SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชา งานช่าง ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
อิงแนวคิด Backward Design
จำานวน..........หน่วยกิต เวลา ๒๐
ชั่วโมง/ปี
หน่วย
การ
เรียนรู้
ที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
เวลา
(ชั่วโมง
)
๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานช่าง ๔
๒ ความปลอดภัยในงานช่าง ๔
๓ งานสีเบื้องต้น ๔
๔ งานไม้เบื้องต้น ๔
๕ งานแก๊สเบื้องต้น ๓
สอบกลางภาค/สอบปลายภาค ๑
รวม ๒๐
ภาพรวม (Big Idea)
1
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้
วิชา งานช่าง ๑ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๑
2
งาน
ช่าง ๑
- ความหมาย ความ
สำาคัญ และ
ประโยชน์ของงาน
ช่าง
- เครื่องมือช่าง
- เครื่องมือ การใช้
งานและ
การบำารุงรักษาใน
งานช่าง
- ลักษณะของงาน
ช่าง
- วัสดุช่างพื้นฐาน
- วัสดุก่อสร้าง
- วัสดุเชื้อเพลิง
- วัสดุไฟฟ้า
- วัสดุช่างประเภท
อื่น
๑
ความรู้
เบื้องต้น
เกี่ยวกับ
งานช่าง
๒
ความ
ปลอดภัย
ในงาน
ช่าง๓
งานสีเบื้อง
ต้น
๔
งานไม้
เบื้องต้น
๕
งานแก๊ส
เบื้องต้น
- ความปลอดภัยใน
การปฏิบัติ
งานช่าง
- กฎความปลอดภัย
- สาเหตุที่ทำาให้เกิด
อันตราย
จากการทำางาน
- แนวทางในการ
ปฏิบัติงาน
เพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัย
- การป้องกัน
อุบัติเหตุ
- หลักความปลอดภัย
ในการ
ปฏิบัติงานช่าง
- การปฐมพยาบาล
เบื้องต้น
ในงานช่าง
- แก๊สธรรมชาติและ
แก๊สหุงต้ม
- คุณสมบัติพื้นฐานของ
แก๊ส
- คุณสมบัติของแก๊ส
ธรรมชาติ
- ถังแก๊สหุงต้ม
- ส่วนประกอบของ
อุปกรณ์
หุงต้มที่ใช้แก๊ส
- ความปลอดภัยและข้อ
ควร
ปฏิบัติในงานระบบ
แก๊ส
เบื้องต้น
- การใช้แก๊สหุงต้ม
- การป้องกันอัคคีภัยที่
เกิดจากแก๊ส
- เทคนิควิธีการใช้แก๊ส
หุงต้มอย่าง
ประหยัดและปลอดภัย
- ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธี
ลดอัคคีภัย
ในบ้าน
- ความสำาคัญของ
งานไม้
- โครงสร้างของไม้
- การจำาแนกชนิด
ของไม้
- ชนิดของไม้ที่นิยม
ใช้
- การเลือกไม้ที่มี
คุณภาพและ
เหมาะสม
- ตำาหนิของไม้ที่ไม่
ควรซื้อ
หรือหลีกเลี่ยง
- ผลิตภัณฑ์จากไม้
- เครื่องมือช่างไม้
ประจำาบ้าน
- เครื่องมือกลที่ใช้
ในงานไม้
- เบื้องต้นของ
การนำาไม้มา
ต่อกันและการนำา
ไม้มาเข้ากัน
- ความปลอดภัยใน
การปฏิบัติ
งานสี
- อุปกรณ์ที่ใช้ใน
การปฏิบัติ
งานสี
- ขั้นตอนที่ควรรู้ใน
การทาสี
บ้านใหม่
- สีที่ใช้สำาหรับงาน
ไม้
- สีที่ใช้สำาหรับงาน
โลหะ
- การเตรียมพื้นผิว
เพื่อการทาสี
- เทคนิคการเลือกสี
ทาบ้าน
- ส่วนประกอบของสี
ทาบ้าน
- การแบ่งประเภท
ของสี
- การจำาแนก
วัตถุประสงค์ของ
สีกับการใช้งาน
- แนวคิดในการ
เลือกใช้สี
- การทาสีผนังด้วย
แปรงทาสี
- เทคนิคในการทาสี
- เตรียมห้องให้
พร้อมก่อนทาสี
ใหม่
- การเลือกใช้สีให้
เหมาะกับ
ห้องต่างๆ ภายใน
บ้าน
- การสร้างลวยลาย
ด้วยสี
จำานวน...........หน่วยกิต
เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ปี
แผน
ที่
ชื่อแผนการจัดการ
เรียนรู้
เป้าหมายการเรียนรู้
จำานว
น
(ชั่วโ
มง)
๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว
กับงานช่าง
๑. ความหมาย ความสำาคัญ
และประโยชน์ของงาน
ช่าง
๒. เครื่องมือช่าง
๓. เครื่องมือ การใช้งาน และ
การบำารุง รักษาในงาน
ช่าง
๔. ลักษณะของงานช่าง
๕. วัสดุช่างพื้นฐาน
๖. วัสดุก่อสร้าง
๗. วัสดุเชื้อเพลิง
๘. วัสดุไฟฟ้า
๙. วัสดุช่างประเภทอื่นๆ
๔
๒ ความปลอดภัยในงาน
ช่าง
๑. ความปลอดภัยในการ
ปฏิบัติงานช่าง
๒. กฎความปลอดภัย
๓. สาเหตุที่ทำาให้เกิดอันตราย
จากการทำางาน
๔. แนวทางในการปฏิบัติ
งานเพื่อให้เกิด
ความปลอดภัย
๕. การป้องกันอุบัติเหตุ
๖. หลักความปลอดภัยในการ
ปฏิบัติงานช่าง
๗. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
๔
3
ในงานช่าง
แผน
ที่
ชื่อแผนการจัดการ
เรียนรู้
เป้าหมายการเรียนรู้
จำานว
น
(ชั่วโ
มง)
๓ งานสีเบื้องต้น ๑. ความปลอดภัยในการ
ปฏิบัติงานสี
๒. อุปกรณ์ที่ใช้ในการ
ปฏิบัติงานสี
๓. ขั้นตอนที่ควรรู้ในการ
ทาสีบ้านใหม่
๔. สีที่ใช้สำาหรับงานไม้
๕. สีที่ใช้สำาหรับงานโลหะ
๖. การเตรียมพื้นผิวเพื่อการ
ทาสี
๗. เทคนิคการเลือกสี
ทาบ้าน
๘. ส่วนประกอบของสีทา
บ้าน
๙. การแบ่งประเภทของสี
๑๐. การจำาแนก
วัตถุประสงค์ของสีกับ
การใช้งาน
๑๑. แนวคิดในการเลือก
ใช้สี
๑๒. การทาสีผนังด้วย
แปรงทาสี
๑๓. เทคนิคในการทาสี
๑๔. เตรียมห้องให้
๔
4
พร้อมก่อนทาสีใหม่
๑๕. การเลือกใช้สีให้
เหมาะสมกับ
ห้องต่างๆ ภายในบ้าน
๑๖. การสร้างลวยลาย
ด้วยสี
๔ งานไม้เบื้องต้น ๑. ความสำาคัญของ
งานไม้
๒. โครงสร้างของไม้
๓. การจำาแนกชนิดของไม้
๔. ชนิดของไม้ที่นิยมใช้
๕. การเลือกไม้ที่มีคุณภาพ
และเหมาะสม
๖. ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อ
หรือหลีกเลี่ยง
๗. ผลิตภัณฑ์จากไม้
๘. เครื่องมือช่างไม้ประจำา
บ้าน
๔
แผน
ที่
ชื่อแผนการจัดการ
เรียนรู้
เป้าหมายการเรียนรู้
จำานว
น
(ชั่วโ
มง)
๙. เครื่องมือกลที่ใช้ในงาน
ไม้
๑๐. เบื้องต้นของการนำา
ไม้มาต่อกันและการนำาไม้
มาเข้ากัน
๕ งานแก๊สเบื้องต้น ๑. แก๊สธรรมชาติและ
แก๊สหุงต้ม
๒. คุณสมบัติพื้นฐานของ
แก๊ส
๓. คุณสมบัติของแก๊ส
๓
5
ธรรมชาติ
๔. ถังแก๊สหุงต้ม
๕. ส่วนประกอบของอุปกรณ์
หุงต้มที่ใช้แก๊ส
๖. ความปลอดภัยและข้อควร
ปฏิบัติในงานระบบแก๊ส
เบื้องต้น
๗. การใช้แก๊สหุงต้ม
๘. การป้องกันอัคคีภัยที่เกิด
จากแก๊ส
๙.เทคนิควิธีการใช้แก๊ส
หุงต้มอย่างประหยัดและ
ปลอดภัย
๑๐. ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูก
วิธี ลดอัคคีภัยในบ้าน
สอบกลางภาค/ปลายภาค ๑
รวม ๒๐
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบ Backward
Design
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชา งานช่าง ๑ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๔
ชั่วโมง
6
หัวเรื่อง /Theme / หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับงานช่าง
๑. การกำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้
๑. ความหมาย ความสำาคัญ และประโยชน์ของงานช่าง
๒.เครื่องมือช่าง
๓.เครื่องมือ การใช้งาน และการบำารุงรักษาในงานช่าง
๔. ลักษณะของงานช่าง
๕. วัสดุช่างพื้นฐาน
๖. วัสดุก่อสร้าง
๗. วัสดุเชื้อเพลิง
๘.วัสดุไฟฟ้า
๙.วัสดุช่างประเภทอื่นๆ
ผัง (Big Idea)
๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมาย
มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ
กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ
แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร
7
ความรู้
เบื้องต้น
เกี่ยวกับ
งานช่าง
เครื่องมือ
ช่าง
เครื่องมือ การใช้
งาน และการ
บำารุงรักษาในงาน
ช่าง
ความหมาย ความ
สำาคัญ และ
ประโยชน์ของ
งานช่าง
ลักษณะของ
งานช่าง
วัสดุช่าง
พื้นฐาน
วัสดุ
ไฟฟ้า
วัสดุช่างประ
เภทอื่นๆ
วัสดุเชื้อ
เพลิง
วัสดุ
ก่อสร้าง
และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต
และครอบครัว
๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน
๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ
๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล
๔. เป้าหมายการเรียนรู้
๑. ความเข้าใจที่คงทน
ในการดำารงชีวิตประจำาวันของมนุษย์ มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์
กันกับงานช่าง ไม่ว่าจะเป็นงานไม้
งานปูน งานไฟฟ้า งานโลหะ งานประปา เป็นต้น ซึ่งงานช่างดังกล่าว
ทำาให้ชีวิตและความเป็นอยู่มีความ
สะดวกสบายมากขึ้น ประเทศชาติจะพัฒนาได้ก็ต้องอาศัยงานช่างเป็น
องค์ประกอบอยู่เสมอ งานช่างจึง
เปรียบได้ว่าเป็นงานที่สร้างผลผลิตให้กับปัจจัยพื้นฐานในการดำารง
ชีวิตของมนุษย์ช่วยให้มนุษย์อยู่รอด
ในสังคมได้
๒.จิตพิสัย
๑)การมีความสุขในการเรียนรู้
๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม
๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง
๓.สมรรถนะสำาคัญของนักเรียน
๑)ความสามารถในการสื่อสาร
๒)ความสามารถในการคิด
๓)ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔)ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕)ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๔.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑)รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒)ซื่อสัตย์สุจริต
๓)มีวินัย
8
๔)ใฝ่เรียนรู้
๕)อยู่อย่างพอเพียง
๖)มุ่งมั่นในการทำางาน
๗) รักความเป็นไทย
๘)มีจิตสาธารณะ
๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
๑)รู้และเข้าใจความหมาย ความสำาคัญ และประโยชน์ของงาน
ช่าง
๒)บอกลักษณะของเครื่องมือช่างได้ถูกต้อง
๓)บอกวิธีการใช้เครื่องมือและการบำารุงรักษาในงานช่างได้
๔)จำาแนกลักษณะของงานช่างได้
๕)บอกวัสดุช่างพื้นฐานที่ใช้ในงานช่างได้
๖) อธิบายถึงวัสดุก่อสร้างที่ใช้ในงานช่างพื้นฐานได้
๗) บอกวิธีการเก็บรักษาเชื้อเพลิงแก๊สอย่างปลอดภัยได้
๘)จำาแนกวัสดุตัวนำาออกจากวัสดุที่เป็นฉนวนในงานไฟฟ้าได้
๙) บอกบทบาทหน้าที่ของพลาสติก ยาง สี กาว และสารหล่อ
ลื่นได้
๖.ทักษะคร่อมวิชา
๑)การเขียนรายงาน ความสำาคัญและประโยชน์ของงาน
ช่าง
๒) การนำาเสนอบอกวิธีการเก็บรักษาเชื้อ
เพลิงแก๊สอย่างปลอดภัย
๓) ทักษะการทำางานกลุ่ม กระบวนการ
ทำางานเป็นกลุ่มร่วมกัน
9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
วิชา งานช่าง ๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานช่าง
เวลา ๔ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
ความหมาย ความสำาคัญ และประโยชน์ของงานช่าง เครื่องมือ
ช่าง เครื่องมือ การใช้งาน และ
การบำารุงรักษาในงานช่าง ลักษณะของงานช่าง วัสดุช่างพื้นฐาน วัสดุ
ก่อสร้าง วัสดุเชื้อเพลง วัสดุไฟฟ้า
วัสดุช่างประเภทอื่น
๒.สาระสำาคัญ
ในการดำารงชีวิตประจำาวันของมนุษย์ มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
กับงานช่าง ไม่ว่าจะเป็นงานไม้
งานปูน งานไฟฟ้า งานโลหะ งานประปา เป็นต้น ซึ่งงานช่างดังกล่าว
ทำาให้ชีวิตและความเป็นอยู่มีความ
สะดวกสบายมากขึ้น ประเทศชาติจะพัฒนาได้ก็ต้องอาศัยงานช่างเป็น
องค์ประกอบอยู่เสมอ งานช่างจึง
เปรียบได้ว่าเป็นงานที่สร้างผลผลิตให้กับปัจจัยพื้นฐานในการดำารง
ชีวิตของมนุษย์ช่วยให้มนุษย์อยู่รอด
ในสังคมได้
๓.มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ
กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ
แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต
และครอบครัว
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
10
๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน
๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ
๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล
๔. สาระการเรียนรู้
๑. ความหมาย ความสำาคัญ และประโยชน์ของงานช่าง
๒.เครื่องมือช่าง
๓.เครื่องมือ การใช้งาน และการบำารุงรักษาในงานช่าง
๔. ลักษณะของงานช่าง
๕. วัสดุช่างพื้นฐาน
๖. วัสดุก่อสร้าง
๗. วัสดุเชื้อเพลิง
๘.วัสดุไฟฟ้า
๙.วัสดุช่างประเภทอื่นๆ
๕.จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ ความ
เข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์
๑.รู้และเข้าใจความ
หมาย ความสำาคัญ
และประโยชน์ของ
งานช่าง
๒.บอกลักษณะของ
เครื่องมือช่างได้ถูก
ต้อง
๓.บอกวิธีการใช้
เครื่องมือและการ
บำารุงรักษาในงาน
ช่างได้
๔.จำาแนกลักษณะของ
งานช่างได้
๕.บอกวัสดุช่างพื้น
ฐานที่ใช้
ในงานช่างได้
๖.อธิบายถึงวัสดุ
๑. รู้จักความหมาย
ความสำาคัญ และ
ประโยชน์ของงาน
ช่าง
๒. สามารถบอก
ลักษณะของเครื่อง
มือช่างได้ถูกต้อง
๓. สามารถบอกวิธีการ
ใช้เครื่องมือ และการ
บำารุงรักษาในงาน
ช่างได้
๔. สามารถจำาแนก
ลักษณะของงานช่าง
ได้
๕. รู้จักวัสดุช่างพื้น
ฐานที่ใช้
ในงานช่างได้
๑.รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
๒.
ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔.ใฝ่เรียนรู้
๕.อยู่อย่างพอเพียง
๖.มุ่งมั่นในการ
ทำางาน
๗. รัก
ความเป็นไทย
๘. มีจิต
สาธารณะ
11
ก่อสร้างที่ใช้ใน
งานช่างพื้นฐานได้
๗. บอกวิธีการ
เก็บรักษาเชื้อเพลิง
แก๊สอย่างปลอดภัย
ได้
๘. จำาแนกวัสดุตัวนำา
ออกจากวัสดุที่เป็น
ฉนวนในงาน
ไฟฟ้าได้
๙. บอกบทบาท
หน้าที่ของ
พลาสติก ยาง สี
กาว และสารหล่อ
ลื่นได้
๖. รู้จักวัสดุก่อสร้างที่
ใช้ในงานช่างพื้น
ฐานได้
๗. สามารถบอกวิธี
การเก็บรักษาเชื้อ
เพลิงแก๊สอย่าง
ปลอดภัยได้
๘. สามารถจำาแนก
วัสดุตัวนำา
ออกจากวัสดุที่เป็น
ฉนวน
ในงานไฟฟ้าได้
๙. สามารถบอกบท
บาทหน้าที่
ของพลาสติก ยาง สี
กาว และสารหล่อลื่น
ได้
๖.การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑)แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
๒)แบบทดสอบ
๓)ใบงาน
๔)แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
๕)แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๖)แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒.วิธีวัดผล
๑)ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
๒)ตรวจแบบทดสอบ
๓)ตรวจใบงาน
๔)สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
๕)สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๖)สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓.เกณฑ์การวัดและประเมินผล
12
๑)สำำหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่ำน
เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบกับ
คะแนนที่ได้จำกกำรทดสอบหลังเรียน
๒)กำรประเมินผลจำกแบบทดสอบ ต้องผ่ำนเกณฑ์กำรทดสอบ
เกินร้อยละ ๕๐
๓)กำรประเมินจำกแบบตรวจใบงำน ต้องผ่ำนเกณฑ์กำร
ประเมิน เรื่องควำมรู้ควำมเข้ำใจ
กำรนำำไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๔)กำรประเมินผลจำกกำรสังเกตพฤติกรรมกำรทำำงำนกลุ่ม ต้อง
ผ่ำนเกณฑ์กำรประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๕)กำรประเมินผลกำรสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล เกณฑ์ผ่ำนกำร
ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๖)กำรประเมินผลกำรสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้น
อยู่กับกำรประเมินตำม
สภำพจริง
๗) กำรประเมินผลกำรสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
นักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
กำรประเมินตำมสภำพจริง
๗. หลักฐำน/ผลงำน
๑. ผลกำรทำำแบบทดสอบ
๒. ผลกำรทำำใบงำน
๘.กิจกรรมกำรเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑
ขั้นนำำเข้ำสู่บทเรียน
๑) นักเรียนรับฟังคำำชี้แจง วิชำ งำนช่ำง ๑ เรื่องเวลำเรียนและกำร
วัดและประเมินผล เนื้อหำสำระควำมรู้ นักเรียนซักถำมข้อ
ปัญหำ รวมทั้งกำรแสดงควำมคิดเห็นเกี่ยวกับกำรเรียนวิชำนี้
๒)ครูชี้แจงวิธีกำรประเมินสมรรถนะของนักเรียนและคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ของนักเรียนว่ำ
จะต้องทำำควบคู่กับกระบวนกำรทำำกิจกรรมกลุ่ม และครูจะดู
พัฒนำกำรของนักเรียนไปตลอด
ภำคกำรศึกษำ
๓)ครูชี้แจงกำำหนดค่ำระดับคะแนน ตำมเกณฑ์ดังนี้
13
คะแนนร้อยละ ๘๐-๑๐๐ ได้เกรด ๔
คะแนนร้อยละ ๗๕-๗๙ ได้เกรด ๓.๕
คะแนนร้อยละ ๗๐-๗๔ ได้เกรด ๓
คะแนนร้อยละ ๖๕-๖๙ ได้เกรด ๒.๕
คะแนนร้อยละ ๖๐-๖๔ได้เกรด ๒
คะแนนร้อยละ ๕๕-๕๙ ได้เกรด ๑.๕
คะแนนร้อยละ ๕๐-๕๔ได้เกรด ๑
คะแนนร้อยละ ๐-๔๙ ได้เกรด ๐
ขั้นสอน
๔) ครูอธิบำยเนื้อหำสำระสำำคัญ เรื่อง ควำมหมำย ควำมสำำคัญ และ
ประโยชน์ของงำนช่ำง เครื่องมือช่ำง
จำกหนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์
เอมพันธ์
๕) ให้นักเรียนซักถำมในเรื่องที่ไม่เข้ำใจ ครูสุ่มถำมให้
นักเรียนตอบ ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้
ขั้นสรุปและกำรประยุกต์
๖) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำำคัญเรื่อง ควำมหมำย ควำม
สำำคัญ และประโยชน์ของงำนช่ำง
เครื่องมือช่ำง เพื่อให้เข้ำใจร่วมกัน ครูสังเกตสมรรถนะของ
นักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๗) นักเรียนทำำกิจกรรม
หรือใบงำนตำมที่ครูแนะนำำดังนี้
- ใบงำนที่ ๑.๑ - ใบงำนที่
๑.๒
ชั่วโมงที่ ๒-๔
ขั้นนำำเข้ำสู่บทเรียน
๘)ครูทบทวนเรื่อง ควำมหมำย ควำมสำำคัญและประโยชน์ของงำน
ช่ำง เครื่องมือช่ำง
ขั้นสอน
๙)ครูอธิบำยเรื่องเครื่องมือในงำนช่ำงต่ำงๆ กำรใช้งำนและกำร
บำำรุงรักษำลักษณะของงำนช่ำงประเภทต่ำงๆ วัสดุช่ำงพื้นฐำน
วัสดุก่อสร้ำง วัสดุเชื้อเพลิง วัสดุไฟฟ้ำ วัสดุช่ำงประเภทอื่น
14
จำกหนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์
เอมพันธ์
๑๐) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ศึกษำค้นคว้ำหำควำมรู้ เรื่อง
เครื่องมือในงำนช่ำงต่ำงๆ
กำรใช้งำนและกำรบำำรุงรักษำ ลักษณะของงำนช่ำงประเภท
ต่ำงๆ วัสดุช่ำงพื้นฐำน วัสดุก่อสร้ำง วัสดุเชื้อเพลิง วัสดุไฟฟ้ำ
วัสดุช่ำงประเภทอื่นๆ จำกหนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน
งำนช่ำง ๑ เอกสำร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ นำำผลงำนที่ได้มำ
ร่วมกันอภิปรำยวิเครำะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนำำเสนอหน้ำชั้น
ขั้นสรุปและกำรประยุกต์
๑๑) ครูแนะนำำเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงำนที่นักเรียนนำำเสนอ
๑๒) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำำคัญ เรื่อง เครื่องมือใน
งำนช่ำงต่ำงๆ กำรใช้งำนและ
กำรบำำรุงรักษำ ลักษณะของงำนช่ำงประเภทต่ำงๆ วัสดุช่ำงพื้น
ฐำน วัสดุก่อสร้ำง วัสดุเชื้อเพลิง
วัสดุไฟฟ้ำ วัสดุช่ำงประเภทอื่นๆ เพื่อให้เข้ำใจร่วมกัน ครู
สังเกตสมรรถนะของนักเรียนและ
สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑๓)นักเรียนทำำกิจกรรมหรือใบงำนตำมที่ครูแนะนำำดังนี้
- ใบงำนที่ ๑.๓ - ใบงำนที่
๑.๘
- ใบงำนที่ ๑.๔ - ใบงำนที่
๑.๙
- ใบงำนที่ ๑.๕ - ใบงำนที่
๑.๑๐
- ใบงำนที่ ๑.๖ - ใบงำนที่
๑.๑๑
- ใบงำนที่ ๑.๗ - ใบงำนที่
๑.๑๒
๑๔) ให้นักเรียนทำำแบบ
ทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑
15
๙. สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์เอม
พันธ์
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบกำรณ์ งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์เอม
พันธ์
๑๐. กำรบูรณำกำร
บูรณำกำรกับกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ได้แก่ ทักษะกำรเขียน
รำยงำน ทักษะกำรนำำเสนอรำยงำน
16
คำำชี้แจง : ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนตอบคำำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. กำรเป็นช่ำงที่ดีมีคุณภำพควรมีลักษณะอย่ำงไร
๒.เครื่องมือช่ำงพื้นฐำนประกอบด้วยอะไรบ้ำง
๓.ค้อนหัวกลมแตกต่ำงจำกค้อนหงอนช่ำงไม้อย่ำงไร
๔. หน้ำที่ของคีมล็อกคืออะไร
๕. ลักษณะของประแจแหวนปลำยผ่ำมีลักษณะอย่ำงไร
๖. หน้ำที่ของสกัดคืออะไร
๗. ปำกกำจับชิ้นงำนคืออะไร มีหน้ำที่อย่ำงไร
๘.ควำมแตกต่ำงระหว่ำงวงเวียนปลำยขอกับวงเวียนคู่ขนำนคืออะไร
๙.ภำยในบ้ำนประกอบด้วยงำนช่ำงอะไรบ้ำง
๑๐. วัสดุงำนกับวัสดุช่วยงำนคืออะไร
๑๑. วัสดุก่อสร้ำงประกอบด้วยอะไรบ้ำง
๑๒. กำรเก็บรักษำเชื้อเพลิงแก๊สมีวิธี
กำรอย่ำงไร
๑๓. จงยกตัวอย่ำงวัสดุที่เป็นตัวนำำ
ไฟฟ้ำและวัสดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้ำ
๑๔. พลำสติกมีกี่ชนิด อะไรบ้ำง
๑๕. วิธีกำรเก็บยำงเทียมและยำง
ธรรมชำติมีรำยละเอียดอย่ำงไร
คำำชี้แจง : ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเขียน  ล้อมรอบคำำตอบที่ถูกต้อง
๑. ควำมสำำคัญของงำนช่ำงมีลักษณะตรงกับข้อใด
ก. ช่วยทำำให้มีกำรเพิ่มรำยจ่ำย ข .
ไม่สำมำรถพึ่งพำตนเองได้
ค. ซ่อมโต๊ะเก้ำอี้และทำสีในบ้ำนได้ ง. ทำำให้รำยได้ลดน้อยลง
๒.เครื่องมือที่เรียกว่ำ ไขควง คือเครื่องมือชนิดใด
ก. เครื่องมือวัด ข. เครื่องมือธรรมดำ
ค. เครื่องมือกล ง. เครื่องมือพิเศษ
๓.เครื่องมือช่ำงชนิดใดที่ใช้สำำหรับไม่ให้ชิ้นงำนเกิดบุบหรือแตกร้ำว
มีหงอนไว้ถอน
17
ก. ค้อนหงอนช่ำงไม้ ข. ค้อนหัวกลม
ค. ค้อนยำง ง. ค้อนตะกั่ว
๔. เครื่องมือชนิดใดที่มีลักษณะปำกเรียวแหลม มีขนำดเล็กใช้กับงำน
พื้นที่ซอกแคบๆ
ก. คีมตัด ข. คีมล็อก
ค. คีมถอดแหวนล็อก ง. คีมปำกจิ้งจก
๕. อุปกรณ์ใดที่สร้ำงขึ้นมำเพื่อขันนอตกับสกรู
ก. คัตเตอร์ ข. ไขควง
ค. สิ่ว ง. ไม้ฟุตเหล็ก
๖. ประแจชนิดใดมีลักษณะเป็นแหวน ๒ ด้ำน สำมำรถปรับให้หมุน
ซ้ำยหรือขวำได้ นำำไปใช้ในงำน
โดยไม่ต้องถอดออก
ก. ประแจแหวนกรอกแกรก ข.ประแจแหวนปลำยผ่ำ
ค. ประแจแหวน ง. ประแจปำกตำย
๗. หน้ำที่ของสกัดคืออะไร
ก. ตัดและจับชิ้นงำน ข.ตัดและเฉือนชิ้นงำน
ค. เฉือนและเจำะชิ้นงำน ง. เจำะและตัดชิ้นงำน
๘.ลักษณะของวงเวียนคู่ขนำนคืออะไร
ก. เหล็กปลำยแหลม ๑ ชิ้นใช้กับควำมกว้ำงของงำน
ข. เหล็กปลำยแหลม ๒ ชิ้นใช้กับควำมกว้ำงของงำน
ค. เหล็กปลำยแหลม ๒ ชิ้นใช้กับควำมยำวของงำน
ง. เหล็กปลำยแหลม ๑ ชิ้นใช้กับควำมยำวของงำน
๙.ลักษณะของงำนไม้คือข้อใด
ก. ต่อท่อนำ้ำประปำ ข.ซ่อมจักรยำนยนต์
ค. ซ่อมบำำรุงรักษำเฟอร์นิเจอร์ ง. ฉำบปูนและก่ออิฐ
๑๐. ลักษณะของงำนไฟฟ้ำคืออะไร
ก. ออกแบบเขียนแบบ ข.ทำสีบ้ำน
ค. ซ่อมเตำรีดไฟฟ้ำ ง. ซ่อมประปำ
๑๑. ข้อใดเป็นลักษณะของวัสดุช่วยงำน
ก.นำ้ำ นำ้ำมัน นำ้ำมันหล่อลื่น ข.นำ้ำ จำระบี และกำว
ค.นำ้ำ ยำง นำ้ำมันหล่อลื่น ง. นำ้ำมันหล่อลื่น ผงสี นำ้ำ
18
๑๒. ข้อดีและข้อเสียของกาวคืออะไร
ก. ติดกาวแล้วมีนอตโผล่ ซ่อมแซมใหม่ได้ยาก
ข. ติดวัสดุต่างชนิดกันได้ แกะออกมาประกอบใหม่ได้ง่าย
ค. ติดวัสดุต่างชนิดกันได้ แกะออกมาประกอบใหม่ได้ยาก
ง. ติดกาวแล้วไม่มีนอตโผล่ ซ่อมแซมใหม่ได้ยาก
๑๓. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของสารหล่อลื่นที่ดี
ก. ได้จากการเอานำ้ามันดิบมากลั่น
ข. ทำาให้ลื่นและช่วยให้ติดผิววัสดุได้ดี
ค. ติดไฟง่ายและไม่ทำาปฏิกิริยาต่อชิ้นงาน
ง. มีความเข้มข้นใสอย่างพอเหมาะ ไม่เปลี่ยนแปลงง่ายเมื่อ
อุณหภูมิเปลี่ยน
๑๔. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของฟลินโคต
ก. อุดรอยร้าวได้ ข. ทำาให้เกิดสนิม
ค. ช่วยป้องกันการเกิดสนิม ง. ป้องกันการรั่วซึมได้ดี
๑๕. ข้อใดกล่าวถูกต้องในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสี
ก. สีที่แห้งช้าคือสีพลาสติก ข. ควรทาสีรองพื้นก่อน ก่อนที่จะ
ทาสีจริงทับ
ค. สีที่แห้งเร็วคือสีพลาสติก ง. สีแล็กเกอร์จะใช้ในบ้าน
๑๖. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของสี
ก. ผงสี ข. กาว
ค. ตัวถูกละลาย ง. ตัวทำาละลาย
๑๗. ถ้าต้องการเก็บยางไว้นานๆ ควรทำาตามในข้อใด
ก. นำายางมาแช่นำ้า ข. นำายางไปตากแห้ง
ค. นำายางมาคลุกกับแป้ง ง. นำายางไปผสมกับนำ้ามัน
๑๘. วัตถุดิบที่นำามาผลิตเป็นพลาสติกคืออะไร
ก. หินปูน นำ้ามันดิบ ซากสัตว์ ข. ถ่านหิน นำ้ามันดิบ นำ้า
ค. นำ้า อากาศ ยางเทียม ง. ใยพืช อากาศ กาว
๑๙. ข้อใดเป็นวัสดุฉนวนกันความร้อน
ก. กาว แก้ว ข. แก้ว พลาสติก
ค. เซรามิก ง. แก้ว เซรามิก
๒๐. โดยทั่วไปฟิวส์ทำามาจากอะไร
ก. ทองแดง ข. ตะกั่ว
19
ค. ทองคำา ง. เหล็ก
คำาชี้แจง : ตอนที่ ๓ ให้นักเรียนนำาตัวอักษรหน้าข้อความด้านขวา
มือ มาใส่ในช่องว่างหน้าข้อความ
ด้านซ้ายมือให้ถูกต้องและสัมพันธ์กัน
๑. ................ เทอร์โมพลาสติกก .
ตัวทำาละลาย
๒. ................ ถุงมือและพื้นรองเท้า
ข. ลดความร้อนและลดการ
๓. ................ ทำาหน้าที่ละลายผงสี
สึกหรอของชิ้นงาน
๔. ................ สีที่แห้งเร็ว ค. สีแล็ก
เกอร์
๕. ................ สารหล่อลื่น ง .
กาวสังเคราะห์
๖. ................ อีพอกซีและซิลิโคน
จ. ฟิวส์
๗. ................ ทนทานต่อนำ้า มันและ
สารเคมี ฉ. พลาสติกอ่อน
๘................. อุปกรณ์ป้องกันการ
ไหลเกินของกระแสไฟฟ้า ช.สวิตช์
๙. ................ อุปกรณ์ตัด-ต่อวงจร
ไฟฟ้า ซ. หินแปร
๑๐. ................ เกิดจากการผสมผสาน
ระหว่างหินชั้นกับหินอัคนี ฌ. ยางอ่อน
ญ. ยางสังเคราะห์
20
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
21
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(..................................
.............)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
ลงชื่อ...............................................................
22
(......................
......................................)
23

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่Beerza Kub
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทSittidet Nawee
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 

Was ist angesagt? (20)

ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 

Ähnlich wie แผนการเรียนรู้งานช่าง 1

เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...heemaa
 
แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221Surapong Jakang
 
การออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีการออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีkrunoommr
 
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯ
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯมาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯ
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯWittawas Kaewpradis
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01pannee
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีBoonlert Aroonpiboon
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology Tarn Takpit
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2Utsani Yotwilai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์yanee saechoeng
 
วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
สรุปนวัตกรรมบท1
สรุปนวัตกรรมบท1สรุปนวัตกรรมบท1
สรุปนวัตกรรมบท1O-mu Aomaam
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างsrkschool
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์mos44854
 

Ähnlich wie แผนการเรียนรู้งานช่าง 1 (20)

เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
 
แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221
 
การออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยีการออกแบบและเทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยี
 
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯ
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯมาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯ
มาตรฐานตัวชี้วัดการงานฯ
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรม
 
สรุปนวัตกรรมบท1
สรุปนวัตกรรมบท1สรุปนวัตกรรมบท1
สรุปนวัตกรรมบท1
 
K13
K13K13
K13
 
Subject
SubjectSubject
Subject
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่าง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

แผนการเรียนรู้งานช่าง 1

  • 1. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานช่าง ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ อิงแนวคิด Backward Design จำานวน..........หน่วยกิต เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ปี หน่วย การ เรียนรู้ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง ) ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานช่าง ๔ ๒ ความปลอดภัยในงานช่าง ๔ ๓ งานสีเบื้องต้น ๔ ๔ งานไม้เบื้องต้น ๔ ๕ งานแก๊สเบื้องต้น ๓ สอบกลางภาค/สอบปลายภาค ๑ รวม ๒๐ ภาพรวม (Big Idea) 1
  • 2. โครงสร้างการจัดการเรียนรู้ วิชา งานช่าง ๑ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2 งาน ช่าง ๑ - ความหมาย ความ สำาคัญ และ ประโยชน์ของงาน ช่าง - เครื่องมือช่าง - เครื่องมือ การใช้ งานและ การบำารุงรักษาใน งานช่าง - ลักษณะของงาน ช่าง - วัสดุช่างพื้นฐาน - วัสดุก่อสร้าง - วัสดุเชื้อเพลิง - วัสดุไฟฟ้า - วัสดุช่างประเภท อื่น ๑ ความรู้ เบื้องต้น เกี่ยวกับ งานช่าง ๒ ความ ปลอดภัย ในงาน ช่าง๓ งานสีเบื้อง ต้น ๔ งานไม้ เบื้องต้น ๕ งานแก๊ส เบื้องต้น - ความปลอดภัยใน การปฏิบัติ งานช่าง - กฎความปลอดภัย - สาเหตุที่ทำาให้เกิด อันตราย จากการทำางาน - แนวทางในการ ปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัย - การป้องกัน อุบัติเหตุ - หลักความปลอดภัย ในการ ปฏิบัติงานช่าง - การปฐมพยาบาล เบื้องต้น ในงานช่าง - แก๊สธรรมชาติและ แก๊สหุงต้ม - คุณสมบัติพื้นฐานของ แก๊ส - คุณสมบัติของแก๊ส ธรรมชาติ - ถังแก๊สหุงต้ม - ส่วนประกอบของ อุปกรณ์ หุงต้มที่ใช้แก๊ส - ความปลอดภัยและข้อ ควร ปฏิบัติในงานระบบ แก๊ส เบื้องต้น - การใช้แก๊สหุงต้ม - การป้องกันอัคคีภัยที่ เกิดจากแก๊ส - เทคนิควิธีการใช้แก๊ส หุงต้มอย่าง ประหยัดและปลอดภัย - ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธี ลดอัคคีภัย ในบ้าน - ความสำาคัญของ งานไม้ - โครงสร้างของไม้ - การจำาแนกชนิด ของไม้ - ชนิดของไม้ที่นิยม ใช้ - การเลือกไม้ที่มี คุณภาพและ เหมาะสม - ตำาหนิของไม้ที่ไม่ ควรซื้อ หรือหลีกเลี่ยง - ผลิตภัณฑ์จากไม้ - เครื่องมือช่างไม้ ประจำาบ้าน - เครื่องมือกลที่ใช้ ในงานไม้ - เบื้องต้นของ การนำาไม้มา ต่อกันและการนำา ไม้มาเข้ากัน - ความปลอดภัยใน การปฏิบัติ งานสี - อุปกรณ์ที่ใช้ใน การปฏิบัติ งานสี - ขั้นตอนที่ควรรู้ใน การทาสี บ้านใหม่ - สีที่ใช้สำาหรับงาน ไม้ - สีที่ใช้สำาหรับงาน โลหะ - การเตรียมพื้นผิว เพื่อการทาสี - เทคนิคการเลือกสี ทาบ้าน - ส่วนประกอบของสี ทาบ้าน - การแบ่งประเภท ของสี - การจำาแนก วัตถุประสงค์ของ สีกับการใช้งาน - แนวคิดในการ เลือกใช้สี - การทาสีผนังด้วย แปรงทาสี - เทคนิคในการทาสี - เตรียมห้องให้ พร้อมก่อนทาสี ใหม่ - การเลือกใช้สีให้ เหมาะกับ ห้องต่างๆ ภายใน บ้าน - การสร้างลวยลาย ด้วยสี
  • 3. จำานวน...........หน่วยกิต เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ปี แผน ที่ ชื่อแผนการจัดการ เรียนรู้ เป้าหมายการเรียนรู้ จำานว น (ชั่วโ มง) ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว กับงานช่าง ๑. ความหมาย ความสำาคัญ และประโยชน์ของงาน ช่าง ๒. เครื่องมือช่าง ๓. เครื่องมือ การใช้งาน และ การบำารุง รักษาในงาน ช่าง ๔. ลักษณะของงานช่าง ๕. วัสดุช่างพื้นฐาน ๖. วัสดุก่อสร้าง ๗. วัสดุเชื้อเพลิง ๘. วัสดุไฟฟ้า ๙. วัสดุช่างประเภทอื่นๆ ๔ ๒ ความปลอดภัยในงาน ช่าง ๑. ความปลอดภัยในการ ปฏิบัติงานช่าง ๒. กฎความปลอดภัย ๓. สาเหตุที่ทำาให้เกิดอันตราย จากการทำางาน ๔. แนวทางในการปฏิบัติ งานเพื่อให้เกิด ความปลอดภัย ๕. การป้องกันอุบัติเหตุ ๖. หลักความปลอดภัยในการ ปฏิบัติงานช่าง ๗. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ๔ 3
  • 4. ในงานช่าง แผน ที่ ชื่อแผนการจัดการ เรียนรู้ เป้าหมายการเรียนรู้ จำานว น (ชั่วโ มง) ๓ งานสีเบื้องต้น ๑. ความปลอดภัยในการ ปฏิบัติงานสี ๒. อุปกรณ์ที่ใช้ในการ ปฏิบัติงานสี ๓. ขั้นตอนที่ควรรู้ในการ ทาสีบ้านใหม่ ๔. สีที่ใช้สำาหรับงานไม้ ๕. สีที่ใช้สำาหรับงานโลหะ ๖. การเตรียมพื้นผิวเพื่อการ ทาสี ๗. เทคนิคการเลือกสี ทาบ้าน ๘. ส่วนประกอบของสีทา บ้าน ๙. การแบ่งประเภทของสี ๑๐. การจำาแนก วัตถุประสงค์ของสีกับ การใช้งาน ๑๑. แนวคิดในการเลือก ใช้สี ๑๒. การทาสีผนังด้วย แปรงทาสี ๑๓. เทคนิคในการทาสี ๑๔. เตรียมห้องให้ ๔ 4
  • 5. พร้อมก่อนทาสีใหม่ ๑๕. การเลือกใช้สีให้ เหมาะสมกับ ห้องต่างๆ ภายในบ้าน ๑๖. การสร้างลวยลาย ด้วยสี ๔ งานไม้เบื้องต้น ๑. ความสำาคัญของ งานไม้ ๒. โครงสร้างของไม้ ๓. การจำาแนกชนิดของไม้ ๔. ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ ๕. การเลือกไม้ที่มีคุณภาพ และเหมาะสม ๖. ตำาหนิของไม้ที่ไม่ควรซื้อ หรือหลีกเลี่ยง ๗. ผลิตภัณฑ์จากไม้ ๘. เครื่องมือช่างไม้ประจำา บ้าน ๔ แผน ที่ ชื่อแผนการจัดการ เรียนรู้ เป้าหมายการเรียนรู้ จำานว น (ชั่วโ มง) ๙. เครื่องมือกลที่ใช้ในงาน ไม้ ๑๐. เบื้องต้นของการนำา ไม้มาต่อกันและการนำาไม้ มาเข้ากัน ๕ งานแก๊สเบื้องต้น ๑. แก๊สธรรมชาติและ แก๊สหุงต้ม ๒. คุณสมบัติพื้นฐานของ แก๊ส ๓. คุณสมบัติของแก๊ส ๓ 5
  • 6. ธรรมชาติ ๔. ถังแก๊สหุงต้ม ๕. ส่วนประกอบของอุปกรณ์ หุงต้มที่ใช้แก๊ส ๖. ความปลอดภัยและข้อควร ปฏิบัติในงานระบบแก๊ส เบื้องต้น ๗. การใช้แก๊สหุงต้ม ๘. การป้องกันอัคคีภัยที่เกิด จากแก๊ส ๙.เทคนิควิธีการใช้แก๊ส หุงต้มอย่างประหยัดและ ปลอดภัย ๑๐. ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูก วิธี ลดอัคคีภัยในบ้าน สอบกลางภาค/ปลายภาค ๑ รวม ๒๐ การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบ Backward Design กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานช่าง ๑ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๔ ชั่วโมง 6
  • 7. หัวเรื่อง /Theme / หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับงานช่าง ๑. การกำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ๑. ความหมาย ความสำาคัญ และประโยชน์ของงานช่าง ๒.เครื่องมือช่าง ๓.เครื่องมือ การใช้งาน และการบำารุงรักษาในงานช่าง ๔. ลักษณะของงานช่าง ๕. วัสดุช่างพื้นฐาน ๖. วัสดุก่อสร้าง ๗. วัสดุเชื้อเพลิง ๘.วัสดุไฟฟ้า ๙.วัสดุช่างประเภทอื่นๆ ผัง (Big Idea) ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมาย มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร 7 ความรู้ เบื้องต้น เกี่ยวกับ งานช่าง เครื่องมือ ช่าง เครื่องมือ การใช้ งาน และการ บำารุงรักษาในงาน ช่าง ความหมาย ความ สำาคัญ และ ประโยชน์ของ งานช่าง ลักษณะของ งานช่าง วัสดุช่าง พื้นฐาน วัสดุ ไฟฟ้า วัสดุช่างประ เภทอื่นๆ วัสดุเชื้อ เพลิง วัสดุ ก่อสร้าง
  • 8. และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต และครอบครัว ๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล ๔. เป้าหมายการเรียนรู้ ๑. ความเข้าใจที่คงทน ในการดำารงชีวิตประจำาวันของมนุษย์ มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ กันกับงานช่าง ไม่ว่าจะเป็นงานไม้ งานปูน งานไฟฟ้า งานโลหะ งานประปา เป็นต้น ซึ่งงานช่างดังกล่าว ทำาให้ชีวิตและความเป็นอยู่มีความ สะดวกสบายมากขึ้น ประเทศชาติจะพัฒนาได้ก็ต้องอาศัยงานช่างเป็น องค์ประกอบอยู่เสมอ งานช่างจึง เปรียบได้ว่าเป็นงานที่สร้างผลผลิตให้กับปัจจัยพื้นฐานในการดำารง ชีวิตของมนุษย์ช่วยให้มนุษย์อยู่รอด ในสังคมได้ ๒.จิตพิสัย ๑)การมีความสุขในการเรียนรู้ ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง ๓.สมรรถนะสำาคัญของนักเรียน ๑)ความสามารถในการสื่อสาร ๒)ความสามารถในการคิด ๓)ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔)ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๕)ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑)รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒)ซื่อสัตย์สุจริต ๓)มีวินัย 8
  • 9. ๔)ใฝ่เรียนรู้ ๕)อยู่อย่างพอเพียง ๖)มุ่งมั่นในการทำางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘)มีจิตสาธารณะ ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา ๑)รู้และเข้าใจความหมาย ความสำาคัญ และประโยชน์ของงาน ช่าง ๒)บอกลักษณะของเครื่องมือช่างได้ถูกต้อง ๓)บอกวิธีการใช้เครื่องมือและการบำารุงรักษาในงานช่างได้ ๔)จำาแนกลักษณะของงานช่างได้ ๕)บอกวัสดุช่างพื้นฐานที่ใช้ในงานช่างได้ ๖) อธิบายถึงวัสดุก่อสร้างที่ใช้ในงานช่างพื้นฐานได้ ๗) บอกวิธีการเก็บรักษาเชื้อเพลิงแก๊สอย่างปลอดภัยได้ ๘)จำาแนกวัสดุตัวนำาออกจากวัสดุที่เป็นฉนวนในงานไฟฟ้าได้ ๙) บอกบทบาทหน้าที่ของพลาสติก ยาง สี กาว และสารหล่อ ลื่นได้ ๖.ทักษะคร่อมวิชา ๑)การเขียนรายงาน ความสำาคัญและประโยชน์ของงาน ช่าง ๒) การนำาเสนอบอกวิธีการเก็บรักษาเชื้อ เพลิงแก๊สอย่างปลอดภัย ๓) ทักษะการทำางานกลุ่ม กระบวนการ ทำางานเป็นกลุ่มร่วมกัน 9
  • 10. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ วิชา งานช่าง ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานช่าง เวลา ๔ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ ความหมาย ความสำาคัญ และประโยชน์ของงานช่าง เครื่องมือ ช่าง เครื่องมือ การใช้งาน และ การบำารุงรักษาในงานช่าง ลักษณะของงานช่าง วัสดุช่างพื้นฐาน วัสดุ ก่อสร้าง วัสดุเชื้อเพลง วัสดุไฟฟ้า วัสดุช่างประเภทอื่น ๒.สาระสำาคัญ ในการดำารงชีวิตประจำาวันของมนุษย์ มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน กับงานช่าง ไม่ว่าจะเป็นงานไม้ งานปูน งานไฟฟ้า งานโลหะ งานประปา เป็นต้น ซึ่งงานช่างดังกล่าว ทำาให้ชีวิตและความเป็นอยู่มีความ สะดวกสบายมากขึ้น ประเทศชาติจะพัฒนาได้ก็ต้องอาศัยงานช่างเป็น องค์ประกอบอยู่เสมอ งานช่างจึง เปรียบได้ว่าเป็นงานที่สร้างผลผลิตให้กับปัจจัยพื้นฐานในการดำารง ชีวิตของมนุษย์ช่วยให้มนุษย์อยู่รอด ในสังคมได้ ๓.มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต และครอบครัว ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ 10
  • 11. ๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. ความหมาย ความสำาคัญ และประโยชน์ของงานช่าง ๒.เครื่องมือช่าง ๓.เครื่องมือ การใช้งาน และการบำารุงรักษาในงานช่าง ๔. ลักษณะของงานช่าง ๕. วัสดุช่างพื้นฐาน ๖. วัสดุก่อสร้าง ๗. วัสดุเชื้อเพลิง ๘.วัสดุไฟฟ้า ๙.วัสดุช่างประเภทอื่นๆ ๕.จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ ความ เข้าใจ P (Practice) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ๑.รู้และเข้าใจความ หมาย ความสำาคัญ และประโยชน์ของ งานช่าง ๒.บอกลักษณะของ เครื่องมือช่างได้ถูก ต้อง ๓.บอกวิธีการใช้ เครื่องมือและการ บำารุงรักษาในงาน ช่างได้ ๔.จำาแนกลักษณะของ งานช่างได้ ๕.บอกวัสดุช่างพื้น ฐานที่ใช้ ในงานช่างได้ ๖.อธิบายถึงวัสดุ ๑. รู้จักความหมาย ความสำาคัญ และ ประโยชน์ของงาน ช่าง ๒. สามารถบอก ลักษณะของเครื่อง มือช่างได้ถูกต้อง ๓. สามารถบอกวิธีการ ใช้เครื่องมือ และการ บำารุงรักษาในงาน ช่างได้ ๔. สามารถจำาแนก ลักษณะของงานช่าง ได้ ๕. รู้จักวัสดุช่างพื้น ฐานที่ใช้ ในงานช่างได้ ๑.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔.ใฝ่เรียนรู้ ๕.อยู่อย่างพอเพียง ๖.มุ่งมั่นในการ ทำางาน ๗. รัก ความเป็นไทย ๘. มีจิต สาธารณะ 11
  • 12. ก่อสร้างที่ใช้ใน งานช่างพื้นฐานได้ ๗. บอกวิธีการ เก็บรักษาเชื้อเพลิง แก๊สอย่างปลอดภัย ได้ ๘. จำาแนกวัสดุตัวนำา ออกจากวัสดุที่เป็น ฉนวนในงาน ไฟฟ้าได้ ๙. บอกบทบาท หน้าที่ของ พลาสติก ยาง สี กาว และสารหล่อ ลื่นได้ ๖. รู้จักวัสดุก่อสร้างที่ ใช้ในงานช่างพื้น ฐานได้ ๗. สามารถบอกวิธี การเก็บรักษาเชื้อ เพลิงแก๊สอย่าง ปลอดภัยได้ ๘. สามารถจำาแนก วัสดุตัวนำา ออกจากวัสดุที่เป็น ฉนวน ในงานไฟฟ้าได้ ๙. สามารถบอกบท บาทหน้าที่ ของพลาสติก ยาง สี กาว และสารหล่อลื่น ได้ ๖.การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑)แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒)แบบทดสอบ ๓)ใบงาน ๔)แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕)แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖)แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒.วิธีวัดผล ๑)ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒)ตรวจแบบทดสอบ ๓)ตรวจใบงาน ๔)สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕)สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖)สังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓.เกณฑ์การวัดและประเมินผล 12
  • 13. ๑)สำำหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่ำน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบกับ คะแนนที่ได้จำกกำรทดสอบหลังเรียน ๒)กำรประเมินผลจำกแบบทดสอบ ต้องผ่ำนเกณฑ์กำรทดสอบ เกินร้อยละ ๕๐ ๓)กำรประเมินจำกแบบตรวจใบงำน ต้องผ่ำนเกณฑ์กำร ประเมิน เรื่องควำมรู้ควำมเข้ำใจ กำรนำำไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๔)กำรประเมินผลจำกกำรสังเกตพฤติกรรมกำรทำำงำนกลุ่ม ต้อง ผ่ำนเกณฑ์กำรประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕)กำรประเมินผลกำรสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล เกณฑ์ผ่ำนกำร ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๖)กำรประเมินผลกำรสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้น อยู่กับกำรประเมินตำม สภำพจริง ๗) กำรประเมินผลกำรสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ กำรประเมินตำมสภำพจริง ๗. หลักฐำน/ผลงำน ๑. ผลกำรทำำแบบทดสอบ ๒. ผลกำรทำำใบงำน ๘.กิจกรรมกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนำำเข้ำสู่บทเรียน ๑) นักเรียนรับฟังคำำชี้แจง วิชำ งำนช่ำง ๑ เรื่องเวลำเรียนและกำร วัดและประเมินผล เนื้อหำสำระควำมรู้ นักเรียนซักถำมข้อ ปัญหำ รวมทั้งกำรแสดงควำมคิดเห็นเกี่ยวกับกำรเรียนวิชำนี้ ๒)ครูชี้แจงวิธีกำรประเมินสมรรถนะของนักเรียนและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของนักเรียนว่ำ จะต้องทำำควบคู่กับกระบวนกำรทำำกิจกรรมกลุ่ม และครูจะดู พัฒนำกำรของนักเรียนไปตลอด ภำคกำรศึกษำ ๓)ครูชี้แจงกำำหนดค่ำระดับคะแนน ตำมเกณฑ์ดังนี้ 13
  • 14. คะแนนร้อยละ ๘๐-๑๐๐ ได้เกรด ๔ คะแนนร้อยละ ๗๕-๗๙ ได้เกรด ๓.๕ คะแนนร้อยละ ๗๐-๗๔ ได้เกรด ๓ คะแนนร้อยละ ๖๕-๖๙ ได้เกรด ๒.๕ คะแนนร้อยละ ๖๐-๖๔ได้เกรด ๒ คะแนนร้อยละ ๕๕-๕๙ ได้เกรด ๑.๕ คะแนนร้อยละ ๕๐-๕๔ได้เกรด ๑ คะแนนร้อยละ ๐-๔๙ ได้เกรด ๐ ขั้นสอน ๔) ครูอธิบำยเนื้อหำสำระสำำคัญ เรื่อง ควำมหมำย ควำมสำำคัญ และ ประโยชน์ของงำนช่ำง เครื่องมือช่ำง จำกหนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์ เอมพันธ์ ๕) ให้นักเรียนซักถำมในเรื่องที่ไม่เข้ำใจ ครูสุ่มถำมให้ นักเรียนตอบ ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้ ขั้นสรุปและกำรประยุกต์ ๖) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำำคัญเรื่อง ควำมหมำย ควำม สำำคัญ และประโยชน์ของงำนช่ำง เครื่องมือช่ำง เพื่อให้เข้ำใจร่วมกัน ครูสังเกตสมรรถนะของ นักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗) นักเรียนทำำกิจกรรม หรือใบงำนตำมที่ครูแนะนำำดังนี้ - ใบงำนที่ ๑.๑ - ใบงำนที่ ๑.๒ ชั่วโมงที่ ๒-๔ ขั้นนำำเข้ำสู่บทเรียน ๘)ครูทบทวนเรื่อง ควำมหมำย ควำมสำำคัญและประโยชน์ของงำน ช่ำง เครื่องมือช่ำง ขั้นสอน ๙)ครูอธิบำยเรื่องเครื่องมือในงำนช่ำงต่ำงๆ กำรใช้งำนและกำร บำำรุงรักษำลักษณะของงำนช่ำงประเภทต่ำงๆ วัสดุช่ำงพื้นฐำน วัสดุก่อสร้ำง วัสดุเชื้อเพลิง วัสดุไฟฟ้ำ วัสดุช่ำงประเภทอื่น 14
  • 15. จำกหนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์ เอมพันธ์ ๑๐) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ศึกษำค้นคว้ำหำควำมรู้ เรื่อง เครื่องมือในงำนช่ำงต่ำงๆ กำรใช้งำนและกำรบำำรุงรักษำ ลักษณะของงำนช่ำงประเภท ต่ำงๆ วัสดุช่ำงพื้นฐำน วัสดุก่อสร้ำง วัสดุเชื้อเพลิง วัสดุไฟฟ้ำ วัสดุช่ำงประเภทอื่นๆ จำกหนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ เอกสำร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ นำำผลงำนที่ได้มำ ร่วมกันอภิปรำยวิเครำะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนำำเสนอหน้ำชั้น ขั้นสรุปและกำรประยุกต์ ๑๑) ครูแนะนำำเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงำนที่นักเรียนนำำเสนอ ๑๒) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำำคัญ เรื่อง เครื่องมือใน งำนช่ำงต่ำงๆ กำรใช้งำนและ กำรบำำรุงรักษำ ลักษณะของงำนช่ำงประเภทต่ำงๆ วัสดุช่ำงพื้น ฐำน วัสดุก่อสร้ำง วัสดุเชื้อเพลิง วัสดุไฟฟ้ำ วัสดุช่ำงประเภทอื่นๆ เพื่อให้เข้ำใจร่วมกัน ครู สังเกตสมรรถนะของนักเรียนและ สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑๓)นักเรียนทำำกิจกรรมหรือใบงำนตำมที่ครูแนะนำำดังนี้ - ใบงำนที่ ๑.๓ - ใบงำนที่ ๑.๘ - ใบงำนที่ ๑.๔ - ใบงำนที่ ๑.๙ - ใบงำนที่ ๑.๕ - ใบงำนที่ ๑.๑๐ - ใบงำนที่ ๑.๖ - ใบงำนที่ ๑.๑๑ - ใบงำนที่ ๑.๗ - ใบงำนที่ ๑.๑๒ ๑๔) ให้นักเรียนทำำแบบ ทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ 15
  • 16. ๙. สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์เอม พันธ์ ๒. หนังสือเสริมฝึกประสบกำรณ์ งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์เอม พันธ์ ๑๐. กำรบูรณำกำร บูรณำกำรกับกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ได้แก่ ทักษะกำรเขียน รำยงำน ทักษะกำรนำำเสนอรำยงำน 16
  • 17. คำำชี้แจง : ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนตอบคำำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ๑. กำรเป็นช่ำงที่ดีมีคุณภำพควรมีลักษณะอย่ำงไร ๒.เครื่องมือช่ำงพื้นฐำนประกอบด้วยอะไรบ้ำง ๓.ค้อนหัวกลมแตกต่ำงจำกค้อนหงอนช่ำงไม้อย่ำงไร ๔. หน้ำที่ของคีมล็อกคืออะไร ๕. ลักษณะของประแจแหวนปลำยผ่ำมีลักษณะอย่ำงไร ๖. หน้ำที่ของสกัดคืออะไร ๗. ปำกกำจับชิ้นงำนคืออะไร มีหน้ำที่อย่ำงไร ๘.ควำมแตกต่ำงระหว่ำงวงเวียนปลำยขอกับวงเวียนคู่ขนำนคืออะไร ๙.ภำยในบ้ำนประกอบด้วยงำนช่ำงอะไรบ้ำง ๑๐. วัสดุงำนกับวัสดุช่วยงำนคืออะไร ๑๑. วัสดุก่อสร้ำงประกอบด้วยอะไรบ้ำง ๑๒. กำรเก็บรักษำเชื้อเพลิงแก๊สมีวิธี กำรอย่ำงไร ๑๓. จงยกตัวอย่ำงวัสดุที่เป็นตัวนำำ ไฟฟ้ำและวัสดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้ำ ๑๔. พลำสติกมีกี่ชนิด อะไรบ้ำง ๑๕. วิธีกำรเก็บยำงเทียมและยำง ธรรมชำติมีรำยละเอียดอย่ำงไร คำำชี้แจง : ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเขียน  ล้อมรอบคำำตอบที่ถูกต้อง ๑. ควำมสำำคัญของงำนช่ำงมีลักษณะตรงกับข้อใด ก. ช่วยทำำให้มีกำรเพิ่มรำยจ่ำย ข . ไม่สำมำรถพึ่งพำตนเองได้ ค. ซ่อมโต๊ะเก้ำอี้และทำสีในบ้ำนได้ ง. ทำำให้รำยได้ลดน้อยลง ๒.เครื่องมือที่เรียกว่ำ ไขควง คือเครื่องมือชนิดใด ก. เครื่องมือวัด ข. เครื่องมือธรรมดำ ค. เครื่องมือกล ง. เครื่องมือพิเศษ ๓.เครื่องมือช่ำงชนิดใดที่ใช้สำำหรับไม่ให้ชิ้นงำนเกิดบุบหรือแตกร้ำว มีหงอนไว้ถอน 17
  • 18. ก. ค้อนหงอนช่ำงไม้ ข. ค้อนหัวกลม ค. ค้อนยำง ง. ค้อนตะกั่ว ๔. เครื่องมือชนิดใดที่มีลักษณะปำกเรียวแหลม มีขนำดเล็กใช้กับงำน พื้นที่ซอกแคบๆ ก. คีมตัด ข. คีมล็อก ค. คีมถอดแหวนล็อก ง. คีมปำกจิ้งจก ๕. อุปกรณ์ใดที่สร้ำงขึ้นมำเพื่อขันนอตกับสกรู ก. คัตเตอร์ ข. ไขควง ค. สิ่ว ง. ไม้ฟุตเหล็ก ๖. ประแจชนิดใดมีลักษณะเป็นแหวน ๒ ด้ำน สำมำรถปรับให้หมุน ซ้ำยหรือขวำได้ นำำไปใช้ในงำน โดยไม่ต้องถอดออก ก. ประแจแหวนกรอกแกรก ข.ประแจแหวนปลำยผ่ำ ค. ประแจแหวน ง. ประแจปำกตำย ๗. หน้ำที่ของสกัดคืออะไร ก. ตัดและจับชิ้นงำน ข.ตัดและเฉือนชิ้นงำน ค. เฉือนและเจำะชิ้นงำน ง. เจำะและตัดชิ้นงำน ๘.ลักษณะของวงเวียนคู่ขนำนคืออะไร ก. เหล็กปลำยแหลม ๑ ชิ้นใช้กับควำมกว้ำงของงำน ข. เหล็กปลำยแหลม ๒ ชิ้นใช้กับควำมกว้ำงของงำน ค. เหล็กปลำยแหลม ๒ ชิ้นใช้กับควำมยำวของงำน ง. เหล็กปลำยแหลม ๑ ชิ้นใช้กับควำมยำวของงำน ๙.ลักษณะของงำนไม้คือข้อใด ก. ต่อท่อนำ้ำประปำ ข.ซ่อมจักรยำนยนต์ ค. ซ่อมบำำรุงรักษำเฟอร์นิเจอร์ ง. ฉำบปูนและก่ออิฐ ๑๐. ลักษณะของงำนไฟฟ้ำคืออะไร ก. ออกแบบเขียนแบบ ข.ทำสีบ้ำน ค. ซ่อมเตำรีดไฟฟ้ำ ง. ซ่อมประปำ ๑๑. ข้อใดเป็นลักษณะของวัสดุช่วยงำน ก.นำ้ำ นำ้ำมัน นำ้ำมันหล่อลื่น ข.นำ้ำ จำระบี และกำว ค.นำ้ำ ยำง นำ้ำมันหล่อลื่น ง. นำ้ำมันหล่อลื่น ผงสี นำ้ำ 18
  • 19. ๑๒. ข้อดีและข้อเสียของกาวคืออะไร ก. ติดกาวแล้วมีนอตโผล่ ซ่อมแซมใหม่ได้ยาก ข. ติดวัสดุต่างชนิดกันได้ แกะออกมาประกอบใหม่ได้ง่าย ค. ติดวัสดุต่างชนิดกันได้ แกะออกมาประกอบใหม่ได้ยาก ง. ติดกาวแล้วไม่มีนอตโผล่ ซ่อมแซมใหม่ได้ยาก ๑๓. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของสารหล่อลื่นที่ดี ก. ได้จากการเอานำ้ามันดิบมากลั่น ข. ทำาให้ลื่นและช่วยให้ติดผิววัสดุได้ดี ค. ติดไฟง่ายและไม่ทำาปฏิกิริยาต่อชิ้นงาน ง. มีความเข้มข้นใสอย่างพอเหมาะ ไม่เปลี่ยนแปลงง่ายเมื่อ อุณหภูมิเปลี่ยน ๑๔. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของฟลินโคต ก. อุดรอยร้าวได้ ข. ทำาให้เกิดสนิม ค. ช่วยป้องกันการเกิดสนิม ง. ป้องกันการรั่วซึมได้ดี ๑๕. ข้อใดกล่าวถูกต้องในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสี ก. สีที่แห้งช้าคือสีพลาสติก ข. ควรทาสีรองพื้นก่อน ก่อนที่จะ ทาสีจริงทับ ค. สีที่แห้งเร็วคือสีพลาสติก ง. สีแล็กเกอร์จะใช้ในบ้าน ๑๖. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของสี ก. ผงสี ข. กาว ค. ตัวถูกละลาย ง. ตัวทำาละลาย ๑๗. ถ้าต้องการเก็บยางไว้นานๆ ควรทำาตามในข้อใด ก. นำายางมาแช่นำ้า ข. นำายางไปตากแห้ง ค. นำายางมาคลุกกับแป้ง ง. นำายางไปผสมกับนำ้ามัน ๑๘. วัตถุดิบที่นำามาผลิตเป็นพลาสติกคืออะไร ก. หินปูน นำ้ามันดิบ ซากสัตว์ ข. ถ่านหิน นำ้ามันดิบ นำ้า ค. นำ้า อากาศ ยางเทียม ง. ใยพืช อากาศ กาว ๑๙. ข้อใดเป็นวัสดุฉนวนกันความร้อน ก. กาว แก้ว ข. แก้ว พลาสติก ค. เซรามิก ง. แก้ว เซรามิก ๒๐. โดยทั่วไปฟิวส์ทำามาจากอะไร ก. ทองแดง ข. ตะกั่ว 19
  • 20. ค. ทองคำา ง. เหล็ก คำาชี้แจง : ตอนที่ ๓ ให้นักเรียนนำาตัวอักษรหน้าข้อความด้านขวา มือ มาใส่ในช่องว่างหน้าข้อความ ด้านซ้ายมือให้ถูกต้องและสัมพันธ์กัน ๑. ................ เทอร์โมพลาสติกก . ตัวทำาละลาย ๒. ................ ถุงมือและพื้นรองเท้า ข. ลดความร้อนและลดการ ๓. ................ ทำาหน้าที่ละลายผงสี สึกหรอของชิ้นงาน ๔. ................ สีที่แห้งเร็ว ค. สีแล็ก เกอร์ ๕. ................ สารหล่อลื่น ง . กาวสังเคราะห์ ๖. ................ อีพอกซีและซิลิโคน จ. ฟิวส์ ๗. ................ ทนทานต่อนำ้า มันและ สารเคมี ฉ. พลาสติกอ่อน ๘................. อุปกรณ์ป้องกันการ ไหลเกินของกระแสไฟฟ้า ช.สวิตช์ ๙. ................ อุปกรณ์ตัด-ต่อวงจร ไฟฟ้า ซ. หินแปร ๑๐. ................ เกิดจากการผสมผสาน ระหว่างหินชั้นกับหินอัคนี ฌ. ยางอ่อน ญ. ยางสังเคราะห์ 20
  • 21. บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 21
  • 22. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (.................................. .............) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบ หมาย ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ลงชื่อ............................................................... 22