SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สมบัติของสารพันธุกรรม


ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์)ชลบุรี
คุณสมบัตของสารพันธุกรรม
              ิ
1. ต้องสามารถเพิ่มจานวนตัวเองได้โดยมีลักษณะเหมือนเดิม เพื่อให้
   สามารถถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นพ่อแม่ไปยังรุ่นลูกได้

       2. สามารถควบคุมให้เซลล์สังเคราะห์สารต่างๆ เพื่อแสดงลักษณะ
         ทางพันธุกรรมให้ปรากฏ
           3. ต้องสามารถเปลี่ยนแปลงได้บ้าง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่
             เกิดขึ้นอาจก่อให้เกิดลักษณะทางพันธุกรรมที่ผิดแผกไป
             จากเดิม และเป็นช่องทางให้เกิดสปีชีสใหม่ๆขึ้น
                                                 ์
         ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
การสังเคราะห์ DNA

ในขณะที่เซลล์จะมีการแบ่งตัวจะมีการเพิ่มจานวน Chromosome
 อีก 1 เท่าตัวในระยะ Interphase ของการแบ่งเซลล์แบบ Mitosis
 โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การสังเคราะห์ DNA หรือ
 DNA Replication
           ทาให้มีการเพิ่มโมเลกุลของ DNA จาก 1 โมเลกุล เป็น
           2 โมเลกุล แต่ละโมเลกุลมีพอลินิวคลีโอไทด์ สายเดิม 1 สาย
           และสายใหม่ 1 สาย เรียกวิธีการจาลองลักษณะนี้เป็น
           แบบกึ่งอนุรักษ์นิยม (Semiconservative )
        ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพแสดงการสังเคราะห์ DNA




 ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
สิ่งที่ใช้ในกระบวนการนี้มีดงนี้
                           ั

1. DNA แม่แบบ (DNA Template)


        2. DNA Helicase (DNA Helicase หรือ Helix-
        Destabilizing Protein) เป็นเอนไซม์ที่สลายพันธะ
        ไฮโดรเจน ทาให้โมเลกุล DNA มีการคลายเกลียวคู่ ออกจาก
        กันเป็นสายเดี่ยว 2 สายโดยอาศัยพลังงานจากการสลาย
        ATP
   ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
3. โปรตีน SSB (Single Strand DNA Binding Protein : SSB
หรือ DBP) จะจับกับ DNA สายเดี่ยวที่แยกออกจากกันเป็นตัวป้องกันไม่ให้
DNA สายเดี่ยวกลับไปจับกันอีก และป้องกัน DNA สายเดี่ยวไม่ให้ถูกย่อยโดย
เอนไซม์ Nuclease


               4. DNA Gyrase หรือ Topoisomerase ทาหน้าที่
                  คลายปมเหนือจุดแยก (Replication fork) โดยการ
                  ตัด DNA สายใดสายหนึ่งออก เพื่อให้คลายเกลียวได้แล้ว
                  จึงต่อกลับใหม่

           ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
5. DNA Primase ทาหน้าที่สร้าง RNA เริ่มต้น (RNA Primer)

  6. DNA polymerase ทาหน้าที่ในการต่อสาย Polynucleotide
  ให้ยาวขึ้นและตรวจสอบลาดับเบสที่ผิดพลาด และกาจัดลาดับเบสที่
  ผิดพลาดออกไป รวมถึงการกาจัด RNA Primer และยังเป็นเอนไซม์
  หลักในการจาลองตัวของ DNA

           7. DNA Ligase ทาหน้าที่เชื่อมดีเอ็นเอเส้นสั้น ๆ เข้า
              ด้วยกัน โดยการสร้างพันธะ Phosphodiester เชื่อม

       ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
ขั้นตอนการสังเคราะห์ DNA



ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์)ชลบุรี
1. DNA Helicase เข้าสลายพันธะไฮโดรเจนทาให้สาย DNA เกลียวคู่
   แยกออกจากกันจะได้ DNA สายเดี่ยว 2 สาย




        ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
2. โปรตีน SSB เข้ามาเกาะบริเวณ DNA สายเดี่ยวที่แยกออกจากกัน
ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้ DNA สายเดี่ยวทั้งสองสายนั้นกลับมาพันเกลียวกัน




       ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
3. RNA Primase สร้าง RNA primer ซึ่ง RNA Primer จะทา
   หน้าที่เป็นจุดเริ่มต้นการทางานของ DNA Polymerase




       ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
4. DNA polymerase เข้าจับกับสาย DNA และ นาดีออกซีไรโบ-
นิวคลีโอไทด์เดี่ยว (Deoxyribonucleotide) เข้ามาต่อสายในทิศทาง
5' 3' โดยเชื่อมเบสที่คู่กันเข้าด้วยกันด้วยพันธะไฮโดรเจน และเชื่อม
หมู่ฟอสเฟตของแต่ละ Nucleotide ให้เป็นพันธะ Phosphodiester
เมื่อจุดคลายเกลียวเลื่อนขึ้นไปก็จะได้ DNA สายใหม่ที่ยาวขึ้นเรื่อยๆ ตาม
ทิศทางการเคลื่อนที่ของ Replication fork เรียก DNA สายนี้ว่า
Leading strand




         ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
5. ในขณะที่เกิดการสังเคราะห์ DNA สาย Leading บน DNA
แม่แบบสายหนึ่ง ก็จะเกิดการสังเคราะห์ DNA ในอีกสายหนึ่ง แต่มี
ทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของ Replication fork โดยจะ
สร้างได้เป็นสายสั้นๆ เรียก DNA สายสั้นๆ แต่ละสายนี้ว่าชิ้นส่วนโอกาซากิ
(Okazaki fragment) และเรียกเรียก DNA สายสั้นๆ ที่วางเรียงราย
กันในลักษณะเป็นสายยาวนี้ว่า Lagging strand




         ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
6. เมื่อการสังเคราะห์ DNA ดาเนินต่อไป DNA polymerase จะมี
 การกาจัด RNA primer ออก ซึ่งจะทาให้ DNA บริเวณดังกล่าวอยู่
 ในสภาพสายเดี่ยวที่ไม่มีคู่ และ DNA Polymerase เดิมจะนาดีออก
 ซีไรโบนิวคลีโอไทด์ตัวใหม่เข้ามาเติมเต็มช่องว่างนี้ และตามด้วยการเชื่อม
 พันธะ Phosphodiester ของชิ้นส่วนโอกาซากิ แต่ละโมเลกุลเข้า
 ด้วยกันด้วยเอนไซม์ไลเกส (Ligase) ในที่สุดได้เป็น DNA ใหม่
 2 โมเลกุล โดยแต่ละโมเลกุลมีสายเดิมอยู่ 1 สาย




        ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
The End



ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์)ชลบุรี

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
krupornpana55
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Thanyamon Chat.
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
Wan Ngamwongwan
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
Jiraporn
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
Kittivut Tantivuttiki
 

Was ist angesagt? (20)

แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
2
22
2
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
Genetics posn
Genetics posnGenetics posn
Genetics posn
 

Andere mochten auch

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
Wan Ngamwongwan
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
Wan Ngamwongwan
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
Wan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
Wan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
Wan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
Wan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
Wan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
Wan Ngamwongwan
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
Wan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
Wan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
Wan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
Wan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Wan Ngamwongwan
 

Andere mochten auch (17)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Ähnlich wie สมบัติของสารพันธุกรรม

ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
room62group2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
room62group2
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
Nattapong Boonpong
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
wijitcom
 

Ähnlich wie สมบัติของสารพันธุกรรม (9)

ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
โครโมโซม2
โครโมโซม2โครโมโซม2
โครโมโซม2
 

Mehr von Wan Ngamwongwan

สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
Wan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
Wan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
Wan Ngamwongwan
 

Mehr von Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 

สมบัติของสารพันธุกรรม

  • 2. คุณสมบัตของสารพันธุกรรม ิ 1. ต้องสามารถเพิ่มจานวนตัวเองได้โดยมีลักษณะเหมือนเดิม เพื่อให้ สามารถถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นพ่อแม่ไปยังรุ่นลูกได้ 2. สามารถควบคุมให้เซลล์สังเคราะห์สารต่างๆ เพื่อแสดงลักษณะ ทางพันธุกรรมให้ปรากฏ 3. ต้องสามารถเปลี่ยนแปลงได้บ้าง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นอาจก่อให้เกิดลักษณะทางพันธุกรรมที่ผิดแผกไป จากเดิม และเป็นช่องทางให้เกิดสปีชีสใหม่ๆขึ้น ์ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 3. การสังเคราะห์ DNA ในขณะที่เซลล์จะมีการแบ่งตัวจะมีการเพิ่มจานวน Chromosome อีก 1 เท่าตัวในระยะ Interphase ของการแบ่งเซลล์แบบ Mitosis โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การสังเคราะห์ DNA หรือ DNA Replication ทาให้มีการเพิ่มโมเลกุลของ DNA จาก 1 โมเลกุล เป็น 2 โมเลกุล แต่ละโมเลกุลมีพอลินิวคลีโอไทด์ สายเดิม 1 สาย และสายใหม่ 1 สาย เรียกวิธีการจาลองลักษณะนี้เป็น แบบกึ่งอนุรักษ์นิยม (Semiconservative ) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 5. สิ่งที่ใช้ในกระบวนการนี้มีดงนี้ ั 1. DNA แม่แบบ (DNA Template) 2. DNA Helicase (DNA Helicase หรือ Helix- Destabilizing Protein) เป็นเอนไซม์ที่สลายพันธะ ไฮโดรเจน ทาให้โมเลกุล DNA มีการคลายเกลียวคู่ ออกจาก กันเป็นสายเดี่ยว 2 สายโดยอาศัยพลังงานจากการสลาย ATP ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 6. 3. โปรตีน SSB (Single Strand DNA Binding Protein : SSB หรือ DBP) จะจับกับ DNA สายเดี่ยวที่แยกออกจากกันเป็นตัวป้องกันไม่ให้ DNA สายเดี่ยวกลับไปจับกันอีก และป้องกัน DNA สายเดี่ยวไม่ให้ถูกย่อยโดย เอนไซม์ Nuclease 4. DNA Gyrase หรือ Topoisomerase ทาหน้าที่ คลายปมเหนือจุดแยก (Replication fork) โดยการ ตัด DNA สายใดสายหนึ่งออก เพื่อให้คลายเกลียวได้แล้ว จึงต่อกลับใหม่ ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 7. 5. DNA Primase ทาหน้าที่สร้าง RNA เริ่มต้น (RNA Primer) 6. DNA polymerase ทาหน้าที่ในการต่อสาย Polynucleotide ให้ยาวขึ้นและตรวจสอบลาดับเบสที่ผิดพลาด และกาจัดลาดับเบสที่ ผิดพลาดออกไป รวมถึงการกาจัด RNA Primer และยังเป็นเอนไซม์ หลักในการจาลองตัวของ DNA 7. DNA Ligase ทาหน้าที่เชื่อมดีเอ็นเอเส้นสั้น ๆ เข้า ด้วยกัน โดยการสร้างพันธะ Phosphodiester เชื่อม ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 8. ขั้นตอนการสังเคราะห์ DNA ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์)ชลบุรี
  • 9. 1. DNA Helicase เข้าสลายพันธะไฮโดรเจนทาให้สาย DNA เกลียวคู่ แยกออกจากกันจะได้ DNA สายเดี่ยว 2 สาย ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 10. 2. โปรตีน SSB เข้ามาเกาะบริเวณ DNA สายเดี่ยวที่แยกออกจากกัน ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้ DNA สายเดี่ยวทั้งสองสายนั้นกลับมาพันเกลียวกัน ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 11. 3. RNA Primase สร้าง RNA primer ซึ่ง RNA Primer จะทา หน้าที่เป็นจุดเริ่มต้นการทางานของ DNA Polymerase ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 12. 4. DNA polymerase เข้าจับกับสาย DNA และ นาดีออกซีไรโบ- นิวคลีโอไทด์เดี่ยว (Deoxyribonucleotide) เข้ามาต่อสายในทิศทาง 5' 3' โดยเชื่อมเบสที่คู่กันเข้าด้วยกันด้วยพันธะไฮโดรเจน และเชื่อม หมู่ฟอสเฟตของแต่ละ Nucleotide ให้เป็นพันธะ Phosphodiester เมื่อจุดคลายเกลียวเลื่อนขึ้นไปก็จะได้ DNA สายใหม่ที่ยาวขึ้นเรื่อยๆ ตาม ทิศทางการเคลื่อนที่ของ Replication fork เรียก DNA สายนี้ว่า Leading strand ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 13. 5. ในขณะที่เกิดการสังเคราะห์ DNA สาย Leading บน DNA แม่แบบสายหนึ่ง ก็จะเกิดการสังเคราะห์ DNA ในอีกสายหนึ่ง แต่มี ทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของ Replication fork โดยจะ สร้างได้เป็นสายสั้นๆ เรียก DNA สายสั้นๆ แต่ละสายนี้ว่าชิ้นส่วนโอกาซากิ (Okazaki fragment) และเรียกเรียก DNA สายสั้นๆ ที่วางเรียงราย กันในลักษณะเป็นสายยาวนี้ว่า Lagging strand ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 14. 6. เมื่อการสังเคราะห์ DNA ดาเนินต่อไป DNA polymerase จะมี การกาจัด RNA primer ออก ซึ่งจะทาให้ DNA บริเวณดังกล่าวอยู่ ในสภาพสายเดี่ยวที่ไม่มีคู่ และ DNA Polymerase เดิมจะนาดีออก ซีไรโบนิวคลีโอไทด์ตัวใหม่เข้ามาเติมเต็มช่องว่างนี้ และตามด้วยการเชื่อม พันธะ Phosphodiester ของชิ้นส่วนโอกาซากิ แต่ละโมเลกุลเข้า ด้วยกันด้วยเอนไซม์ไลเกส (Ligase) ในที่สุดได้เป็น DNA ใหม่ 2 โมเลกุล โดยแต่ละโมเลกุลมีสายเดิมอยู่ 1 สาย ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 15. The End ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์)ชลบุรี