากทุกภาคส่วนด้วยดี 4.5 การอานวยการเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เทศบาลเมืองวังสะพุง ได้ร่วมกับหน่วยงานราชการ เอกชน และกลุ่มพลังมวลชนต่างๆ เช่น ที่ทําการ ปกครองอําเภอวังสะพุง สถานีตํารวจภูธรวังสะพุง กลุ่ม อปพร. สายตรวจจักรยาน เทศกิจ ฯลฯ ในการ สอดส่องดูแลความสงบสุขและความเรียบร้อยของประชาชน 5. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5.1 ทรัพยากรน้า คุณภาพแหล่งน้ําโดยทั่วไป สภาพแหล่งน้ํา ลําคลอง อยู่ในสภาพตื้นเขิน ทําให้ไม่ สามารถใช้ประโยชน์ได้ไม่เต็มที่ ระบบจัดการด้านสิ่งแวดล้อมยังมีปัญหา คือ ขาดระบบระบายน้ําที่ถูกต้องและ เหมาะสม ทําให้ปัญหาน้ําท่วมขังระยะสั้นๆ เมื่อฝนตกหนัก โดยในขณะนี้เทศบาลเมืองวังสะพุง และหน่วยงาน ราชการอื่นๆได้ร่วมมือกันดําเนินการปรับปรุงแก้ไขแหล่งน้ําต่างๆ เช่น การขุดลอกแม่น้ําเลย การก่อสร้างเขื่อน ปูองกันตลิ่งแม่น้ําเลย รวมถึงการปรับปรุงคลอง/บุ่งต่างๆในเขตเทศบาลให้อยู่ในสภาพที่ใช้ประโยชน์ได้และ มีทัศนียภาพที่สวยงาม ประเภททรัพยากรแหล่งน้า ได้แก่ แม่น้ํา ลําคลอง จานวนทรัพยากรแหล่งน้า 1. แม่น้ํา จํานวน 1 แห่ง คือ แม่น้ําเลย 2. ลําคลอง จํานวน 4 แห่ง คือ
  • 25. 15 1) บุ่งคล้า 2) บุ่งไสล่ 3) บุ่งผักก้าม 4) กุดจับ 5.2 ขยะสิ่งปฏิกูล ในปี 2557 ปริมาณขยะและสิ่งปฏิกูลที่จัดเก็บในเขตเทศบาล มีจํานวนประมาณ 3,240 ตัน เทศบาล เมืองวังสะพุง มีระบบการกําจัดขยะมูลฝอย โดยนําขยะที่เก็บในเขตเทศบาลไปทิ้งยังบริเวณที่ทิ้งขยะของ เทศบาล เมืองเลย โดยชําระค่าบริการเป็นรายเดือน ปัจจุบันเทศบาลเมืองวังสะพุง มีรถยนต์ขนขยะมูลฝอย แบบเทข้าง จํานวน 2 คัน และรถยนต์ขนขยะมูลฝอยแบบอัดท้าย จํานวน 2 คัน ซึ่งนับว่ายังไม่เพียงพอและไม่ สามารถให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เทศบาลเมืองวังสะพุงร่วมกับ ชุมชนในเขตเทศบาลได้ดําเนินโครงการธนาคารขยะ โครงการถนนปลอดถังขยะ เพื่อคัดแยกและลดปริมาณ ขยะในเขตเทศบาล และลดค่าใช้จ่ายในการกําจัดขยะอีกทางหนึ่ง การวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนา (SWOT Analysis) เพื่อให้การพัฒนาเทศบาลตําบลวังสะพุง ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาล เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และตรงกับความต้องการของประชาชน โดยมีเปูาหมายการพัฒนาที่ชัดเจน เทศบาล จึงได้จัด ประชุมระดมความเห็นจากผู้แทนทุกฝุาย ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน ในการวิเคราะห์ศักยภาพของ เทศบาลเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาในปัจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคต ด้วยเทคนิค SWOT Analysis ซึ่งเป็นการประเมินโดยการวิเคราะห์ถึงโอกาส และภาวะคุกคามหรือข้อจํากัด อันเป็นสภาวะ แวดล้อมภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาด้านต่างๆ ของเทศบาล รวมทั้งการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของเทศบาล อันเป็นสภาวะแวดล้อมภายในเทศบาล สามารถสรุปผลการวิเคราะห์ ดังนี้ จุดแข็ง 1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ บุคลากรมีขีดสมรรถนะ ตลอดจนสิ่งอํานวยความสะดวกมีครบพร้อมสําหรับ บริการประชาชน 2. เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการค้า และเป็นเมืองหน้าด่านจังหวัดเลย และมีภูมิสถาปัตย์ที่เหมาะสม โดยมีแม่น้ํา ลําคลอง ในเขตเทศบาล 3. มีการสืบทอดศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี อันเก่าแก่ จนถึงปัจจุบัน 4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดําเนินกิจกรรมของเทศบาล จุดอ่อน 1. ระบบสารสนเทศ และระบบการบริการประชาชน ยังไม่มีประสิทธิภาพ เช่น การประชาสัมพันธ การประสานความร่วมมือ ฯลฯ 2. โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคไม่สมบูรณ์ เช่น ถนน ไฟฟูา ประปา ระบบระบายน้ํา ระบบบําบัดน้ําเสีย ฯลฯ 3. ไม่มีสถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ 4. ขาดการส่งเสริมการตลาด สําหรับผลิตภัณฑ์ชุมชน 5. ขาดแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และปราชญ์ชาวบ้าน 6. เครือข่ายชุมชนไม่เข้มแข็ง โอกาส 1. การคมนาคมสู่จังหวัดสะดวก เช่น เลย หนองบัวลําภู 2. นโยบารัฐบาล มีการกระจายอํานาจสู่ท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น 3. เป็นบ้านเกิดของเกจิอาจารย์ เช่น หลวงปูุแหวน หลวงปูุชอบ หลวงปูุขาว หลวงปูุท่อน
  • 26. 16 อุปสรรค 1. อปท.ข้างเคียงขาดการบริหารจัดการที่ดี 2. น้ําท่วมบ่อย เนื่องจากสภาพพื้นที่ต่ํา และอยู่ตอนล่างของแม่น้ําเลย อ่างเก็บน้ํานาอีเลิศ 3. ราคาสินค้าเกษตรตกต่ํา และน้ํามันราคาแพง 2.2 การประเมินผลการนาแผนพัฒนาไปปฏิบัติเชิงปริมาณ รายงานสรุปผลการดาเนินงาน ปี 2557 เทศบาลเมืองวังสะพุง อ.วังสะพุง จ.เลย ยุทธศาสตร์ แผนการดาเนินการ ทั้งหมด อนุมัติ งบประมาณ ลงนามสัญญา เบิกจ่าย 100% จานวน โครงการ งบ ประมาณ จานวน โครงการ งบ ประมาณ จานวน โครงการ งบ ประมาณ จานวน โครงการ งบ ประมาณ จานวน โครงการ งบ ประมา ณ 1.ด้านโครงสร้าง พื้นฐาน 30.0 47.55 12.0 3.36 11.0 2.82 11.0 2.82 11.0 2.82 2.ด้านการพัฒนาคน 92.0 59.17 52.0 24.01 40.0 5.54 40.0 5.54 40.0 5.54 3.ด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 7.0 0.66 2.0 0.40 1.0 0.10 1.0 0.10 1.0 0.10 4.ด้านการบริหาร จัดการที่ดี และบริการ สาธารณะ 38.0 9.24 27.0 2.16 19.0 1.56 19.0 1.56 19.0 1.56 5.ด้านภาคประชา สังคม ความเข้มแข็ง ของชุมชน และการมี ส่วนร่วม 24.0 5.47 18.0 3.20 14.0 1.50 14.0 1.50 14.0 1.50 โครงการที่ดาเนินการไปแล้วในปีงบประมาณ 2557 มีดังนี้ ชื่อโครงการ งบประมาณ (บาท) ผู้รับผิดชอบ 1. โครงการก่อสร้างถนน ค.ส.ล.ทางเข้าวัดศรีอุดมวงศ์ 199,000.00 กองช่าง 2. โครงการก่อสร้างถนน ค.ส.ล.ตามตรอกซอยต่างๆในเขตเทศบาล 490,000.00 กองช่าง 3. โครงการก่อสร้างรางระบายน้ํา ค.ส.ล.ซอยหลังธนาคารไทยพาณิชย์ 218,500.00 กองช่าง 4. โครงการติดตั้ง Internet WiFi ในเขตเทศบาล 134,820.00 กองวิชาการและแผนงาน 5. โครงการก่อสร้างปูายชื่อซอยในเขตเทศบาล 637,000.00 สํานักปลัด 6. ก่อสร้างผนังกันดินคลองบุ่งไสล่ 99,600.00 กองช่าง 7. โครงการก่อสร้างรั้วเหล็ก บริเวณลานคอนกรีตหน้าเทศบาลเมือง วังสะพุง 99,000.00 กองช่าง 8. ติดตั้งปูายบอกทาง(ถนนมลิวรรณสายเก่า) 83,000.00 สํานักปลัด 9. ก่อสร้างดาดคอนกรีตเชื่อมต่อคอสะพาน 309,000.00 กองช่าง 10.ก่อสร้างรางระบายน้ํา ค.ส.ล.และขยายไหล่ทาง ค.ส.ล.ถนนภูมิวิถี ซอย 10 449,000.00 กองช่าง 11. จ้างเหมาติดตั้งเสาไฟปฏิมากรรม(แบบกิ่งเดี่ยว) 99,900.00 กองช่าง 12. โครงการจ้างนักเรียน/นักศึกษาเข้าทํางานช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อน (ปิดเทอมเพิ่มประสบการณ์) 100,000.00 สํานักปลัด 13. โครงการแข่งขันนักเรียนคนเก่งของโรงเรียนท้องถิ่น 28,548.00 กองการศึกษา