SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1


รายวิชา ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม 3                       ผลการเรียนที่คาดหวังที่ 5
                                          ใบความรู 5
รหัสวิชา ว 40203 ระดับชั้น ม. 5                            ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 5
                             ความรอน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

                                           ความรอน (Thermal)
                                                
               ความรอนเปนพลังงานรูปหนึ่งที่เปลี่ยนมาจากพลังงานรูปอื่น เชน พลังงานไฟฟา พลังงานกล
(พลังงานศักยและ พลังงานจลน) พลังงานเคมี พลังงานนิวเคลียร หรืองาน เปนตน
               พลังงานความรอนมีหนวยเปนจูล (Joule, J ) ในระบบเอสไอ (SI) แตบางครั้งอาจบอกเปนหนวย
อื่นได เชน แคลอรี (cal) และบีทียู (BTU)

องศาเซลเซียส (℃) ในชวง 14.5 ℃ ถง 15.5 ℃
               พลังงานความรอน 1 แคลอรี คือ พลังงานความรอนที่ทําใหน้ํามวล 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1
                                        ึ

องศาฟาเรนไฮต (℉) ในชวง 58.1 ℉ ถง 59.1 ℉
              พลังงานความรอน 1 บีทียู คือ พลังงานความรอนที่ทําใหน้ํามวล 1 ปอนด มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1
                                          ึ
               จากการทดลองพบวา
                   1 cal = 4.186 J
                   1 BTU = 252 cal = 1055 J

                                         อุณหภูมิ (Temperature )
           นักวิทยาศาสตรไดกําหนดวา อุณหภูมิ คือ ปริมาณที่แปรผันโดยตรงกับพลังงานจลนเฉลี่ยของแกส
การที่เราจะบอกวาวัตถุใดรอนมากหรือนอย เราสามารถบอกไดดวยอุณหภูมิของวัตถุนั้น คือ วัตถุที่มีระดับความ
รอนมากจะมีอุณหภูมิสูง วัตถุที่มีระดับความรอนนอยจะมีอุณหภูมิต่ํา ดังนั้นถาเราเอาวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมาสัมผัส
วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํา พลังงานความรอนจะถูกถายโอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํา จนวัตถุทั้ง
สองมีอุณหภูมิเทากัน

           1. สเกลองศาเซลเซียส (Celsuis, ℃ ) หรือบางที่เรียกวาองศาเซนติเกรด (ที่ความดัน 1 บรรยากาศ จุด
           อุปกรณที่ใชวัดอุณหภูมิเรียกวา เทอรโมมิเตอร เทอรโมมิเตอรมีหลายชนิด เชน

เยือกแข็งของน้ําเปน 0 เซลเซียสและจุดเดือดเปน 100 เซลเซียส ระหวางจุดเยือกแข็งและจุดเดือดแบงเปน
100 สวนเทาๆ กัน )
           2. สเกลองศาเคลวิน (Kelvin, K) เปนหนวยของอุณหภูมิสัมบูรณ (ที่ความดัน 1 บรรยากาศ จุดเยือก
แข็งของน้ําเปน 273.16 เคลวินและจุดเดือดเปน 373.16 เคลวิน ระหวางจุดเยือกแข็งและจุดเดือดแบงเปน
100 สวนเทาๆ กัน ) ## หนวยเคลวินเปนหนวยมาตรฐานในระบบเอสไอ
ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิหนวย เซลเซียส ฟาเรนไฮต โรเมอร และเคลวิน ตามลําดับ
                                                                   จากรูป เปนเทอรโมมิเตอร 4 อัน ตางชนิดกัน
                                                            วัดอุณหภูมิของวัตถุชนิดเดียวกัน จะไดความสัมพันธ


                                                                   =             =          =
                                                              𝐶𝐶        𝐹𝐹−32          𝑅𝑅        𝐾𝐾−273
                                                            ดังนี้


                                                            100          180          80           100



                               𝐶𝐶   𝐹𝐹 − 32 𝑅𝑅 𝐾𝐾 − 273
                                                            หรือ


                                  =        = =
                               5       9    4      5
2


                                ปรมาณความรอนของวตถุ (HEAT, Q)
                                  ิ            ั
         เปนพลังงานความรอนที่วัตถุรับเขามาหรือคายออกไป จากการ ศึกษาผลของความรอนตอสสาร
หรือวัตถุในชั้นนี้จะศึกษาเพียงสองดาน คือ
         1. ความรอนจําเพาะ ( Specific heat ) หมายถึง พลังงานความรอนที่ทําใหวัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้นหรือ
ต่ําลงโดยสถานะยังคงรูปเดิม
         2. ความรอนแฝง (Latent Heat) หมายถึง พลังงานความรอนที่ทําใหวัตถุเปลี่ยนสถานะโดยท่ีอุณหภูมิ
                    
ยังคงท่ี
         ความจความรอน ( Heat capacity,C ) คือความรอนที่ทําใหสารทั้งหมดที่กําลังพิจารณามีอุณหภูมิ
                  ุ     
เปลี่ยนไปหนึ่งหนวย โดยสถานะไมเปลี่ยน
         ถาใหปริมาณความรอน ∆Q แกวัตถุ ทําใหอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป ∆T ดังนั้นถาอุณหภูมิของวัตถุ

            𝐶𝐶 =
                    ∆𝑄𝑄
เปลี่ยนไป 1 หนวย จะใชความรอน C คอ        ื
                ∆𝑇𝑇
                          มีหนวยเปน จูล/ เคลวิน (J/K)
          ความจความรอนจาเพาะ (Specific Heat Capacity, c ) คือความรอนที่ทําใหสาร(วัตถุ) มวลหนึ่ง
                 ุ         ํ

             𝑐𝑐 =
                    ∆𝑄𝑄
หนวยมีอุณหภูมิเปลี่ยนไปหนึ่งองศาเคลวิน คือ
                   𝑚𝑚 ∆𝑇𝑇
                            ความจุความรอนจําเพาะของสาร(J/kg-K)
นั่นคือ เมื่อสารมวล m มีอุณหภูมิเพิ่มจาก T1 เปน T2�
                                                   และความจุความรอนจําเพาะมีคาคงตัว ความรอนที่สาร
                                                    �

                                    𝑄𝑄 = 𝐶𝐶∆𝑇𝑇 หรือ 𝑄𝑄 = 𝑚𝑚𝑚𝑚∆𝑇𝑇
ไดรับ คือ

ตารางที่ 1 แสดงความจุความรอนจําเพาะของสารที่อุณหภูมิหองและที่ความดันบรรยากาศ
                           วัสดุ          ความจความรอนจาเพาะของสาร(J/kg K)
                                               ุ     ํ
                   อะลูมิเนียม                           900
                   ทองแดง                                390
                   เหล็ก                                 450
                   ตะกั่ว                                130
                   ปรอท                                  140
                   หนออน
                      ิ                                 860
                   เอทานอล                              2,500
                   น้ํา                                 4,186
                   รางกายมนุษย                        3,500

ตัวอยางที่ 1 จงหาพลังงานความรอนที่ทําใหน้ํามวล 500 กรัม ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสมีอุณหภูมิ
สูงขึ้นเปน 50 องศาเซลเซียส
วิธีทํา                   m = 500 g = 0.5 kg
             จากตาราง น้ํามีคา c       = 4,186 J/kg K
                                  ∆T = T2 - T1 = (50 - 25) = 25 °K
                                  ∆Q = mc∆T
                                        = 0.5 x 4,186 x 25
                                        = 52,325 J
          คาตอบ ความรอนที่ตองการคือ 52,325 จูล
           ํ
3


          ความรอนแฝง (Latent Heat) คือ ปริมาณความรอนที่ทําใหวัตถุเปลี่ยนสถานะโดยอุณหภูมิคงที่
                   
            ความรอนแฝงจําเพาะ (Specific Latent Heat, L ) คือความรอนที่ทําใหสาร(วัตถุ) มวลหนึ่งหนวย
เปลี่ยนสถานะไปจนหมด เชน น้ําที่ความดัน 1 บรรยากาศ ความรอนที่ทําใหน้ําแข็ง 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 0
องศาเซลเซียส หลอมเหลวกลายเปนน้ําหมดที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส จะใชความรอน 333 กิโลจูล
            ดังนั้น ความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของน้ํา คือ Lf
                           Lf = 333 kJ/kg
          และที่ความดัน 1 บรรยากาศ ความรอนที่ทําใหน้ํา 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
กลายเปนไอน้ําหมดที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส จะใชความรอน 2256 กิโลจูล
            ดังนั้น ความรอนแฝงจําเพาะของในการกลายเปนไอของน้ํา คือ Lv
                           Lv = 2256 kJ/kg

                            𝑄𝑄 = 𝑚𝑚𝑚𝑚
นั่นคือ ถาให Q คือความรอนที่ทําใหสาร(วัตถุ) มวล m เปลี่ยนสถานะหมดคือ



                                        การเปลี่ยนสถานะของสาร
        สารและสิ่งของที่อยูรอบตัวเราพบวามีอยู 3 สถานะ คอ ของแขง(น้ําแข็ง) ของเหลว(น้ํา) และ
                                                              ื        ็
แกส(ไอนา) ได
       ํ้
           I. ของแข็ง แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคามาก ทําใหโมเลกุลอยูใกลกัน จึงทําใหรูปทรงของของแข็งไม
เปลี่ยนแปลงมากเมื่อมีแรงขนาดไมมากนักมากระทํา ตามคําจํากัดความนี้ เหล็ก คอนกรีต กอนหิน เปนของแข็ง
           II. ของเหลว แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคานอย โมเลกุลจึงเคลื่อนที่ไปมาไดบาง จึงทําใหรูปทรงของ
ของเหลวเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่ที่บรรจุ น้ํา น้ํามัน ปรอท เปนของเหลว
           III. แกส แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคานอยมาก จนโมเลกุลของแกสอยูหางกันมากและเคลื่อนที่ได
สะเปะสะปะ ฟุงกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ เชนอากาศและแกสชนิดตางๆ




                            รูป แสดงการเปลี่ยนสถานะของน้ําเมื่อไดรับความรอน

         ถาเรานําน้ําแข็งที่อุณหภูมิ -20 ℃ ที่ความดันบรรยากาศ 1 บรรยากาศ ความรอนทําใหน้ําแข็งมีการ

     1. น้ําแข็งที่อุณหภูมิ -20 ℃ กลายเปนน้ําแข็ง 0 ℃ (เปนคา c ของน้ําแข็ง)
เปลี่ยนแปลงเปนชวงๆ คือ

     2. น้ําแข็ง 0 ℃ ละลายกลายเปนน้ํา 0 ℃
     3. น้ํา 0 ℃ อุณหภูมิสูงขึ้นจนเปนน้ํา 100 ℃ (เปนคา c ของน้ํา )
     4. น้ํา 100 ℃ เดือดกลายเปนไอน้ํา 100 ℃
4




                คายความร้อน                  คายความร้อน                 คายความร้อน




             ที่มาของภาพ http://www.myfirstbrain.com/thaidata/image.asp?ID=1654594

ตัวอยางที่ 2 จงหาปริมาณความรอนที่ทําใหน้ําแข็งมวล 250 กรัมอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส กลายเปนน้ํา
หมด และสุดทายน้ํา 50 กรัม เดือดกลายเปนไอ

                น้ําแข็งละลายหมดกลายเปนน้ํา 0 ℃ ตองการความรอน
วิธีทํา มวลน้ําแข็ง           250 g = 0.25 kg

                                  Q1    = mLf
                                        = 0.25 x 333

                น้ํา 0 ℃ กลายเปนน้ํา 100 ℃ ตองการความรอน
                                  = 83.25 kJ

                                  Q2    = mc∆T
                                        = 0.25 x 4.2 x 100

                น้ํา 10 กรัม หรือ 0.01 กิโลกรัม ที่ 100 ℃ เดือดเปนไอน้ํา 100 ℃ ตองการความรอน
                                        = 105 กิโลจูล

                                  Q3    =       mLv
                                        =      0.05 x 2256
                                        =      112.8 kJ
         ความรอนทั้งหมดที่ตองใช Q = Q1 + Q2 + Q3
                                        = 83.25 + 105 + 112.8
                                        = 301.05 kJ
     คาตอบ ความรอนที่ตองการคือ 301.05 กิโลจูล
       ํ



น้ําแข็งอุณหภูมิ 0 ℃ มวล 70 กรัม ลงในภาชนะจากนั้นปดภาชนะดวยฉนวนอุณหภูมิสุดทายภายในภาชนะ
ตัวอยางที่ 3 กอนอะลูมิเนียมมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส อยูในภาชนะที่เปนฉนวน เมื่อเท

เปนเทาใด (ใหคิดวาภาชนะใหหรือรับความรอนนอยมาก)

          1.) น้ําแข็งละลายไมหมด ดังนั้นอุณหภูมิสุดทาย t = 0 ℃
วิธีทํา เหตุการณที่อาจเกิดขึ้นไดในภาชนะ              4 รูปแบบคือ

          2.) น้ําแข็งละลายหมด แตอุณหภูมิของอะลูมิเนียมสูงกวา 0 ℃ ทําใหน้ํามีอุณหภูมิสูงขึ้น แตไมเดือด
ดังนั้นอุณหภูมิสุดทายอยูระหวาง 0 ℃ กบ 100 ℃ คอ 0 < t < 100
          3.) น้ําบางสวนเดือด อุณหภูมิสุดทาย t = 100 ℃
                                           ั              ื

          4.) น้ําเดือดหมด และกอนอะลูมิเนียม อุณหภูมิสุดทาย t > 100 ℃
ดังนั้นเราตองคํานวณความรอนทีละชวงคือ
พิจารณา ความรอนที่น้ําแข็งมวล             0.07 kg ละลายหมดตองการความรอน
                           Q1         = mLf = .07 x 333000 = 23310 J
พิจารณา                ความรอนที่กอนอะลูมิเนียม 0.2 kg คายออกมาจนมีอุณหภูมิเปน 0 oC คอ  ื
                           Q2         = mc∆T = 0.2 x 900 x 300 = 54000 J
พิจารณา                ความรอนที่น้ํา 0 oC กลายเปนน้ํา 100 oC ความรอนที่ตองการ คือ
5


                         Q3      = mc∆T = 0.07 x 4200 x 100 = 29400 J

เมื่อพิจารณาความรอนของน้ําและอะลูมิเนียมแลวไดผลดังนี้

         นั่นคือ ดังนั้นอุณหภูมิสุดทายอยูระหวาง 0 ℃ กบ 100 ℃ คอ 0 < t < 100
                            (Q1 + Q3 ) < Q2
                                                         ั              ื
         จากกฏการอนุรักษพลังงาน
                   Q1 + mc(t - 0)                    =     mAlcAl(300 - t)

                                                           64.7 ℃
                   23310 + 0.07 x 4200 x t =               0.2 x 900(300 - t)
                                             t       =
         ตอบ อุณหภูมิผสมสุดทายของน้ําและอะลูมิเนียมเทากับ 64.7 องศาเซลเซียส

ตัวอยางที่ 4 จงหาพลังงานความรอนที่ทําใหน้ําแข็งมวล 100 กรัม อุณหภูมิ -20 ℃ หลอมละลายกลายเปน

                           20 ℃ กลายเปนน้ําแข็ง 0 ℃ ตองการความรอน
น้ําหมด น้ํา และน้ํามีอุณหภูมิสูงจนเดือดเปนไอหมดที่ความดัน 1 บรรยากาศ
วิธีทํา น้ําแข็ง -
                          Q1       = mc∆T          =       0.100 x 2.1(0 - (-20))
                                   = 4.2 กิโลจูล

                 น้ําแข็งละลายหมดกลายเปนน้ํา 0 ℃ ตองการความรอน
                 มวลน้ําแข็ง 100 g = 0.100 kg

                          Q2       = mLf           = 0.100 x 333

                 น้ํา 0 ℃ กลายเปนน้ํา 100 ℃ ตองการความรอน
                                   = 33.3 kJ

                          Q3       = mc∆T
                                   = 0.100 x 4.2 x 100

                 น้ํา 10 กรัม หรือ 0. 1 กิโลกรัม ที่ 100 ℃ เดือดเปนไอน้ํา 100 ℃ ตองการความรอน
                                   = 42 กิโลจูล

                          Q4       =       mLv
                                   =      0.100 x 2256
                                   =      225.6 kJ
         ความรอนทั้งหมดที่ตองใช Q = Q1 + Q2 + Q3 + Q4
                                            = 4.2 + 33.3 + 42 + 225.6
                                            = 305.1 kJ
     คาตอบ ความรอนที่ตองการคือ 305.1 กิโลจูล
       ํ


                                การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความรอน
           วัตถุโดยทั่วไปเมื่อไดรับความรอนจะขยายตัว การขายตัวของวัตถุจะขึ้นอยูกับรูปรางลักษณะของวัตถุเชน
วัตถุที่มีความยาวมีลักษณะเปนเสนหรือแทงยาว จะมีการขยายตัวตามเสน (การขยายตัวตามยาว) วัตถุที่เปนแผน
จะมีการขยายตัวตามพื้นที่ วัตถุที่มีรูปรางเปนปริมาตรจะมีการขยายตัวตามปริมาตร ในทางกลับกันถาวัตถุสูญเสีย
ความรอนก็จะหดตัว
6




                ที่มาของภาพ http://www.thaiceramicsociety.com/images/ch_heat-3.jpg
สมบัติที่สําคัญๆ เกี่ยวกับการขยายของของแข็ง ไดแก
         1. ของแข็งตางชนิดกัน ถาเดิมมีความยาวเทากัน เมื่อรอนขึ้นเทากันจะมีสวนขยายตัวเพิ่มขึ้นไมเทากัน
         2. ของแข็งชนิดเดียวกัน ถาเดิมมีความยาวเทากัน เมื่อรอนขึ้นเทากันจะมีสวนขยายตัวเพิ่มขึ้นเทากัน
         3. การขยายตัวของวัตถุเปนเรื่องที่สําคัญมากในทางวิศวกรรม เชน การวางเหล็กรางรถไฟ การขึงสาย
ไฟฟาแรงสูงเปนตน

                                  การถายโอนความรอน (Heat Transfer)
                                               
     ความรอนจะถายโอนหรือสงผานจากวัตถุที่มีระดับความรอนสูง(อุณหภูมิสูง) ไปสูวัตถุที่มีระดับความรอนต่ํา
(อุณหภูมิต่ํา) การถายโอนความรอนมี 3 แบบ คือ
            1. การนํา (Conduction) เปนการถายโอนพลังงานความรอนผานตัวกลางซึ่งโดยมากจะเปนพวกโลหะ
ตางๆ เชน เราเอามือไปจับชอนโลหะที่ปลายขางหนึ่งแชอยูในน้ํารอน มือเราจะรูสึกรอน เพราะความรอนถูก
สงผานจากน้ํารอนมายังมือเราโดยมีชอนโลหะเปนตัวนําความรอน
            2. การพา (Convection) เปนการถายโอนความรอนโดยการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของตัวกลางเปนตัวพา
ความรอนไปจากบริเวณที่มีระดับความรอนสูง(อุณหภูมิสูง) ไปสูบริเวณที่มีระดับความรอนต่ํา(อุณหภูมิต่ํา) เชน
เวลาตมน้ําความรอนจากเตาทําใหน้ําที่กนภาชนะรอนมันจะขยายตัวทําใหมีความหนาแนนนอยกวาน้ําดาน บนจึง
ลอยตัวสูงขึ้นสวนน้ําดานบนอุณหภูมิต่ํากวาความหนาแนนมากก็จะจมลงมาแทนที่ การหมุนวนของน้ําทําใหเกิด
การพาความรอน
            3. การแผรังสี (Radition) เปนสงพลังงานความรอนที่อยูในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา(รังสีอินฟราเรด) ดังนั้น
จึงไมตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เชนการแผรังสีความรอนจากดวงอาทิตยมายังโลก โดยทั่วไปวัตถุที่แผรังสี
ไดดีก็จะรับ(ดูดกลืน)รังสีไดดีดวย วัตถุชนิดนั้นเราเรียกวาวัตถุดํา( Black Body) วัตถุดําไมมีในธรรมชาติ มีแตในอุดม
คติ ดังนั้นวัตถุที่มีลักษณะใกลเคียงวัตถุดําคือ วัตถุที่มีสีดํา ในทางกลับกันวัตถุขาวจะ ไมดูดกลืนรังสีและ ไมแผรังสี
ที่ตกกระทบ มีแตในอุดมคติเทานั้น




                      ที่มาของภาพ http://www.fao.org/docrep/008/y7223e/y7223e0d.jpg

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 

Was ist angesagt? (20)

แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 

Andere mochten auch

03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับWijitta DevilTeacher
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 

Andere mochten auch (6)

03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 

Ähnlich wie ความร้อน

บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
ความร้อน.pptx
ความร้อน.pptxความร้อน.pptx
ความร้อน.pptxssuserdebdcf
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อนthanakit553
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนApinya Phuadsing
 
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือดกิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือดkrupornpana55
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำการทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำadriamycin
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร081445300
 
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวกิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวkrupornpana55
 
07 การถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการนำ
07 การถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการนำ07 การถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการนำ
07 การถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการนำdnavaroj
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 

Ähnlich wie ความร้อน (20)

บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
ความร้อน.pptx
ความร้อน.pptxความร้อน.pptx
ความร้อน.pptx
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
P10
P10P10
P10
 
Thermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptxThermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptx
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Lesson10
Lesson10Lesson10
Lesson10
 
heat
heatheat
heat
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือดกิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำการทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวกิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
 
07 การถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการนำ
07 การถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการนำ07 การถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการนำ
07 การถ่ายโอนพลังงานความร้อนโดยการนำ
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Solid liquid-gas
Solid liquid-gasSolid liquid-gas
Solid liquid-gas
 

Mehr von Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด AWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด CWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุWijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชนWijitta DevilTeacher
 

Mehr von Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 

ความร้อน

  • 1. 1 รายวิชา ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม 3 ผลการเรียนที่คาดหวังที่ 5 ใบความรู 5 รหัสวิชา ว 40203 ระดับชั้น ม. 5 ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 5 ความรอน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ความรอน (Thermal)  ความรอนเปนพลังงานรูปหนึ่งที่เปลี่ยนมาจากพลังงานรูปอื่น เชน พลังงานไฟฟา พลังงานกล (พลังงานศักยและ พลังงานจลน) พลังงานเคมี พลังงานนิวเคลียร หรืองาน เปนตน พลังงานความรอนมีหนวยเปนจูล (Joule, J ) ในระบบเอสไอ (SI) แตบางครั้งอาจบอกเปนหนวย อื่นได เชน แคลอรี (cal) และบีทียู (BTU) องศาเซลเซียส (℃) ในชวง 14.5 ℃ ถง 15.5 ℃ พลังงานความรอน 1 แคลอรี คือ พลังงานความรอนที่ทําใหน้ํามวล 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1  ึ องศาฟาเรนไฮต (℉) ในชวง 58.1 ℉ ถง 59.1 ℉ พลังงานความรอน 1 บีทียู คือ พลังงานความรอนที่ทําใหน้ํามวล 1 ปอนด มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1  ึ จากการทดลองพบวา 1 cal = 4.186 J 1 BTU = 252 cal = 1055 J อุณหภูมิ (Temperature ) นักวิทยาศาสตรไดกําหนดวา อุณหภูมิ คือ ปริมาณที่แปรผันโดยตรงกับพลังงานจลนเฉลี่ยของแกส การที่เราจะบอกวาวัตถุใดรอนมากหรือนอย เราสามารถบอกไดดวยอุณหภูมิของวัตถุนั้น คือ วัตถุที่มีระดับความ รอนมากจะมีอุณหภูมิสูง วัตถุที่มีระดับความรอนนอยจะมีอุณหภูมิต่ํา ดังนั้นถาเราเอาวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมาสัมผัส วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํา พลังงานความรอนจะถูกถายโอนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํา จนวัตถุทั้ง สองมีอุณหภูมิเทากัน 1. สเกลองศาเซลเซียส (Celsuis, ℃ ) หรือบางที่เรียกวาองศาเซนติเกรด (ที่ความดัน 1 บรรยากาศ จุด อุปกรณที่ใชวัดอุณหภูมิเรียกวา เทอรโมมิเตอร เทอรโมมิเตอรมีหลายชนิด เชน เยือกแข็งของน้ําเปน 0 เซลเซียสและจุดเดือดเปน 100 เซลเซียส ระหวางจุดเยือกแข็งและจุดเดือดแบงเปน 100 สวนเทาๆ กัน ) 2. สเกลองศาเคลวิน (Kelvin, K) เปนหนวยของอุณหภูมิสัมบูรณ (ที่ความดัน 1 บรรยากาศ จุดเยือก แข็งของน้ําเปน 273.16 เคลวินและจุดเดือดเปน 373.16 เคลวิน ระหวางจุดเยือกแข็งและจุดเดือดแบงเปน 100 สวนเทาๆ กัน ) ## หนวยเคลวินเปนหนวยมาตรฐานในระบบเอสไอ ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิหนวย เซลเซียส ฟาเรนไฮต โรเมอร และเคลวิน ตามลําดับ จากรูป เปนเทอรโมมิเตอร 4 อัน ตางชนิดกัน วัดอุณหภูมิของวัตถุชนิดเดียวกัน จะไดความสัมพันธ = = = 𝐶𝐶 𝐹𝐹−32 𝑅𝑅 𝐾𝐾−273 ดังนี้ 100 180 80 100 𝐶𝐶 𝐹𝐹 − 32 𝑅𝑅 𝐾𝐾 − 273 หรือ = = = 5 9 4 5
  • 2. 2 ปรมาณความรอนของวตถุ (HEAT, Q) ิ  ั เปนพลังงานความรอนที่วัตถุรับเขามาหรือคายออกไป จากการ ศึกษาผลของความรอนตอสสาร หรือวัตถุในชั้นนี้จะศึกษาเพียงสองดาน คือ 1. ความรอนจําเพาะ ( Specific heat ) หมายถึง พลังงานความรอนที่ทําใหวัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้นหรือ ต่ําลงโดยสถานะยังคงรูปเดิม 2. ความรอนแฝง (Latent Heat) หมายถึง พลังงานความรอนที่ทําใหวัตถุเปลี่ยนสถานะโดยท่ีอุณหภูมิ  ยังคงท่ี ความจความรอน ( Heat capacity,C ) คือความรอนที่ทําใหสารทั้งหมดที่กําลังพิจารณามีอุณหภูมิ ุ  เปลี่ยนไปหนึ่งหนวย โดยสถานะไมเปลี่ยน ถาใหปริมาณความรอน ∆Q แกวัตถุ ทําใหอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนไป ∆T ดังนั้นถาอุณหภูมิของวัตถุ 𝐶𝐶 = ∆𝑄𝑄 เปลี่ยนไป 1 หนวย จะใชความรอน C คอ ื ∆𝑇𝑇 มีหนวยเปน จูล/ เคลวิน (J/K) ความจความรอนจาเพาะ (Specific Heat Capacity, c ) คือความรอนที่ทําใหสาร(วัตถุ) มวลหนึ่ง ุ  ํ 𝑐𝑐 = ∆𝑄𝑄 หนวยมีอุณหภูมิเปลี่ยนไปหนึ่งองศาเคลวิน คือ 𝑚𝑚 ∆𝑇𝑇 ความจุความรอนจําเพาะของสาร(J/kg-K) นั่นคือ เมื่อสารมวล m มีอุณหภูมิเพิ่มจาก T1 เปน T2� และความจุความรอนจําเพาะมีคาคงตัว ความรอนที่สาร � 𝑄𝑄 = 𝐶𝐶∆𝑇𝑇 หรือ 𝑄𝑄 = 𝑚𝑚𝑚𝑚∆𝑇𝑇 ไดรับ คือ ตารางที่ 1 แสดงความจุความรอนจําเพาะของสารที่อุณหภูมิหองและที่ความดันบรรยากาศ วัสดุ ความจความรอนจาเพาะของสาร(J/kg K) ุ  ํ อะลูมิเนียม 900 ทองแดง 390 เหล็ก 450 ตะกั่ว 130 ปรอท 140 หนออน ิ  860 เอทานอล 2,500 น้ํา 4,186 รางกายมนุษย 3,500 ตัวอยางที่ 1 จงหาพลังงานความรอนที่ทําใหน้ํามวล 500 กรัม ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสมีอุณหภูมิ สูงขึ้นเปน 50 องศาเซลเซียส วิธีทํา m = 500 g = 0.5 kg จากตาราง น้ํามีคา c = 4,186 J/kg K ∆T = T2 - T1 = (50 - 25) = 25 °K ∆Q = mc∆T = 0.5 x 4,186 x 25 = 52,325 J คาตอบ ความรอนที่ตองการคือ 52,325 จูล ํ
  • 3. 3 ความรอนแฝง (Latent Heat) คือ ปริมาณความรอนที่ทําใหวัตถุเปลี่ยนสถานะโดยอุณหภูมิคงที่  ความรอนแฝงจําเพาะ (Specific Latent Heat, L ) คือความรอนที่ทําใหสาร(วัตถุ) มวลหนึ่งหนวย เปลี่ยนสถานะไปจนหมด เชน น้ําที่ความดัน 1 บรรยากาศ ความรอนที่ทําใหน้ําแข็ง 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส หลอมเหลวกลายเปนน้ําหมดที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส จะใชความรอน 333 กิโลจูล ดังนั้น ความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของน้ํา คือ Lf Lf = 333 kJ/kg และที่ความดัน 1 บรรยากาศ ความรอนที่ทําใหน้ํา 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส กลายเปนไอน้ําหมดที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส จะใชความรอน 2256 กิโลจูล ดังนั้น ความรอนแฝงจําเพาะของในการกลายเปนไอของน้ํา คือ Lv Lv = 2256 kJ/kg 𝑄𝑄 = 𝑚𝑚𝑚𝑚 นั่นคือ ถาให Q คือความรอนที่ทําใหสาร(วัตถุ) มวล m เปลี่ยนสถานะหมดคือ การเปลี่ยนสถานะของสาร สารและสิ่งของที่อยูรอบตัวเราพบวามีอยู 3 สถานะ คอ ของแขง(น้ําแข็ง) ของเหลว(น้ํา) และ ื ็ แกส(ไอนา) ได  ํ้ I. ของแข็ง แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคามาก ทําใหโมเลกุลอยูใกลกัน จึงทําใหรูปทรงของของแข็งไม เปลี่ยนแปลงมากเมื่อมีแรงขนาดไมมากนักมากระทํา ตามคําจํากัดความนี้ เหล็ก คอนกรีต กอนหิน เปนของแข็ง II. ของเหลว แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคานอย โมเลกุลจึงเคลื่อนที่ไปมาไดบาง จึงทําใหรูปทรงของ ของเหลวเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่ที่บรรจุ น้ํา น้ํามัน ปรอท เปนของเหลว III. แกส แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมีคานอยมาก จนโมเลกุลของแกสอยูหางกันมากและเคลื่อนที่ได สะเปะสะปะ ฟุงกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ เชนอากาศและแกสชนิดตางๆ รูป แสดงการเปลี่ยนสถานะของน้ําเมื่อไดรับความรอน ถาเรานําน้ําแข็งที่อุณหภูมิ -20 ℃ ที่ความดันบรรยากาศ 1 บรรยากาศ ความรอนทําใหน้ําแข็งมีการ 1. น้ําแข็งที่อุณหภูมิ -20 ℃ กลายเปนน้ําแข็ง 0 ℃ (เปนคา c ของน้ําแข็ง) เปลี่ยนแปลงเปนชวงๆ คือ 2. น้ําแข็ง 0 ℃ ละลายกลายเปนน้ํา 0 ℃ 3. น้ํา 0 ℃ อุณหภูมิสูงขึ้นจนเปนน้ํา 100 ℃ (เปนคา c ของน้ํา ) 4. น้ํา 100 ℃ เดือดกลายเปนไอน้ํา 100 ℃
  • 4. 4 คายความร้อน คายความร้อน คายความร้อน ที่มาของภาพ http://www.myfirstbrain.com/thaidata/image.asp?ID=1654594 ตัวอยางที่ 2 จงหาปริมาณความรอนที่ทําใหน้ําแข็งมวล 250 กรัมอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส กลายเปนน้ํา หมด และสุดทายน้ํา 50 กรัม เดือดกลายเปนไอ น้ําแข็งละลายหมดกลายเปนน้ํา 0 ℃ ตองการความรอน วิธีทํา มวลน้ําแข็ง 250 g = 0.25 kg Q1 = mLf = 0.25 x 333 น้ํา 0 ℃ กลายเปนน้ํา 100 ℃ ตองการความรอน = 83.25 kJ Q2 = mc∆T = 0.25 x 4.2 x 100 น้ํา 10 กรัม หรือ 0.01 กิโลกรัม ที่ 100 ℃ เดือดเปนไอน้ํา 100 ℃ ตองการความรอน = 105 กิโลจูล Q3 = mLv = 0.05 x 2256 = 112.8 kJ ความรอนทั้งหมดที่ตองใช Q = Q1 + Q2 + Q3 = 83.25 + 105 + 112.8 = 301.05 kJ คาตอบ ความรอนที่ตองการคือ 301.05 กิโลจูล ํ น้ําแข็งอุณหภูมิ 0 ℃ มวล 70 กรัม ลงในภาชนะจากนั้นปดภาชนะดวยฉนวนอุณหภูมิสุดทายภายในภาชนะ ตัวอยางที่ 3 กอนอะลูมิเนียมมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส อยูในภาชนะที่เปนฉนวน เมื่อเท เปนเทาใด (ใหคิดวาภาชนะใหหรือรับความรอนนอยมาก) 1.) น้ําแข็งละลายไมหมด ดังนั้นอุณหภูมิสุดทาย t = 0 ℃ วิธีทํา เหตุการณที่อาจเกิดขึ้นไดในภาชนะ 4 รูปแบบคือ 2.) น้ําแข็งละลายหมด แตอุณหภูมิของอะลูมิเนียมสูงกวา 0 ℃ ทําใหน้ํามีอุณหภูมิสูงขึ้น แตไมเดือด ดังนั้นอุณหภูมิสุดทายอยูระหวาง 0 ℃ กบ 100 ℃ คอ 0 < t < 100 3.) น้ําบางสวนเดือด อุณหภูมิสุดทาย t = 100 ℃ ั ื 4.) น้ําเดือดหมด และกอนอะลูมิเนียม อุณหภูมิสุดทาย t > 100 ℃ ดังนั้นเราตองคํานวณความรอนทีละชวงคือ พิจารณา ความรอนที่น้ําแข็งมวล 0.07 kg ละลายหมดตองการความรอน Q1 = mLf = .07 x 333000 = 23310 J พิจารณา ความรอนที่กอนอะลูมิเนียม 0.2 kg คายออกมาจนมีอุณหภูมิเปน 0 oC คอ ื Q2 = mc∆T = 0.2 x 900 x 300 = 54000 J พิจารณา ความรอนที่น้ํา 0 oC กลายเปนน้ํา 100 oC ความรอนที่ตองการ คือ
  • 5. 5 Q3 = mc∆T = 0.07 x 4200 x 100 = 29400 J เมื่อพิจารณาความรอนของน้ําและอะลูมิเนียมแลวไดผลดังนี้ นั่นคือ ดังนั้นอุณหภูมิสุดทายอยูระหวาง 0 ℃ กบ 100 ℃ คอ 0 < t < 100 (Q1 + Q3 ) < Q2 ั ื จากกฏการอนุรักษพลังงาน Q1 + mc(t - 0) = mAlcAl(300 - t) 64.7 ℃ 23310 + 0.07 x 4200 x t = 0.2 x 900(300 - t) t = ตอบ อุณหภูมิผสมสุดทายของน้ําและอะลูมิเนียมเทากับ 64.7 องศาเซลเซียส ตัวอยางที่ 4 จงหาพลังงานความรอนที่ทําใหน้ําแข็งมวล 100 กรัม อุณหภูมิ -20 ℃ หลอมละลายกลายเปน 20 ℃ กลายเปนน้ําแข็ง 0 ℃ ตองการความรอน น้ําหมด น้ํา และน้ํามีอุณหภูมิสูงจนเดือดเปนไอหมดที่ความดัน 1 บรรยากาศ วิธีทํา น้ําแข็ง - Q1 = mc∆T = 0.100 x 2.1(0 - (-20)) = 4.2 กิโลจูล น้ําแข็งละลายหมดกลายเปนน้ํา 0 ℃ ตองการความรอน มวลน้ําแข็ง 100 g = 0.100 kg Q2 = mLf = 0.100 x 333 น้ํา 0 ℃ กลายเปนน้ํา 100 ℃ ตองการความรอน = 33.3 kJ Q3 = mc∆T = 0.100 x 4.2 x 100 น้ํา 10 กรัม หรือ 0. 1 กิโลกรัม ที่ 100 ℃ เดือดเปนไอน้ํา 100 ℃ ตองการความรอน = 42 กิโลจูล Q4 = mLv = 0.100 x 2256 = 225.6 kJ ความรอนทั้งหมดที่ตองใช Q = Q1 + Q2 + Q3 + Q4 = 4.2 + 33.3 + 42 + 225.6 = 305.1 kJ คาตอบ ความรอนที่ตองการคือ 305.1 กิโลจูล ํ การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความรอน วัตถุโดยทั่วไปเมื่อไดรับความรอนจะขยายตัว การขายตัวของวัตถุจะขึ้นอยูกับรูปรางลักษณะของวัตถุเชน วัตถุที่มีความยาวมีลักษณะเปนเสนหรือแทงยาว จะมีการขยายตัวตามเสน (การขยายตัวตามยาว) วัตถุที่เปนแผน จะมีการขยายตัวตามพื้นที่ วัตถุที่มีรูปรางเปนปริมาตรจะมีการขยายตัวตามปริมาตร ในทางกลับกันถาวัตถุสูญเสีย ความรอนก็จะหดตัว
  • 6. 6 ที่มาของภาพ http://www.thaiceramicsociety.com/images/ch_heat-3.jpg สมบัติที่สําคัญๆ เกี่ยวกับการขยายของของแข็ง ไดแก 1. ของแข็งตางชนิดกัน ถาเดิมมีความยาวเทากัน เมื่อรอนขึ้นเทากันจะมีสวนขยายตัวเพิ่มขึ้นไมเทากัน 2. ของแข็งชนิดเดียวกัน ถาเดิมมีความยาวเทากัน เมื่อรอนขึ้นเทากันจะมีสวนขยายตัวเพิ่มขึ้นเทากัน 3. การขยายตัวของวัตถุเปนเรื่องที่สําคัญมากในทางวิศวกรรม เชน การวางเหล็กรางรถไฟ การขึงสาย ไฟฟาแรงสูงเปนตน การถายโอนความรอน (Heat Transfer)   ความรอนจะถายโอนหรือสงผานจากวัตถุที่มีระดับความรอนสูง(อุณหภูมิสูง) ไปสูวัตถุที่มีระดับความรอนต่ํา (อุณหภูมิต่ํา) การถายโอนความรอนมี 3 แบบ คือ 1. การนํา (Conduction) เปนการถายโอนพลังงานความรอนผานตัวกลางซึ่งโดยมากจะเปนพวกโลหะ ตางๆ เชน เราเอามือไปจับชอนโลหะที่ปลายขางหนึ่งแชอยูในน้ํารอน มือเราจะรูสึกรอน เพราะความรอนถูก สงผานจากน้ํารอนมายังมือเราโดยมีชอนโลหะเปนตัวนําความรอน 2. การพา (Convection) เปนการถายโอนความรอนโดยการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของตัวกลางเปนตัวพา ความรอนไปจากบริเวณที่มีระดับความรอนสูง(อุณหภูมิสูง) ไปสูบริเวณที่มีระดับความรอนต่ํา(อุณหภูมิต่ํา) เชน เวลาตมน้ําความรอนจากเตาทําใหน้ําที่กนภาชนะรอนมันจะขยายตัวทําใหมีความหนาแนนนอยกวาน้ําดาน บนจึง ลอยตัวสูงขึ้นสวนน้ําดานบนอุณหภูมิต่ํากวาความหนาแนนมากก็จะจมลงมาแทนที่ การหมุนวนของน้ําทําใหเกิด การพาความรอน 3. การแผรังสี (Radition) เปนสงพลังงานความรอนที่อยูในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา(รังสีอินฟราเรด) ดังนั้น จึงไมตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เชนการแผรังสีความรอนจากดวงอาทิตยมายังโลก โดยทั่วไปวัตถุที่แผรังสี ไดดีก็จะรับ(ดูดกลืน)รังสีไดดีดวย วัตถุชนิดนั้นเราเรียกวาวัตถุดํา( Black Body) วัตถุดําไมมีในธรรมชาติ มีแตในอุดม คติ ดังนั้นวัตถุที่มีลักษณะใกลเคียงวัตถุดําคือ วัตถุที่มีสีดํา ในทางกลับกันวัตถุขาวจะ ไมดูดกลืนรังสีและ ไมแผรังสี ที่ตกกระทบ มีแตในอุดมคติเทานั้น ที่มาของภาพ http://www.fao.org/docrep/008/y7223e/y7223e0d.jpg