SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 20
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การลาเลียงสารในร่างกายสัตว์


                              Page 1
ไส้เดือนดิน
                                   ไส้เดือนดินมีระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด (closed
                                   circulatory system) เนื่องจากเลือดอยู่ในเส้นเลือด
                                   ตลอดเวลา ระบบหมุนเวียน ประกอบด้วย

                                   1. เลือดที่มีสีแดง เนื่องจากมีฮีโมโกลบิน ซึ่งมีธาตุเหล็ก
                                   เป็นองค์ประกอบ

                                   2. หัวใจเทียม (pseudoheart) เป็นห่วงของเส้นเลือด
                                      4-5ห่วง พองออกล้อมรอบหลอดอาหาร
                                    3. เส้นเลือด (blood vessel) เส้นเลือดที่สาคัญ คือ
ก. ระบบหมุนเวียนเลือดของไส้เดือนดิน เส้นเลือดด้านบนเหนือทางเดินอาหารและเส้นเลือด
ข. แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด ด้านล่างใต้ทางเดินอาหาร
                                                                                      Page 2
อาร์โทพอด : แมลง , กุ้ง




 ก.ระบบหมุนเวียนเลือดของตั๊กแตน    ข.แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดของตั๊กแตน
 ค.ระบบหมุนเวียนเลือดของกุง
                          ้       ง.แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดของกุ้ง       Page 3
แมลง
                                 ระบบหมุนเวียนเลือดของแมลงเป็นแบบเปิด
                                 (open circulatory system) เนื่องจาก
                                 เลือดอยู่ในเส้นเลือดระยะหนึ่งเท่านั้น จากนัน
                                                                            ้
                                 จะไหลเข้าสู่โพรงรับเลือด หรือ ฮีโมซีล
ระบบหมุนเวียนเลือดของตั๊กแตน

 ระบบหมุนเวียนเลือดของแมลง ประกอบด้วย
 1. เลือดของแมลง เป็นของเหลวใสๆ ไม่มสี หรือ สีฟ้าอ่อน มีฮโี มไซยานินที่มี
                                     ี
 ทองแดงเป็นองค์ประกอบ ส่วนของเม็ดเลือดไม่มสี
                                          ี

                                                                       Page 4
ออสเทีย                    2. หัวใจเทียม เป็นท่อยาวๆพองออกเป็น
                           ตอนๆอยู่ด้านบนของปล้องท้อง ที่ผนังของ
                           หัวใจมีรูเล็กๆเรียก ออสเทีย (ostia) ที่มีลน
                                                                     ิ้
                           ป้องกันไม่ให้เลือดไหลออกจากหัวใจ

แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือด
   แบบเปิดของตั๊กแตน
                                                                Page 5
3. เส้นเลือด แมลงมีเส้นเลือดเพียงเส้นเดียว
                                   เหนือทางเดินอาหารกลางลาตัว
มีโพรงรับเลือดหรือฮีโมซีล เป็นช่องว่างของลาตัวรอบอวัยวะภายใน ทาหน้าที่
ให้เลือดไหลผ่าน
หัวใจเทียมทาหน้าที่ปั๊มเลือดเข้าสู่เส้นเลือด จากนั้นไหลเข้าสู่ฮโี มซีล มีการ
แลกเปลี่ยนแก๊ส สารอาหาร และของเสีย แล้วไหลกลับสู่หัวใจทางรูออสเทีย
เลือดของแมลงไหลเวียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อที่
ผนังหัวใจ และ การทางานของกล้ามเนื้อที่ผนังลาตัว และทางเดินอาหาร
                                                                          Page 6
กุ้ง
                                            ระบบหมุนเวียนเลือดของกุ้งเป็น
                                            แบบเปิด (open circulatory
                                            system)
                                               เลือดของกุ้ง เป็นของเหลวใสๆ
                                            ไม่มสี หรือ มีสีฟ้าอ่อน
                                                  ี
                                            มีฮโี มไซยานินที่มีทองแดงเป็น
                                            องค์ประกอบ ส่วนของเม็ดเลือด
ค. ระบบหมุนเวียนเลือดของกุ้ง                ไม่มสี  ี
ง. แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดของกุ้ง
                                                                       Page 7
แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดของกุ้ง

        เยือหุมหัวใจ
           ่ ้                              เยื่อหุ้มหัวใจ (pericardium)
                                            ทาให้เกิดช่องที่เรียกว่าถุงพักรอบ
                                            หัวใจ หรือ เพอริคาร์เดียล ไซนัส
                                            ( pericardial sinus ) เป็น
                                            ที่ตั้งของหัวใจ และเป็นบริเวณที่
                                            เลือดไหลเข้าหัวใจ

 หัวใจ มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมอยู่ด้านบนค่อนไปด้านหลังของส่วนอก
 หัวใจมีรออสเทีย (ostia) อยู่ 5 คู่ มีลิ้นปิดเปิดให้เลือดจากเพอริคาร์เดียล
         ู
 ไซนัส ไหลเข้าสู่หัวใจ
                                                                       Page 8
ระบบหมุนเวียนเลือดของกุ้ง

เส้นเลือด แบ่งเป็น
-เส้นเลือดแดงที่นาเลือดออกจากหัวใจไปเลี้ยงอวัยวะส่วนหน้า คือ กระเพาะ
อาหาร หลอดอาหาร ตับ
- เส้นเลือดแดงที่นาเลือดออกจากหัวใจไปทางด้านหลัง จะนาเลือดไปเลี้ยง
กล้ามเนื้อและอวัยวะต่างๆในแต่ละปล้องของส่วนท้องตลอดไปจนถึงส่วนหาง
ฮีโมซีล เป็นช่องที่เกิดจากช่องตัว (coelom) อยู่ระหว่างกล้ามเนื้อ อวัยวะ
หรือเยื่อต่างๆรอบตัวกุ้ง ทาหน้าที่เป็นทางเดินของเลือดที่ใช้แล้วทั่วตัวไปฟอกที่
เหงือก แล้วนาเลือดกลับสู่เพอริคาร์เดียล ไซนัส และหัวใจ ต่อไป
                                                                            Page 9
ระบบหมุนเวียนเลือดของหมึก


                                         ระบบหมุนเวียนเลือดของหมึก
                                         เป็นแบบปิด (closed
                                         circulatory system)

เลือดมีส่วนประกอบของฮีโมไซยานิน หมึกมีเหงือก 1 คู่ และมีหัวใจ 2 ชนิด



                                                                Page 10
หัวใจของหมึก

1. บรานเชียล ฮาร์ท (branchial heart) หรือ กิลล์ ฮาร์ท (gill heart)ทา
หน้าที่เพิ่มแรงดันเลือดและความเร็วของเลือดให้ไหลผ่านเหงือกได้ดียิ่งขึ้น

2. ซีสเทมิกฮาร์ท (systemic heart)อยู่ตรงกลางลาตัว ทาหน้าที่รับเลือดที่
ฟอกแล้วจากเหงือก (มีออกซิเจนสูง) ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ




                                                                     Page 11
ระบบหมุนเวียนเลือดของปลา




                   Page 12
หัวใจตั้งอยู่ในช่องว่าง (pericardial cavity) ซึ่งอยู่ใต้คอหอยตอนหลังของ
เหงือก โดยมีเยื่อหุ้ม (visceral pericardium) ปลามีหัวใจ 2 ห้อง คือ ห้อง
บน (auricle หรือ atrium) และห้องล่าง (ventricle) การไหลเวียนเลือดเป็น
แบบปิดทางเดียว คือ เลือดเสียเท่านั้นทีผ่านหัวใจ โดยเลือดจากทั่วร่างกายเข้ามา
                                       ่
ทางแอ่งรับเลือดหรือไซนัส วีโนซัส (sinus venosus) ผ่านเข้าหัวใจห้องบน
และห้องล่างตามลาดับ ห้องล่างมีกล้ามเนื้อหนาแข็งแรงบีบตัวให้เลือดผ่าน
เวนทรัล เอออร์ตา (ventral aorta) ไปฟอกที่เหงือก ตรงฐานของเวนทรัล
เอออร์ตา ที่ติดกับหัวใจมีลักษณะ เป็นหลอดลมกล้ามเนื้อหนาแข็งแรงยืดหยุ่นได้
เพื่อรับแรงบีบเลือดจากหัวใจ
                                                                       Page 13
Blood Circulation of Fish




http://www.youtube.com/watch?v=C2qS8Ti0gcg&feature=player_embedded#!
                                                                       Page 14
Circulation in Goldfish Tail




   http://www.youtube.com/watch?v=XiQvLj_T9co&feature=related
                                                                Page 15
สรุป

            ระบบไหลเวียนเลือดแบบเปิด
        OPEN CIRCULARTERY SYSTEM
• หมายถึงการที่เลือดออกจากหัวใจ ไหลไปตามเส้นเลือดจะไปเปิด
  ทีช่องฮีโมซิล ( Haemocel ) หรือช่องไซนัส( Sinus ) และ
    ่
  ผนังกล้ามเนื้อบีบตัวเลือดจึงไหลกลับเข้าสู่หัวใจ
• สรุปคือเลือดไม่ได้ไหลไปตามเส้นเลือดตลอดเวลา

                                                       Page 16
การไหลเวียนเลือดระบบปิด
      CLOSE CIRCULARTERY SYSTEM

• หมายถึงการที่เลือดออกจากหัวใจไหลไปยัง เซลล์ต่าง ๆและ
  กลับเข้าสู่หัวใจเลือดจะไหลไปในเส้นเลือดตลอดเวลา



                                                         Page 17
ระบบ หมุนเวียนเลือดประกอบด้วย

                     • เลือด ไหลเวียนอยู่ในเส้นเลือด
                     • เส้นเลือด เส้นเลือดแดง (artery ) นา
                       เลือดออกจากหัวใจ
                     • เส้นเลือดดา ( vein ) เส้นเลือดที่นาเลือด
                       กลับเข้าสู่หัวใจ
                     • เส้นเลือดฝอย มีหน้าที่ แลกเปลี่ยนก๊าซและ
                       สารระหว่างเส้นเลือดและเซลล์
                     • หัวใจ มีหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังเส้นเลือด
                                                        Page 18
ความแตกต่างระหว่างเลือดเปิดและเลือดปิด

ในสัตว์ระบบเลือดปิดจะดีกว่าในแง่ที่ทา
 ให้ปริมาตรของเลือดคงที่สามารถ
 ควบคุมความเร็วในการไหลเวียนเลือด
 และยังสามารถควบคุมความดันเลือดได้


                                         Page 19
The End

          Page 20

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 

Was ist angesagt? (20)

ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 

Andere mochten auch

ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดNapaphat Bassnowy
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์Wichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
Microsoft word ใบกิจกรรมทางเดินอาหารของคน
Microsoft word   ใบกิจกรรมทางเดินอาหารของคนMicrosoft word   ใบกิจกรรมทางเดินอาหารของคน
Microsoft word ใบกิจกรรมทางเดินอาหารของคนThanyamon Chat.
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 

Andere mochten auch (12)

ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์บท4สืบพันธุ์สัตว์
บท4สืบพันธุ์สัตว์
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Microsoft word ใบกิจกรรมทางเดินอาหารของคน
Microsoft word   ใบกิจกรรมทางเดินอาหารของคนMicrosoft word   ใบกิจกรรมทางเดินอาหารของคน
Microsoft word ใบกิจกรรมทางเดินอาหารของคน
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Ähnlich wie ระบบหมุนเวียนเลือด

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดkrutoyou
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdfYhu Lawan
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
ระบบหมุนเวียนเลือด.Pdf
ระบบหมุนเวียนเลือด.Pdfระบบหมุนเวียนเลือด.Pdf
ระบบหมุนเวียนเลือด.Pdfthimakorn
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetJiradet Dongroong
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 

Ähnlich wie ระบบหมุนเวียนเลือด (20)

Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
Powp08
Powp08Powp08
Powp08
 
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
 
Ppt circuratory
Ppt circuratoryPpt circuratory
Ppt circuratory
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
Ccs (2)
Ccs (2)Ccs (2)
Ccs (2)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด.Pdf
ระบบหมุนเวียนเลือด.Pdfระบบหมุนเวียนเลือด.Pdf
ระบบหมุนเวียนเลือด.Pdf
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Hemodynamic disorder
Hemodynamic disorderHemodynamic disorder
Hemodynamic disorder
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
B08
B08B08
B08
 
ระบบหมุนเวียดเลือด
ระบบหมุนเวียดเลือดระบบหมุนเวียดเลือด
ระบบหมุนเวียดเลือด
 

Mehr von Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 

Mehr von Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

ระบบหมุนเวียนเลือด

  • 2. ไส้เดือนดิน ไส้เดือนดินมีระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด (closed circulatory system) เนื่องจากเลือดอยู่ในเส้นเลือด ตลอดเวลา ระบบหมุนเวียน ประกอบด้วย 1. เลือดที่มีสีแดง เนื่องจากมีฮีโมโกลบิน ซึ่งมีธาตุเหล็ก เป็นองค์ประกอบ 2. หัวใจเทียม (pseudoheart) เป็นห่วงของเส้นเลือด 4-5ห่วง พองออกล้อมรอบหลอดอาหาร 3. เส้นเลือด (blood vessel) เส้นเลือดที่สาคัญ คือ ก. ระบบหมุนเวียนเลือดของไส้เดือนดิน เส้นเลือดด้านบนเหนือทางเดินอาหารและเส้นเลือด ข. แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด ด้านล่างใต้ทางเดินอาหาร Page 2
  • 3. อาร์โทพอด : แมลง , กุ้ง ก.ระบบหมุนเวียนเลือดของตั๊กแตน ข.แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดของตั๊กแตน ค.ระบบหมุนเวียนเลือดของกุง ้ ง.แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดของกุ้ง Page 3
  • 4. แมลง ระบบหมุนเวียนเลือดของแมลงเป็นแบบเปิด (open circulatory system) เนื่องจาก เลือดอยู่ในเส้นเลือดระยะหนึ่งเท่านั้น จากนัน ้ จะไหลเข้าสู่โพรงรับเลือด หรือ ฮีโมซีล ระบบหมุนเวียนเลือดของตั๊กแตน ระบบหมุนเวียนเลือดของแมลง ประกอบด้วย 1. เลือดของแมลง เป็นของเหลวใสๆ ไม่มสี หรือ สีฟ้าอ่อน มีฮโี มไซยานินที่มี ี ทองแดงเป็นองค์ประกอบ ส่วนของเม็ดเลือดไม่มสี ี Page 4
  • 5. ออสเทีย 2. หัวใจเทียม เป็นท่อยาวๆพองออกเป็น ตอนๆอยู่ด้านบนของปล้องท้อง ที่ผนังของ หัวใจมีรูเล็กๆเรียก ออสเทีย (ostia) ที่มีลน ิ้ ป้องกันไม่ให้เลือดไหลออกจากหัวใจ แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือด แบบเปิดของตั๊กแตน Page 5
  • 6. 3. เส้นเลือด แมลงมีเส้นเลือดเพียงเส้นเดียว เหนือทางเดินอาหารกลางลาตัว มีโพรงรับเลือดหรือฮีโมซีล เป็นช่องว่างของลาตัวรอบอวัยวะภายใน ทาหน้าที่ ให้เลือดไหลผ่าน หัวใจเทียมทาหน้าที่ปั๊มเลือดเข้าสู่เส้นเลือด จากนั้นไหลเข้าสู่ฮโี มซีล มีการ แลกเปลี่ยนแก๊ส สารอาหาร และของเสีย แล้วไหลกลับสู่หัวใจทางรูออสเทีย เลือดของแมลงไหลเวียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อที่ ผนังหัวใจ และ การทางานของกล้ามเนื้อที่ผนังลาตัว และทางเดินอาหาร Page 6
  • 7. กุ้ง ระบบหมุนเวียนเลือดของกุ้งเป็น แบบเปิด (open circulatory system) เลือดของกุ้ง เป็นของเหลวใสๆ ไม่มสี หรือ มีสีฟ้าอ่อน ี มีฮโี มไซยานินที่มีทองแดงเป็น องค์ประกอบ ส่วนของเม็ดเลือด ค. ระบบหมุนเวียนเลือดของกุ้ง ไม่มสี ี ง. แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดของกุ้ง Page 7
  • 8. แผนภาพระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดของกุ้ง เยือหุมหัวใจ ่ ้ เยื่อหุ้มหัวใจ (pericardium) ทาให้เกิดช่องที่เรียกว่าถุงพักรอบ หัวใจ หรือ เพอริคาร์เดียล ไซนัส ( pericardial sinus ) เป็น ที่ตั้งของหัวใจ และเป็นบริเวณที่ เลือดไหลเข้าหัวใจ หัวใจ มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมอยู่ด้านบนค่อนไปด้านหลังของส่วนอก หัวใจมีรออสเทีย (ostia) อยู่ 5 คู่ มีลิ้นปิดเปิดให้เลือดจากเพอริคาร์เดียล ู ไซนัส ไหลเข้าสู่หัวใจ Page 8
  • 9. ระบบหมุนเวียนเลือดของกุ้ง เส้นเลือด แบ่งเป็น -เส้นเลือดแดงที่นาเลือดออกจากหัวใจไปเลี้ยงอวัยวะส่วนหน้า คือ กระเพาะ อาหาร หลอดอาหาร ตับ - เส้นเลือดแดงที่นาเลือดออกจากหัวใจไปทางด้านหลัง จะนาเลือดไปเลี้ยง กล้ามเนื้อและอวัยวะต่างๆในแต่ละปล้องของส่วนท้องตลอดไปจนถึงส่วนหาง ฮีโมซีล เป็นช่องที่เกิดจากช่องตัว (coelom) อยู่ระหว่างกล้ามเนื้อ อวัยวะ หรือเยื่อต่างๆรอบตัวกุ้ง ทาหน้าที่เป็นทางเดินของเลือดที่ใช้แล้วทั่วตัวไปฟอกที่ เหงือก แล้วนาเลือดกลับสู่เพอริคาร์เดียล ไซนัส และหัวใจ ต่อไป Page 9
  • 10. ระบบหมุนเวียนเลือดของหมึก ระบบหมุนเวียนเลือดของหมึก เป็นแบบปิด (closed circulatory system) เลือดมีส่วนประกอบของฮีโมไซยานิน หมึกมีเหงือก 1 คู่ และมีหัวใจ 2 ชนิด Page 10
  • 11. หัวใจของหมึก 1. บรานเชียล ฮาร์ท (branchial heart) หรือ กิลล์ ฮาร์ท (gill heart)ทา หน้าที่เพิ่มแรงดันเลือดและความเร็วของเลือดให้ไหลผ่านเหงือกได้ดียิ่งขึ้น 2. ซีสเทมิกฮาร์ท (systemic heart)อยู่ตรงกลางลาตัว ทาหน้าที่รับเลือดที่ ฟอกแล้วจากเหงือก (มีออกซิเจนสูง) ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ Page 11
  • 13. หัวใจตั้งอยู่ในช่องว่าง (pericardial cavity) ซึ่งอยู่ใต้คอหอยตอนหลังของ เหงือก โดยมีเยื่อหุ้ม (visceral pericardium) ปลามีหัวใจ 2 ห้อง คือ ห้อง บน (auricle หรือ atrium) และห้องล่าง (ventricle) การไหลเวียนเลือดเป็น แบบปิดทางเดียว คือ เลือดเสียเท่านั้นทีผ่านหัวใจ โดยเลือดจากทั่วร่างกายเข้ามา ่ ทางแอ่งรับเลือดหรือไซนัส วีโนซัส (sinus venosus) ผ่านเข้าหัวใจห้องบน และห้องล่างตามลาดับ ห้องล่างมีกล้ามเนื้อหนาแข็งแรงบีบตัวให้เลือดผ่าน เวนทรัล เอออร์ตา (ventral aorta) ไปฟอกที่เหงือก ตรงฐานของเวนทรัล เอออร์ตา ที่ติดกับหัวใจมีลักษณะ เป็นหลอดลมกล้ามเนื้อหนาแข็งแรงยืดหยุ่นได้ เพื่อรับแรงบีบเลือดจากหัวใจ Page 13
  • 14. Blood Circulation of Fish http://www.youtube.com/watch?v=C2qS8Ti0gcg&feature=player_embedded#! Page 14
  • 15. Circulation in Goldfish Tail http://www.youtube.com/watch?v=XiQvLj_T9co&feature=related Page 15
  • 16. สรุป ระบบไหลเวียนเลือดแบบเปิด OPEN CIRCULARTERY SYSTEM • หมายถึงการที่เลือดออกจากหัวใจ ไหลไปตามเส้นเลือดจะไปเปิด ทีช่องฮีโมซิล ( Haemocel ) หรือช่องไซนัส( Sinus ) และ ่ ผนังกล้ามเนื้อบีบตัวเลือดจึงไหลกลับเข้าสู่หัวใจ • สรุปคือเลือดไม่ได้ไหลไปตามเส้นเลือดตลอดเวลา Page 16
  • 17. การไหลเวียนเลือดระบบปิด CLOSE CIRCULARTERY SYSTEM • หมายถึงการที่เลือดออกจากหัวใจไหลไปยัง เซลล์ต่าง ๆและ กลับเข้าสู่หัวใจเลือดจะไหลไปในเส้นเลือดตลอดเวลา Page 17
  • 18. ระบบ หมุนเวียนเลือดประกอบด้วย • เลือด ไหลเวียนอยู่ในเส้นเลือด • เส้นเลือด เส้นเลือดแดง (artery ) นา เลือดออกจากหัวใจ • เส้นเลือดดา ( vein ) เส้นเลือดที่นาเลือด กลับเข้าสู่หัวใจ • เส้นเลือดฝอย มีหน้าที่ แลกเปลี่ยนก๊าซและ สารระหว่างเส้นเลือดและเซลล์ • หัวใจ มีหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังเส้นเลือด Page 18
  • 20. The End Page 20