SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โรคมะเร็งกล่ องเสียง
      (Laryngeal cancer)

                     เสนอ
             อ.ฉวีวรรณ นาคบุตร
                   จัดทาโดย
  น.ส. วศินี ทวีปัญญายศ ชันม.4/3 เลขที่ 36
                           ้
โรงเรียนบ้ านสวน(จั่นอนุสรณ์ ) อ.เมือง จ.ชลบุรี
สารบัญ
โรคมะเร็งกล่ องเสียง
สาเหตุ
อาการ
การปองกัน
    ้
การวินิจฉัยโรค
การกระจายของโรค
การดาเนินโรค
การรักษา
โรคมะเร็งกล่ องเสียง
มะเร็งกล่ องเสียง เป็ นมะเร็ งที่พบ
บ่อยในเพศชาย โดยพบ 1-2 คนต่อ
ประชากร 100,000 คนต่อปี โดย
พบในอัตราส่วน ชายต่อหญิง เป็ น
10 ต่อ 1 ซึงพบได้ ประมาณ 2.8%
             ่
ของมะเร็ งทังหมด และพบมาก
               ้
ในช่วงอายุ 50 – 60 ปี ปั จจัยเสี่ยง
สาคัญที่เป็ นสาเหตุของการเกิด
มะเร็ งกล่องเสียงก็คือการสูบบุหรี่
และการดื่มเหล้ า
                                       สารบัญ
สาเหตุ
สาเหตุที่บงชี ้ได้ ชดเจน คือ การสูบบุหรี่ และจะพบ
          ่         ั
มากขึ ้นในผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ด้วย รวมถึงการสูดเอา
สารระคายเข้ าไป หรื อการใช้ เสียงผิดปกติ ทาให้
กล่องเสียงมีการอักเสบบ่อยๆ




                                                    สารบัญ
อาการ
ผู้ป่วยมักมาพบแพทย์ด้วยอาการเสียบแหบที่เป็ นมานานกว่า 2 สัปดาห์
เสียงเปลี่ยน โดยไม่คอยมีอาการเจ็บคอ ซึงหากรอยโรคอยูที่ตาแหน่งของ
                        ่                     ่             ่
สายเสียง (Laryngeal cancer) จะแสดงอาการนี ้ตังแต่ระยะ         ้
เริ่ มแรก ทาให้ วินิจฉัยโรคได้ เร็ ว มีโอกาสรักษาให้ หายขาดได้ แต่หากเป็ นที่
ตาแหน่งคอหอยส่วนล่าง (hypopharyngeal cancer) ใน
ระยะแรกเสียงจะไม่แหบ แต่จะรู้สกเจ็บหรื อร้ อนในคอ อาการคล้ าย
                                        ึ
ก้ างปลาติดคอ กลืนแล้ วเจ็บ ผู้ป่วยมักคิดว่าคออักเสบ อาจซื ้อยามากินเอง
ต่อมามะเร็งลุกลามไปยังส่วนต่างๆ ของกล่องเสียง จึงทาให้ เกิดเสียงแหบ
นอกจากนี ้อาจพบอาการอื่นได้ อีก เช่น dysphagia (กลืนลาบาก),
odynophagia (กลืนเจ็บ), shortness of breath,
referred otalgia (ปวดหู) และเบื่ออาหาร น ้าหนักลด
                                                                    สารบัญ
การปองกัน
                             ้
1. เลิกการสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่ องดื่ม
แอลกอฮอล์เด็ดขาด
2. ออกกาลังกายสม่าเสมอ สูดอากาศ
บริสทธิ์ ระวังฝุ่ น สารเคมี ที่ทาให้ ระคาย
    ุ
เคืองทางเดินหายใจ และกล่องเสียง
3. หากพบว่ามีอาการเสียงแหบ เจ็บใน
คอเรื อรังหาสาเหตุไม่ได้ กลืนลาบาก ไอ
      ้
มีเสมหะเหนียวติดคอ ผอมลง ควรรี บไป
ตรวจก่อนที่โรคจะลุกลาม
                                             สารบัญ
การวินิจฉัยโรค
อาศัยการตรวจโดยใช้ กระจกส่องใน
คอ เพื่อดูกล่องเสียง (Indirect
laryngoscopes) วิธีนี ้สามารถ
ตรวจหาบริเวณที่เป็ นมะเร็งได้ แต่การ
วินิจฉัยที่แน่นอนจะต้ องทาการส่อง
กล้ องเข้ าไปดูโดยตรง (Direct
laryngoscopes) แล้ วตัดชิ ้นเนื ้อ
บริเวณที่เป็ นส่งตรวจทางพยาธิวิทยา

                                       สารบัญ
การกระจายของโรค
มะเร็งกล่องเสียง (Laryngeal cancer) เจริญ
และกระจายช้ ากว่ามะเร็งคอหอยส่วนล่าง
(hypopharyngeal cancer) เนื่องจากสาย
เสียงมีเส้ นเลือดและท่อน ้าเหลืองน้ อย อาการที่แสดง
ว่ามีการกระจายของโรค คือ ต่อมน ้าเหลืองบริเวณ
กลางลาคอด้ านข้ างโต และจะกระจายไปยังอวัยวะ
อื่นๆ ของร่างกายต่อไป


                                                      สารบัญ
การดาเนินโรค
หากไม่ได้ รับการรักษา มะเร็ งก็มกจะ
                                 ั
ลุกลามแพร่กระจาย จนทาให้ เสียชีวิต
ได้ แต่หากได้ รับการรักษาตังแต่
                            ้
ระยะแรก ก็สามารถช่วยให้ หายขาด
และพูดได้ เป็ นปกติ ในรายที่เป็ นระยะ
ลุกลาม และได้ รับการผ่าตัดกล่องเสียง
ก็มกจะมีชีวิตยืนยาว และสามารถฝึ ก
    ั
พูดจนสามารถสื่อสารกับคนอื่นได้


                                        สารบัญ
การรักษา
แพทย์จะให้ การรักษาตามแนวทางดังนี ้
       ระยะแรกเริ่ม จะรักษาโดยการฉายรังสี
  เป็ นหลัก หรื อผ่าตัดด้ วยแสงเลเซอร์ ทาให้
  รักษากล่องเสียงไว้ ได้ และผู้ป่วยสามารถพูด
  ได้ เป็ นปกติ
       ระยะลุกลาม ก็จะรักษาด้ วยการผ่าตัด
  กล่องเสียงร่วมกับการฉายรังสี บางรายอาจ
  ใช้ เคมีบาบัดร่วมด้ วย ผู้ป่วยจะพูดไม่ได้ เป็ น
  ปกติ และต้ องฝึ กพูดด้ วยการเปล่งเสียงผ่าน
  หลอดอาหาร (esophageal speech)
  หรื อใช้ อปกรณ์ช่วยพูด (electrolarynx)
            ุ
                                                    สารบัญ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.PptxWan Ngamwongwan
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)Wan Ngamwongwan
 
แผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อแผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อdentyomaraj
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมWan Ngamwongwan
 

Was ist angesagt? (20)

รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัด
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
 
โรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptxโรคมะเร็งปอด.Pptx
โรคมะเร็งปอด.Pptx
 
ไซนัส
ไซนัส ไซนัส
ไซนัส
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
 
N sdis 143_60_7
N sdis 143_60_7N sdis 143_60_7
N sdis 143_60_7
 
แผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อแผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อ
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวม
 
2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease2010_PMC Respiatory Disease
2010_PMC Respiatory Disease
 

Ähnlich wie โรคมะเร็งกล่องเสียง

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Foreign Body
Foreign BodyForeign Body
Foreign Bodyyinyinyin
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 
มะเร็งกล่องเสียง1
มะเร็งกล่องเสียง1มะเร็งกล่องเสียง1
มะเร็งกล่องเสียง1Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดโรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitโรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitUtai Sukviwatsirikul
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 

Ähnlich wie โรคมะเร็งกล่องเสียง (20)

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
Foreign Body
Foreign BodyForeign Body
Foreign Body
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
รักษามะเร็ง
รักษามะเร็งรักษามะเร็ง
รักษามะเร็ง
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
มะเร็งกล่องเสียง1
มะเร็งกล่องเสียง1มะเร็งกล่องเสียง1
มะเร็งกล่องเสียง1
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
โรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอดโรคมะเร็งปอด
โรคมะเร็งปอด
 
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitโรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
การรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็งการรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็ง
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 

Mehr von Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบWan Ngamwongwan
 
หลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบหลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 

Mehr von Wan Ngamwongwan (17)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบโรคหัวใจตีบ
โรคหัวใจตีบ
 
หลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบหลอดลมอักเสบ
หลอดลมอักเสบ
 

โรคมะเร็งกล่องเสียง

  • 1. โรคมะเร็งกล่ องเสียง (Laryngeal cancer) เสนอ อ.ฉวีวรรณ นาคบุตร จัดทาโดย น.ส. วศินี ทวีปัญญายศ ชันม.4/3 เลขที่ 36 ้ โรงเรียนบ้ านสวน(จั่นอนุสรณ์ ) อ.เมือง จ.ชลบุรี
  • 2. สารบัญ โรคมะเร็งกล่ องเสียง สาเหตุ อาการ การปองกัน ้ การวินิจฉัยโรค การกระจายของโรค การดาเนินโรค การรักษา
  • 3. โรคมะเร็งกล่ องเสียง มะเร็งกล่ องเสียง เป็ นมะเร็ งที่พบ บ่อยในเพศชาย โดยพบ 1-2 คนต่อ ประชากร 100,000 คนต่อปี โดย พบในอัตราส่วน ชายต่อหญิง เป็ น 10 ต่อ 1 ซึงพบได้ ประมาณ 2.8% ่ ของมะเร็ งทังหมด และพบมาก ้ ในช่วงอายุ 50 – 60 ปี ปั จจัยเสี่ยง สาคัญที่เป็ นสาเหตุของการเกิด มะเร็ งกล่องเสียงก็คือการสูบบุหรี่ และการดื่มเหล้ า สารบัญ
  • 4. สาเหตุ สาเหตุที่บงชี ้ได้ ชดเจน คือ การสูบบุหรี่ และจะพบ ่ ั มากขึ ้นในผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ด้วย รวมถึงการสูดเอา สารระคายเข้ าไป หรื อการใช้ เสียงผิดปกติ ทาให้ กล่องเสียงมีการอักเสบบ่อยๆ สารบัญ
  • 5. อาการ ผู้ป่วยมักมาพบแพทย์ด้วยอาการเสียบแหบที่เป็ นมานานกว่า 2 สัปดาห์ เสียงเปลี่ยน โดยไม่คอยมีอาการเจ็บคอ ซึงหากรอยโรคอยูที่ตาแหน่งของ ่ ่ ่ สายเสียง (Laryngeal cancer) จะแสดงอาการนี ้ตังแต่ระยะ ้ เริ่ มแรก ทาให้ วินิจฉัยโรคได้ เร็ ว มีโอกาสรักษาให้ หายขาดได้ แต่หากเป็ นที่ ตาแหน่งคอหอยส่วนล่าง (hypopharyngeal cancer) ใน ระยะแรกเสียงจะไม่แหบ แต่จะรู้สกเจ็บหรื อร้ อนในคอ อาการคล้ าย ึ ก้ างปลาติดคอ กลืนแล้ วเจ็บ ผู้ป่วยมักคิดว่าคออักเสบ อาจซื ้อยามากินเอง ต่อมามะเร็งลุกลามไปยังส่วนต่างๆ ของกล่องเสียง จึงทาให้ เกิดเสียงแหบ นอกจากนี ้อาจพบอาการอื่นได้ อีก เช่น dysphagia (กลืนลาบาก), odynophagia (กลืนเจ็บ), shortness of breath, referred otalgia (ปวดหู) และเบื่ออาหาร น ้าหนักลด สารบัญ
  • 6. การปองกัน ้ 1. เลิกการสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่ องดื่ม แอลกอฮอล์เด็ดขาด 2. ออกกาลังกายสม่าเสมอ สูดอากาศ บริสทธิ์ ระวังฝุ่ น สารเคมี ที่ทาให้ ระคาย ุ เคืองทางเดินหายใจ และกล่องเสียง 3. หากพบว่ามีอาการเสียงแหบ เจ็บใน คอเรื อรังหาสาเหตุไม่ได้ กลืนลาบาก ไอ ้ มีเสมหะเหนียวติดคอ ผอมลง ควรรี บไป ตรวจก่อนที่โรคจะลุกลาม สารบัญ
  • 7. การวินิจฉัยโรค อาศัยการตรวจโดยใช้ กระจกส่องใน คอ เพื่อดูกล่องเสียง (Indirect laryngoscopes) วิธีนี ้สามารถ ตรวจหาบริเวณที่เป็ นมะเร็งได้ แต่การ วินิจฉัยที่แน่นอนจะต้ องทาการส่อง กล้ องเข้ าไปดูโดยตรง (Direct laryngoscopes) แล้ วตัดชิ ้นเนื ้อ บริเวณที่เป็ นส่งตรวจทางพยาธิวิทยา สารบัญ
  • 8. การกระจายของโรค มะเร็งกล่องเสียง (Laryngeal cancer) เจริญ และกระจายช้ ากว่ามะเร็งคอหอยส่วนล่าง (hypopharyngeal cancer) เนื่องจากสาย เสียงมีเส้ นเลือดและท่อน ้าเหลืองน้ อย อาการที่แสดง ว่ามีการกระจายของโรค คือ ต่อมน ้าเหลืองบริเวณ กลางลาคอด้ านข้ างโต และจะกระจายไปยังอวัยวะ อื่นๆ ของร่างกายต่อไป สารบัญ
  • 9. การดาเนินโรค หากไม่ได้ รับการรักษา มะเร็ งก็มกจะ ั ลุกลามแพร่กระจาย จนทาให้ เสียชีวิต ได้ แต่หากได้ รับการรักษาตังแต่ ้ ระยะแรก ก็สามารถช่วยให้ หายขาด และพูดได้ เป็ นปกติ ในรายที่เป็ นระยะ ลุกลาม และได้ รับการผ่าตัดกล่องเสียง ก็มกจะมีชีวิตยืนยาว และสามารถฝึ ก ั พูดจนสามารถสื่อสารกับคนอื่นได้ สารบัญ
  • 10. การรักษา แพทย์จะให้ การรักษาตามแนวทางดังนี ้ ระยะแรกเริ่ม จะรักษาโดยการฉายรังสี เป็ นหลัก หรื อผ่าตัดด้ วยแสงเลเซอร์ ทาให้ รักษากล่องเสียงไว้ ได้ และผู้ป่วยสามารถพูด ได้ เป็ นปกติ ระยะลุกลาม ก็จะรักษาด้ วยการผ่าตัด กล่องเสียงร่วมกับการฉายรังสี บางรายอาจ ใช้ เคมีบาบัดร่วมด้ วย ผู้ป่วยจะพูดไม่ได้ เป็ น ปกติ และต้ องฝึ กพูดด้ วยการเปล่งเสียงผ่าน หลอดอาหาร (esophageal speech) หรื อใช้ อปกรณ์ช่วยพูด (electrolarynx) ุ สารบัญ