SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 63
ปจจัยพื้นฐานโดยทั่วไป
• เนนการที่วิเคราะหที่เกี่ยวกับ
–วิเคราะหปจจัยที่เปนตัวกําหนด
–อัตราผลตอบแทน
–ความเสี่ยงจากการลงทุน
–มูลคาของหลักทรัพย
ปจจัยพื้นฐานโดยทั่วไป
• ปจจัยพื้นฐานโดยทั่วไปขึ้นอยูกับ
- ปจจัยดานภาวะเศรษฐกิจ
-ปจจัยดานภาวะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ และ
-ปจจัยที่เกี่ยวกับผลการดําเนินงาน รวมทั้งฐานะทาง
เงินของบริษัท ผูออกหลักทรัพย
ปจจัยพื้นฐานโดยทั่วไป
ปจจัยพื้นฐาน
ปจจัยพื้นฐานดานบริษัท
ปจจัยพื้นฐานดานกลมอตสาหกรรม
ปจจัยพื้นฐานดานเศรษฐกิจ
ปจจัยดานเศรษฐกิจ
การวิเคราะหปจจัยดานเศรษฐกิจมีความจําเปน เนื่องจากสามารถ
ที่จะนําไปคาดการณทิศทางการขยายตัวของเศรษฐกิจ เพื่อกําหนด
อุตสาหกรรมที่คาดวาจะไดรับผลประโยชนจากการขยายตัวของเศรษฐกิจ
ทายที่สุดก็จะสามารถเลือกบริษัทที่ควรลงทุนในอุตสาหกรรมนั้นได
ฉะนั้นจะเห็นไดวา...ปจจัยดานเศรษฐกิจถือเปนปจจัยพื้นฐานของ
ปจจัยทั้งหมด
ปจจัยดานเศรษฐกิจ
ปจจัยดานเศรษฐกิจโลก
เนื่องจากในปจจุบันมีการติดตอระหวางกันที่มากยิ่งขึ้น และแตละ
ประเทศเปดกวางตอกันมากยิ่งขึ้น ดังนั้นยอมเกิดผลกระทบโดยทั่วไป การ
ที่เรารับรูขาวเกี่ยวกับเศรษฐกิจโลกของแตละประเทศก็ทําใหเรารับรูปญหา
ไดเร็วขึ้น และมีจัดการปญหาตางๆไดอยางรวดเร็ว
ปจจัยดานเศรษฐกิจ
ตัวอยาง ปญหาเศรษฐกิจโลก ที่ไดรับผลกระทบโดยทั่วไป
สาธารณรัฐไซปรัส แมจะเปนประเทศเล็กๆก็ตาม แตมีกรณีศึกษา
หลากหลายดานทั้งการคา การเงินและการลงทุนระหวางประเทศ ดานการลงทุน
ไซปรัสไดมีการปฏิรูปนโยบายการลงทุนและกลายเปนศูนยกลางธุรกิจนานาชาติที่
สําคัญเศรษฐีชาวรัสเซียและยุโรปกลางและตะวันออกขนเงินมาฝากไวในธนาคารที่
ไซปรัส เพราะใหผลตอบแทนที่สูงและไมมีการตรวจสอบแหลงที่มาของเงิน แต
ปจจุบันดวยผลกระทบจากวิกฤติของระบบธนาคารพาณิชยและระบบการเงินของ
สหภาพยุโรป ในกลางป 2555 รัฐบาลไซปรัสประกาศวาตองกู 1.8 พันลานยูโรเพื่อ
กอบกู 1 ธนาคารและในอีกไมกี่เดือนถัดมาตองกูอีกถึง 4 พันลานยูโร เพื่อชวย
ธนาคารใหญ 3 แหงที่ไดรับผลกระทบ
ปจจัยดานเศรษฐกิจ
ตัวอยาง ปญหาเศรษฐกิจโลก (ตอ)
ทางออกของไซปรัสมีทางเลือกทั้งหมด 3 ทาง
• การหยุดพักชําระหนี้ธนาคารพาณิชยลมละลาย และออกจากระบบ
เงินยูโรซึ่งจะเปนเรื่องใหญมาก
• เจรจากับ 3 ฝาย คือ สหภาพยุโรป ธนาคารกลาง
ยุโรป และ IMF เพื่อขอเงินกูแตตองกัดฟนเก็บภาษีพิเศษหักจาก
เงินฝากของประชาชนในธนาคาร เพื่อใหมีเงินกนถุง
• ขอความชวยเหลือจาก รัสเซียอีกรอบโดยอาศัยเหตุผลที่มีเงินฝากของ
ชาวรัสเซียเปนตัวประกันในประเทศอยูแลว
ปจจัยดานเศรษฐกิจ
• ปจจัยดานเศรษฐกิจภายในประเทศ
– สามารถพิจารณาไดจาก “วัฏจักรเศรษฐกิจ” (Economic Cycle) คือ
การเปลี่ยนแปลงในชวงระยะเวลาหนึ่ง แบงออกเปน 4 ชวง
1. เศรษฐกิจขยายตัว (Expansion / Recovery)
2. เศรษฐกิจรุงเรือง (Peak)
3. เศรษฐกิจถดถอย (Contraction / Recession)
4. เศรษฐกิจตกต่ํา (Trough)
ปจจัยดานเศรษฐกิจ
การวางงานสูง ความตองการสินคา
โดยรวมลดลง สินคาที่ผลิตขึ้นมาไม
สามารถขายได กําไรของธุรกิจลดลง
ชวงที่การผลิตและการจางงาน
เริ่มเพิ่มขึ้น รายไดและรายจาย
ของครัวเรือนสูงขึ้น
ระบบเศรษฐกิจจะมีประสิทธิภาพ
สูงสุด ทั้งการผลิตและการบริโภค เริ่ม
มีการขาดแคลนแรงงานและวัตถุดิบ
ธุรกิจเริ่มขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียน
การผลิตและการจางงานลดลง
ปจจัยดานเศรษฐกิจ
เนื่องจากในชวงฟนตัวแตละอุตสาหกรรม จะมีการฟนฟูที่ชาและเร็ว
แตกตางกันไป ตามการไดรับผลกระทบของอุตสาหกรรมนั้นๆ
ปจจัยดานเศรษฐกิจ
• ตัวชี้วัดเศรษฐกิจภายในประเทศ
– ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product :
GDP) มูลคาของผลผลิตสินคาและบริการทั้งหมดที่ผลิตขึ้นในประเทศ
– ผลผลิตอุตสาหกรรม (Industrial Production) เปนมูลคาผลผลิต
ของอุตสาหกรรมมวลรวม โดยจําแนกตามกลุมอุตสาหกรรมตางๆ
– ดัชนีราคาผูผลิต (Producer Price Index : PPI) เปนดัชนีที่แสดง
การเปลี่ยนแปลงราคาสินคาจากผูผลิต
– อัตราเงินเฟอ (Inflation Rate) เปนภาวะที่ระดับราคาสินคาและบริการ
โดยทั่วไปเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง
ปจจัยดานเศรษฐกิจ
– อัตราดอกเบี้ย (Interest Rate) อัตราดอกเบี้ยที่ผูลงทุนควรนํามา
พิจารณา ควรเปนอัตราดอกเบี้ยที่เคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลง และสามารถ
สะทอนสภาพคลองของตลาดเงินไดดี
– อัตราการวางงาน (Unemployment Rate) เปนตัวเลขที่แสดง
อัตรารอยละของผูวางงานในระบบเศรษฐกิจเทียบกับกําลังแรงงานรวม ซึ่ง
สามารถบงบอกสภาพเศรษฐกิจโดยรวมวาเปนไปในทิศทางที่กําลังขยายตัว
หรือหดตัว
ปจจัยดานเศรษฐกิจ
• นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล
– นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) เปนนโยบายเกี่ยวกับรายรับและ
รายจายของภาครัฐ ตลอดจนการจัดการสวนที่เกินดุล หรือการหาเงินชดเชย
สวนที่ขาดดุล
นโยบายการคลังมีผลกระทบตอเศรษฐกิจโดยตรง แตมักมีการดําเนินการที่
ชา ทําใหเศรษฐกิจหยุดนิ่ง โดยปกติแลวมักจะใชนโยบายการคลังในเศรษฐกิจ
ระยะยาว
ปจจัยดานเศรษฐกิจ
– นโยบายการเงิน (Monetary Policy) เปนนโยบายที่เกิดผลโดยทันที
เกี่ยวกับการกําหนดอัตราดอกเบี้ยและปริมาณเงินที่หมุนเวียนในระบบ ซึ่ง
ธนาคารแหงประเทศไทยเปนผูดําเนินนโยบายการเงินของประเทศ
– ปจจัยอื่นๆ อีกมากมาย ที่อาจสงผลกระทบตอภาวะเศรษฐกิจและตลาด
หุน เชน ปจจัยจากธรรมชาติ ไมวาจะเปนฝนแลง น้ําทวม แผนดินไหว หรือภัย
พิบัติตางๆ รวมทั้งความไมสงบภายในประเทศ หรือภาวะสงครามดวย
ปจจัยดานภาคอุตสาหกรรม
องคประกอบที่ใชในการวิเคราะห ไดแก
• วงจรการขยายตัวของอุตสาหกรรม
• โครงสรางการแขงขันของอุตสาหกรรม
• ผลกระทบของขอตกลงระหวางประเทศ
• การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของ
ปจจัยดานภาคอุตสาหกรรม
ปจจัยดานภาคอุตสาหกรรม
• Introduction = อุตสาหกรรมเพิ่งเริ่มกอตั้ง ระดับความเสี่ยงมักสูง ถาเปน
บริษัทเล็กมีความจําเปนตองนําผลกําไรของบริษัทไปใชในการลงทุน
• Growth = สินคาเปนที่ยอมรับของตลาดและผูลงทุนสามารถมองเห็นแนวโนม
ของอุตสาหกรรมไดชัดเจนขึ้น ยอดขายและผลกําไรจากทรัพยสินจะเพิ่มขึ้นใน
อัตราที่สูง
• Maturity = อัตราการเจริญเติบโตของยอดขายและผลกําไรยังเปนไปใน
ทางบวกแตเปนอัตราที่ชะลอตัวลงจากระยะที่ 2 เนื่องจากมีคูแขงเขามาแยงสวน
แบงในตลาดมากขึ้น
• Decline = ระยะนี้อุปสงค ในสินคาลดนอยถอยลงและบริษัทตาง ๆ เริ่มออก
จากอุตสาหกรรม ถาบริษัทในอุตสาหกรรมไมสามารถปรับปรุงและพัฒนากลยุทธ
ปจจัยดานภาคอุตสาหกรรม
Five force model
ปจจัยดานภาคอุตสาหกรรม
• การแขงขันที่เปนอยู (Rivalry Among Existing Competitors) = การวิเคราะห
วาการแขงขันในอุตสาหกรรมมีความรุนแรง และความคงอยูยาวนานเพียงใด ควร
จะพิจารณาคูแขงในตางประเทศทั้งในปจจุบันและอนาคตดวย
• การคุกคามจากคูแขงขันใหม (Threat of New Entrants) = เปนอุปสรรคตอคู
แขงขันใหมในการเขาสูอุตสาหกรรมมีความซับซอนและตองใชเวลาคอนขางมาก
ในการจําแนกแจกจายรวมทั้งตองเสียคาใชจายมากหากอุตสาหกรรมปราศจาก
เครื่องกีดขวางเหลานี้แลว คูแขงรายอื่น ๆ ยอมจะเขามาแยงสวนแบงในตลาดได
งายขึ้น และแบงปนผลกําไรจากอุตสาหกรรมนี้ไป
ปจจัยดานภาคอุตสาหกรรม
• การคุมคามจากสินคาที่ใชทดแทนกันได (Threat of Substitute Products) =
อุตสาหกรรมที่มีสินคาอื่นที่ใชทดแทนกันได จะทําใหเกิดสภาพการแขงขันมากขึ้น
และมีการแบงปนสวนแบงตลาดและผลกําไรกันมากขึ้น
• อํานาจในการตอรองของผูซื้อ (Bargaining Power of Buyers) = ซื้อมีสวนใน
การกําหนดผลกําไรเนื่องจากในการเลือกบริโภคสินคา ผูซื้อสามารถตอรองราคา
ของสินคาหรือเรียกรองใหมีการพัฒนาคุรภาพของสินคาใหดีขึ้นไดโดยจะนําไป
ตอรองพิจารณาระหวางคูแขงขันเพื่อใหไดสินคาและบริการที่มีคุณภาพดี
• อํานาจในการตอรองของผูขาย (Bargaining Power of Suppliers) = ผูขายมี
อํานาจตอรองกับผูบริโภคโดยผานการปรับราคาสินคาหรือลดคุณภาพของสินคาที่
ผลิตลง หากในอุตสาหกรรมนั้นมีผูขายนอยราย ความจําเปนในการพึ่งพาผูขายก็
จะมีมากขึ้น ทําใหผูขายนั้นมีอํานาจในการตอรองสูง
ปจจัยดานขอมูลบริษัท
คัดเลือกบริษัทที่ควรลงทุน โดยแบงการวิเคราะหออกเปน 2 รูปแบบ คือ
• การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Approach)
• การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Approach)
ปจจัยดานขอมูลบริษัท
ขอมูลเชิงคุณภาพ เปนขอมูลที่ใชเพื่อการประเมินระดับความสามารถของบริษัทในดาน
ตางๆ โดย ไมใชขอมูลที่เปนตัวเลข ไดแก...
• คณะผูบริหาร กิจการที่มีคณะผูบริหารที่มีความสามารถ ยอมสามารถกําหนดกลยุทธ
บริษัทใหเหนือกวาคูแขงได
• ขนาดของบริษัท ธุรกิจขนาดใหญ มักไดเปรียบในแงของการประหยัดจากขนาดในการ
ผลิต (Economy of Scale) แตบางครั้งมีปญหาในการควบคุมภายใน
• ความหลากหลายของผลิตภัณฑ โดยทั่วไปกิจการที่ผลิตหรือจําหนายผลิตภัณฑเพียง
ชนิดเดียวหรือกระจุกตัวเพียงไมกี่ชนิด จะมีความไมแนนอนของการประกอบการ
มากกวากิจการที่มีการกระจายการผลิตและจําหนายในผลิตภัณฑหลากหลายชนิด
ปจจัยดานขอมูลบริษัท
• การคิดคนและเสนอผลิตภัณฑหรือบริการใหม การเปนเจาแรกผูบุกเบิก
ตลาดที่ประสบความสําเร็จ ทําใหกิจการสามารถทํากําไรไดโดยปราศจากคูแขงใน
ชวงแรก
• แหลงของเงินทุนที่มาจากการกอหนี้ กิจการที่มีแหลงของเงินทุนที่มาจากการ
กอหนี้เปนสัดสวนที่สูง จะเสี่ยงกวากิจการที่ใชแหลงของเงินทุนที่มาจากเจาของ
• อัตราการขยายตัวของยอดขายและกําไรในอดีต เพื่อเปนแนวทางในการ
ประมาณการยอดขายและผลกําไรในอนาคต
ปจจัยดานขอมูลบริษัท
เครื่องมือที่ใชวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ
–SWOT
–แมทริกซ บี ซี จี
ปจจัยดานขอมูลบริษัท
การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ = เปนการวิเคราะหขอมูลโดยประเมิน
จากตัวเลขที่เชื่อถือได เพื่อใชในการบงบอกถึงผลการดําเนินงานของ
บริษัทในชวงที่ผานมา
ปจจัยดานขอมูลบริษัท
อัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio) ตัวอยางเชน
ปจจัยดานขอมูลบริษัท
สรุปการวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
เปนการศึกษาพฤติกรรมของราคาหุน หรือพฤติกรรมของตลาดใน
อดีตโดยใชหลักสถิติ เพื่อนํามาใชคาดการณพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของ
ราคาหุนในอนาคต และชวยใหผูลงทุนหาจังหวะการลงทุนที่เหมาะสม
โดยขอมูลหลักที่ใชในการวิเคราะหทางเทคนิค ไดแก ระดับราคา และ
ปริมาณการซื้อขายหุน
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• ขอสมมติฐานในการวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค
1. ราคาเปนผลรวมที่สะทอนใหทราบถึงขาวสารในดานตาง ๆ ทั้งหมดแลว
2. ราคาจะเคลื่อนไหวอยางมีแนวโนม และจะคงอยูในแนวโนมนั้น ๆ ในชวง
ระยะเวลาหนึ่ง จนกวาจะเกิดการเปลี่ยนแปลงแนวโนมใหม
3. พฤติกรรมการลงทุนของผูลงทุน จะยังคงมีลักษณะที่คลายคลึงกับ
พฤติกรรมการลงทุนในอดีต
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• แนวโนมและเสนแนวโนม (Trand Line)
เปนการบงบอกถึงลักษณะการเคลื่อนไหวโดยรวมของราคา
หุนภายในชวงเวลาสั้นๆ ระยะหนึ่ง โดยรูปแบบการเคลื่อนไหวของราคา
หุนอาจเคลื่อนไหวโดยมีแนวโนมเปนเสนตรงในระยะยาว หรือมีแนวโนม
การเคลื่อนไหวที่ตางรูปแบบออกไป
เราสามารถนําเสนแนวโนมไปหาแนวตาน แนวรับ หรือหาทิศทาง
ของราคาไดในแผนภูมิแบบแทง, แผนภูมิแบบแทงเทียน หรือในแผนภูมิ
แบบ POINT & FIGURE และเราสามารถนําเอาเสนแนวโนมไปใช
รวมกับ เครื่องมือวิเคราะหทางเทคนิคตัวอื่น ๆ
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
1. แนวโนมขาขึ้น Uptrand
มีรูปแบบที่จุดยอดของราคาที่ขึ้นไปในแตละครั้งจะสูงกวายอดเกา
และราคาต่ําสุดของหุนที่ลดลงในครั้งใหมจะสูงกวาครั้งกอน โดยเสนแนว
โนมขึ้น (UPTREND LINE) จะเปนเสนตรงที่ลากผานจุดต่ําอยางนอย
สองจุดในแนวขึ้น โดยไมควรมีจุดฐานที่ต่ํากวาเสนแนวโนมขึ้นดังกลาว
ตอมาหากราคาหุนตกทะลุผานเสนแนวโนมนี้ เปนการบอกถึงแนวโนมหุน
จะเปลี่ยนเปนลง
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
2. แนวโนมขาลง Downtrend
มีรูปแบบที่จุดยอดของราคาที่ขึ้นไปในแตละครั้งจะต่ํากวายอดเกา
และจุดต่ําสุดของการลดลงครั้งใหมจะต่ํากวาครั้งกอน โดยเสนแนวโนมลง
(DOWNTREND LINE) จะเปนเสนตรงที่ลากผานจุดสูงสุดอยางนอย
สองจุดในแนวลง โดยไมควรมีจุดยอดที่สูงกวาเสนแนวโนมลงดังกลาว
ตอมา หากราคาหุนทะลุผานเสนแนวโนมนี้ขึ้นไป เปนการบอกถึงแนวโนม
หุนจะเปลี่ยนเปนขึ้น
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
3. แนวโนมที่เคลื่อนตัวไปทางดานขาง Sideways Trend
ระดับราคาจะวิ่งอยูภายในชวงแนวรับและแนวตานในแนวนอน
โดยเมื่อราคาเคลื่อนตัวขึ้นและไปพบกับเสนตาน ราคาหุนจะดีดตัวลง
ในทางตรงกันขามเมื่อราคาเคลื่อนที่ไปจนพบกับแนวรับ ก็จะดีดตัวขึ้น โดย
เคลื่อนตัวสลับขึ้นลงไปมาในลักษณะแนวระนาบ
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• แนวรับและแนวตาน Support and Resistance
แนวคิดนี้มีหลักการ คือ เมื่อราคาหุนลดลงมาถึง ณ ระดับราคาที่
เปนแนวรับ (Support Level) แลว ก็จะมีแรงซื้อเขามารองรับ ทําให
ระดับราคาหุนมีแนวโนมที่จะไมลดต่ําลง
ในทางตรงกันขาม เมื่อระดับราคาหุนปรับตัวสูงขึ้นไปถึง ณ ระดับ
ราคาที่เปนแนวตาน (Resistance Level) จะเปนระดับราคาที่มี
แรงขายมาก โดยแรงขายนั้นอาจเพียงพอที่จะหยุดราคาหุนไมใหสูงไปกวา
ระดับราคานี้ได
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
โดยทั่วไป ราคาหุนจะเคลื่อนไหวจากแนวรับขึ้นไปสูแนวตาน และจาก
แนวตานลงมาสูแนวรับ กลาวคือ เคลื่อนไหวอยูในชวงระหวางแนวรับและแนว
ตาน และภายหลังชวงเวลาหนึ่ง ราคาหุนอาจสูงขึ้นจนทะลุแนวตาน หรือลด
ต่ําลงกวาแนวรับ
เทคนิคการลงทุน คือ ควรพิจารณาซื้อหุนเมื่อราคาหุนอยูบริเวณ
แนวรับ และขายเมื่อราคาหุนอยูบริเวณแนวตาน และควรวิเคราะหวาราคา
หุนกําลังจะเคลื่อนไหวทะลุแนวรับหรือแนวตานเมื่อใด เพื่อที่จะสามารถวาง
แผนการลงทุนในระยะตอไปได
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• MACD ( Moving Average Convergence/Divergence )
คือเสนของคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ของราคา 2 เสน สรางขึ้นโดยใชความตาง
ระหวางเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 2 เสน โดยที่เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่เสนหนึ่ง ใชระยะเวลา
ในการคํานวณยาวกวาเสนคาเฉลี่ยฯ อีกเสนหนึ่ง และเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 2 เสนนี้
นิยมใชเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบ EXPONENTIAL สวนจํานวนวันที่นํามาหา
คาเฉลี่ย ก็อาจเปลี่ยนแปลงได แตที่นิยมใชกันทั่วไปคือ 12 วัน และ 25 (หรือ 26 วัน)
มีขอสังเกตวา เสนคาเฉลี่ยระยะยาวนี้ จะมีระยะเวลายาวนาน กวาเสนคาเฉลี่ยระยะ
สั้นประมาณ 1 เทา
• หลักการวิเคราะห
1. ถา MACD มีคาเปนบวก แสดงวาราคาหุนอยูในแนวโนมขึ้นระยะกลาง
2. ถา MACD มีคาเปนลบ แสดงวาราคาหุนอยูในแนวโนมลงระยะกลาง
3. ถา MACD มีคาเปนบวก และตัดเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) ขึ้นไป
แสดงวาราคาหุนมีแนวโนมสูงขึ้น เปนสัญญาณซื้อ (BUY SIGNAL)
4. ถา MACD มีคาเปนลบ และตัดเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) ลงมา
แสดงวาราคาหุนมีแนวโนมลดลง เปนสัญญาณขาย (SELL SIGNAL)
5. ถา MACD มีคาเปนบวก แตตัดเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) ลงมา
แสดงวาราคาหุนกําลังมีแนวโนมชะลอการลงหรือปรับตัวขึ้นชวงสั้น
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• หลักการวิเคราะห (ตอ)
6. ถา MACD มีคาเปนลบ แตตัดเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) ขึ้นไป แสดงวา
ราคาหุนกําลังมีแนวโนมชะลอการลงหรือปรับตัวขึ้นชวงสั้น
7. ถา MACD มีคาเปนบวก และอยูในระดับสูงใกลเคียงกับยอดเกา แสดงวาราคา
หุนมีโอกาสที่จะทรงตัวหรือปรับตัวลดลง
8. ถา MACD มีคาเปนลบ และอยูในระดับต่ําใกลเคียงกับฐานเกา แสดงวาราคา
หุนมีโอกาสที่จะทรงตัวหรือปรับตัวสูงขึ้น
9. ถา MACD และเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) มีคาเปนบวก แสดงวาตลาด
เปนตลาด BULL
10. ถา MACD และเสนสัญญาณ (SIGNAL LINE) มีคาเปนลบ แสดงวาตลาด
เปนตลาด BEAR
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• DIVERENCE คือ การแยกตัวออกจากกันของ MACD กับราคาหุน
มี 2 ลักษณะคือ
1. NEGATIVE DIVERGENCE จะเกิดขึ้นเมื่อ MACD มีการ
ปรับตัวลงสวนทางกับการสูงขึ้นของดัชนีราคา เปนการเตือนวาราคาหุน
อาจมีการปรับตัวลง
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
2. POSITIVE DIVERGENCE จะเกิดขึ้นเมื่อ MACD มีการปรับตัว
สูงขึ้นสวนทางกับการลดลงของดัชนีราคา เปนการบอกวาการลดลงของ
ราคาหุนใกลสิ้นสุด
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• กราฟแทงเทียนแบบพื้นฐาน
กราฟแทงเทียนเปนเทคนิคที่สําคัญ เพราะเอาไวใชในการอานคา
ราคา เปด ปด สูง ต่ํา ของ แตละวัน หรือชวงเวลานั้นๆได ควรจะใชควบคู
กับ indicator ตัวอื่นดวย เชน RSI,MACD,อีเลียตเวฟ, Stochastic
ฯลฯ ซึ่งจะทําใหการวิเคราะหนั้นแมนยํายิ่งขึ้น
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
จากรูป: High คือ ราคาสูงสุดของวันนั้น
Low คือ ราคาต่ําสุดของวันนั้น
Open คือ ราคาเปดของวันนั้น
Close คือ ราคาปดของวันนั้น
หากแทงเทียนเปนสีเขียว แสดงวา ราคาปดสูงกวาราคาเปด
หมายความวา หุนตัวนี้ปดบวกในวันนั้น
หากแทงเทียนเปนสีแดง แสดงวา ราคาปดต่ํากวาราคาเปด
หมายความวา หุนตัวนี้ปดลบในวันนั้น
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ Moving Average
การคํานวณคาเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบพื้นฐาน ทําไดโดยนําราคาของ
วันปจจุบันและวันกอนหนานี้มารวมกัน แลวหารดวยจํานวนวันที่ตองการ
เฉลี่ยทั้งหมด ซึ่งจะขึ้นอยูกับเสนคาเฉลี่ยนั้นวา จะนํามาใชในการวิเคราะห
แนวโนมในระยะสั้น กลาง หรือระยะยาว และสําหรับวันถัดไปสามารถหา
คาเฉลี่ยได โดยตัดขอมูลวันแรกสุดออกไป และเอาราคาของวันลาสุดเขา
มาแทนที่ จากนั้นก็นํามาคํานวณโดยวิธีเดียวกัน
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• ตัวอยางสูตรคํานวณ
• ชวงเวลาที่ใช
 10 วัน (2 สัปดาห) ใชสําหรับการลงทุนระยะสั้น
25 วัน (5 สัปดาห) ใชสําหรับการลงทุนระยะคอนขางปานกลาง
75 วัน (15 สัปดาห) ใชสําหรับการลงทุนระยะกลาง
200 วัน (40 สัปดาห) ใชสําหรับการลงทุนระยะยาว
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• การหาสัญญาณซื้อ-ขายโดยใชเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่
1. เมื่อราคาเคลื่อนขึ้น และทะลุผานเสนคาเฉลี่ยฯ ที่เคลื่อนขึ้นตาม จะถือเปน
สัญญาณซื้อ ( จุด B ตามรูปดานบน )
2. เมื่อเสนราคาหุนทะลุขึ้น ผานเสนคาเฉลี่ยฯ ที่เปลี่ยนจากเคลื่อนที่ลงเปนขึ้น และ
สามารถยืนอยูเหนือเสนคาเฉลี่ยฯ ไดนานพอสมควร ใหถือเปนสัญญาณซื้อ
3. เมื่อราคาเคลื่อนลงและทะลุผานเสนคาเฉลี่ยฯ ที่เคลื่อนลงตาม จะถือเปน
สัญญาณขาย ( จุด A และ C ตามรูปดานบน )
4. เมื่อเสนราคาหุนทะลุลง ผานเสนคาเฉลี่ยฯ ที่เปลี่ยนจากเคลื่อนที่ขึ้นเปนลง และ
อยูใตเสนคาเฉลี่ยฯ นานพอสมควร ใหถือเปนสัญญาณขาย
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• สโตแคสติกส STOCHASTICS
ดัชนีวัดการแกวงตัวของราคาที่ศึกษาความสัมพันธ การเคลื่อนไหว
ของราคาในชวงเวลาหนึ่ง ๆ กับราคาปด โดยมาจากขอสังเกตที่วา ถาการ
สูงขึ้นของราคาหุนนั้นมีแนวโนมสูงขึ้นตอไป ราคาปดของหุนนั้นจะอยูใกลกับ
ราคาสูงสุด แตถาราคาของหุนมีแนวโนมลดต่ําลง ราคาปดจะอยูในระดับ
เดียวกับราคาต่ําสุดของวัน
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• สูตรการคํานวณ Stochastics
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• หลักการเบื้องตนในใช STOCHASTICS
 เขาซื้อเมื่อเสน Stochastic เขาเขต Oversold ที่บริเวณระดับต่ํากวา 20% และ
ควรขายเมื่อเสน Stochastic อยูเหนือบริเวณระดับ 80% แลวตกลงมา
 ซื้อเมื่อเสน %K อยูตัดขึ้นเหนือเสน %D ขายเมื่อเสน%K ตกลงมาต่ํากวาตัดเสน
%D ลง สังเกตการ Divergences เชน เมื่อราคากําลังทําจุดสูงสุดใหมแตยอด
ของเสน Stochastics ลดลงมาต่ํากวาจุดสูงสุดเดิมกอนหนา
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• RSI
เปนเครื่องมือที่นํามาใชวัดการแกวงตัวของราคาหุน สําหรับการ
ลงทุนในชวงหนึ่ง เพื่อดูภาวะการซื้อมากเกินไป (OVERBOUGHT) หรือ
ขายมากเกินไป (OVERSOLD) โดยใชระดับเหนือ 70% บอกภาวะ
OVERBOUGHT และระดับต่ํากวา 30% บอกภาวะ OVERSOLD และยัง
ใชเปนสัญญาณเตือนวา แนวโนมของราคาหุนที่กําลังมีทิศทางขึ้นหรือลง
นั้น กําลังใกลจะออนตัวลงหรือยัง โดยมีสัญญาณเตือนที่แสดงออกมาใน
รูปแบบของการแยกทางออก (DIVERGENCE) ระหวางราคาหุนกับ 14
RSI
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
ดัชนีกําลังสัมพัทธ (RSI) คือ การคํานวณหาพละกําลัง ที่ซอนตัว
อยูของตลาดหรือของหุนใดหุนหนึ่ง (INTERNAL STRENGTH) โดยดูจาก
อัตราสวนที่แกวงไปมาอยูระหวางการขึ้นลงโดยคิดเปนเปอรเซ็นต และ
ภายในเวลาที่กําหนด ซึ่งสวนใหญจะใชระยะเวลา 14 วัน เราจึงเรียกวา 14
RSI
การวิเคราะหปจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)
• หลักการใช PSI
 ต่ํากวาเสน 30 คืออยูในชวง oversold ชวงอิ่มตัวขาลง เปนชวงแรงขายมาก แต
บางครั้งถาแนวโนมยังคงเปนขาลงก็ยังไมสามารถซื้อไดถาแนวโนมยังลงอยู
 เหนือกวาเสน 70 คืออยูในชวง overbought ชวงอิ่มตัวขาขึ้น เปนชวงแรงซื้อ
มาก แตบางครั้งถาแนวโนมยังคงเปนขาขึ้นก็ยังไมสามารถขายไดถาแนวโนมยัง
ขึ้นอยู
 ไมควรใชตอน sideway เพราะจะเกิดสัญญาณหลอกไดงาย
การประเมินมูลคาหุน
เปนเครื่องมือที่จะชวยผูลงทุนในการตัดสินใจวาจะซื้อหรือ
ขายหุน ซึ่งเปนการเปรียบเทียบระหวางราคาตลาด ณ ปจจุบัน กับมูลคาที่
แทจริงที่ไดจากการประเมิน โดย “ผูลงทุนจะตัดสินใจซื้อหรือ
ลงทุนในหุนใดๆ เมื่อราคาตลาดต่ํากวามูลคาที่แทจริง ในทาง
ตรงกันขาม จะตัดสินใจขาย เมื่อราคาตลาดสูงกวามูลคาที่แทจริง”
การประเมินมูลคาหุน
ดังนั้น ผูลงทุนจึงควรทราบแนวคิดตางๆ ที่เกี่ยวกับการประเมินมูลคาหุน เพื่อใชเปน
เกณฑในการเปรียบเทียบกับราคาตลาด และทําการตัดสินใจวาจะซื้อหรือขายหุนดี ซึ่งในการ
ประเมินมูลคาหุนมีแนวคิดหลักๆ 2 แนวคิด คือ
 การประเมินมูลคาหุนโดยการคิดลดเงินปนผล (Dividend Discounted Model : DDM)
 การประเมินมูลคาหุนโดยวิธีสัมพัทธ (Relative Method)
การประเมินมูลคาหุน
1.การประเมินมูลคาหุนโดยการคิดลดเงินปนผล (Dividend
Discounted Model : DDM)
– แนวคิดอัตราคิดลด (Discount Rate)
เปนตัวเลขที่ใชเพื่อแปลงคาเงินในอนาคตใหกลับมาเปนมูลคา ณ เวลาปจจุบัน โดยปกติ
ตัวเลขที่ใชคิดลดสําหรับเงินปนผล ไดแก อัตราผลตอบแทนที่ผูลงทุนตองการจากการ
ลงทุนในหุนนั้น โดยมูลคาที่แทจริงของหุน (P0)
การประเมินมูลคาหุน
• กรณีที่มีการจายเงินปนผลเทากันทุกงวด (Zero Growth Dividend)
ตัวอยาง หากคาดวาหุน ABC จะจายเงินปนผลงวดละ 1.15 บาท และนาย ก. ตองการซื้อหุนนี้เพื่อ
ลงทุนระยะยาว โดยมีอัตราผลตอบแทนที่ตองการเทากับ 13.4% มูลคาที่แทจริงของหุน ABC ที่นาย
ก. ควรจายเงินซื้อจะเปนเทาใด
P = D/ks
= 1.15/0.134
= 8.58 บาท
การประเมินมูลคาหุน
• กรณีที่เงินปนผลมีอัตราเพิ่มเทากันทุกงวด (Constant Growth
Dividend)
การประเมินมูลคาหุน
2.การประเมินมูลคาหุนโดยวิธีสัมพัทธ (Relative Method)
การหามูลคาที่แทจริงของหุนภายใตแนวคิดนี้ เกิดจากความเชื่อ
ที่วา ผูลงทุนควรจายเงินเพื่อซื้อหุนเปนกี่เทาของตัวแปรทางบัญชี
ตางๆ เชน กําไรตอหุน มูลคาทางบัญชีตอหุน ยอดขายตอหุน หรือกระแส
เงินสดตอหุน เปนตน
การประเมินมูลคาหุน
• อัตราสวนราคาตอกําไรตอหุน (Price to Earnings Ratio : P/E Ratio)
ตัวอยาง บริษัท GTO มีกําไรตอหุนเทากับ 1.5 บาท โดยราคาตลาดของหุน GTO ณ
ปจจุบัน เทากับ 20 บาท
 ดังนั้น คา P/E Ratio ของหุน GTO จะเทากับ 13.33 เทา (20 / 1.5)
การประเมินมูลคาหุน
• เกณฑในการใช P/E Ratio
ถา P/E Ratio ของบริษัทที่เราประเมิน นอยกวา Benchmark
P/E แสดงวามูลคาหุนที่แทจริงต่ํากวาราคาตลาด ณ ปจจุบัน ดังนั้น ผู
ลงทุนควร ซื้อ
ถา P/E Ratio ของบริษัทที่เราประเมิน มากกวา Benchmark
P/E แสดงวามูลคาหุนที่แทจริงสูงกวาราคาตลาด ณ ปจจุบัน ดังนั้น ผู
ลงทุนควร ขาย
การประเมินมูลคาหุน
• ราคาตอมูลคาทางบัญชีตอหุน (Price to Book Value : P/BV Ratio)
ตัวอยาง หากราคาตลาดของหุน GTO ณ ปจจุบัน เทากับ 20 บาท
ในขณะที่มูลคาทางบัญชีของหุน GTO อยูที่ 10 บาท
ดังนั้น คา P/BV Ratio ของหุน GTO จะเทากับ 2 เทา (20 / 10)
การประเมินมูลคาหุน
• เกณฑในการใช P/BV Ratio
ถา P/BV Ratio ของบริษัทที่ประเมิน นอยกวา Benchmark
P/BV แสดงวา มูลคาที่แทจริงของหุนต่ํากวาราคาตลาด ณ ปจจุบัน
ดังนั้น ผูลงทุนควร ซื้อ
ถา P/BV Ratio ของบริษัทที่เราประเมิน มากกวา Benchmark
P/BV แสดงวา มูลคาที่แทจริงของหุนสูงกวาราคาตลาด ณ ปจจุบัน
ดังนั้น ผูลงทุนควร ขาย
การคํานวณ NAV ของกองทุนรวม
กองทุนรวม ตองคํานวณมูลคาทรัพยสินสุทธิของหลักทรัพยและ
ทรัพยสินที่กองทุนรวมลงทุนไวทุกวันทําการ การคํานวณมูลคาทรัพยสินสุทธิ
และ มูลคาตอหนวย จะกระทําตามขั้นตอน ดังนี้
1. คํานวณมูลคาทรัพยสินสุทธิ โดยการคํานวณมูลคาหลักทรัพยและ
ทรัพยสินที่กองทุนลงทุน ตามหลักการมูลคายุติธรรม (mark to market)
กลาวคือ ตองคํานวณมูลคาจากราคาปด หรือราคาเสนอซื้อครั้งสุดทาย (ถา
หลักทรัพยนั้นไมมีการซื้อขายในวันนั้น) บวกกับ เงินสดและรายไดคางรับ
ทั้งหมดที่มี หักดวย หนี้สิน (ที่ยังไมไดชําระราคา)
มูลคาทรัพยสินสุทธิ (NAV) = มูลคาทรัพยสินตามราคาตลาด + รายได
คางรับ + เงินสด - หนี้สิน
การคํานวณ NAV ของกองทุนรวม
2. คํานวณมูลคาตอหนวย โดยการนํามูลคาทรัพยสินสุทธิมาหารดวย
จํานวนหนวยลงทุนที่ออกจําหนายแลวทั้งหมดของกองทุนนั้น
มูลคาตอหนวย (NAV ตอหนวย) = (มูลคาทรัพยสินตามราคาตลาด +
รายไดคางรับ + เงินสด – หนี้สิน)/จํานวนหนวยลงทุน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีกการจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีกsuttinun jiyaamorndach
 
จัดพอร์ทหุ้นด้วยเทคนิค Momentum
จัดพอร์ทหุ้นด้วยเทคนิค Momentumจัดพอร์ทหุ้นด้วยเทคนิค Momentum
จัดพอร์ทหุ้นด้วยเทคนิค MomentumAkarawat Thanachitnawarat
 
เถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายเถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายsutaphat neamhom
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptSuppanut Wannapong
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tJaturapad Pratoom
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003Pa'rig Prig
 
Inventory management
Inventory managementInventory management
Inventory managementOrawonya Wbac
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...Earn LikeStock
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)Thailife Insurance Co.,Ltd.(PLC)
 

Was ist angesagt? (20)

การจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีกการจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีก
 
จัดพอร์ทหุ้นด้วยเทคนิค Momentum
จัดพอร์ทหุ้นด้วยเทคนิค Momentumจัดพอร์ทหุ้นด้วยเทคนิค Momentum
จัดพอร์ทหุ้นด้วยเทคนิค Momentum
 
พื้นผิวกำลังสอง
พื้นผิวกำลังสองพื้นผิวกำลังสอง
พื้นผิวกำลังสอง
 
เถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่ายเถ้าแก่น้อย บ่าย
เถ้าแก่น้อย บ่าย
 
01
0101
01
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Lean quickwin 2108008 ie su
Lean quickwin 2108008 ie suLean quickwin 2108008 ie su
Lean quickwin 2108008 ie su
 
บทที่ 7 aw
บทที่ 7 awบทที่ 7 aw
บทที่ 7 aw
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.ppt
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง t
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
Inventory management
Inventory managementInventory management
Inventory management
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
 

Andere mochten auch

พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิค
พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิคพิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิค
พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิคAudy Kenaydep
 
Fundamental analysis
Fundamental analysisFundamental analysis
Fundamental analysisAudyken Ssy
 
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"Audyken Ssy
 
BeagleBoard and BeagleBoard XM
BeagleBoard and BeagleBoard XMBeagleBoard and BeagleBoard XM
BeagleBoard and BeagleBoard XMGoran Macut
 
Characterizing transferred epithet as alternation
Characterizing transferred epithet as alternationCharacterizing transferred epithet as alternation
Characterizing transferred epithet as alternationKow Kuroda
 
20120906 dalende kosten_voor_nieuwbouw
20120906 dalende kosten_voor_nieuwbouw20120906 dalende kosten_voor_nieuwbouw
20120906 dalende kosten_voor_nieuwbouwBeBright Consulting
 
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. J. van Engelen
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. J. van EngelenCongres Sociaal Wonen 2030 dhr. J. van Engelen
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. J. van EngelenBeBright Consulting
 
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?Kow Kuroda
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedkamjorn_t
 
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. Breunesse
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. BreunesseCongres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. Breunesse
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. BreunesseBeBright Consulting
 
Cronograma
CronogramaCronograma
CronogramaATSESPOL
 
Traumatismo de vesicula biliar y vias biliares
Traumatismo de vesicula biliar y vias biliaresTraumatismo de vesicula biliar y vias biliares
Traumatismo de vesicula biliar y vias biliaresDr. Arsenio Torres Delgado
 
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. Frequin
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. FrequinCongres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. Frequin
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. FrequinBeBright Consulting
 
Swot learning network1
Swot learning network1Swot learning network1
Swot learning network1tenglifangad
 

Andere mochten auch (20)

พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิค
พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิคพิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิค
พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิค
 
Fundamental analysis
Fundamental analysisFundamental analysis
Fundamental analysis
 
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
 
BeagleBoard and BeagleBoard XM
BeagleBoard and BeagleBoard XMBeagleBoard and BeagleBoard XM
BeagleBoard and BeagleBoard XM
 
Characterizing transferred epithet as alternation
Characterizing transferred epithet as alternationCharacterizing transferred epithet as alternation
Characterizing transferred epithet as alternation
 
20120906 dalende kosten_voor_nieuwbouw
20120906 dalende kosten_voor_nieuwbouw20120906 dalende kosten_voor_nieuwbouw
20120906 dalende kosten_voor_nieuwbouw
 
SIS AGM 2014 Directors' Report
SIS AGM 2014 Directors' ReportSIS AGM 2014 Directors' Report
SIS AGM 2014 Directors' Report
 
儿诗
儿诗儿诗
儿诗
 
BeBright MROC
BeBright MROCBeBright MROC
BeBright MROC
 
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. J. van Engelen
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. J. van EngelenCongres Sociaal Wonen 2030 dhr. J. van Engelen
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. J. van Engelen
 
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?
屈折パラダイムの(心内)表現はどうなっているのか?
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. Breunesse
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. BreunesseCongres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. Breunesse
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. E. Breunesse
 
Cronograma
CronogramaCronograma
Cronograma
 
Traumatismo de vesicula biliar y vias biliares
Traumatismo de vesicula biliar y vias biliaresTraumatismo de vesicula biliar y vias biliares
Traumatismo de vesicula biliar y vias biliares
 
儿诗
儿诗儿诗
儿诗
 
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. Frequin
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. FrequinCongres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. Frequin
Congres Sociaal Wonen 2030 dhr. M. Frequin
 
Traumatismo renal
Traumatismo renalTraumatismo renal
Traumatismo renal
 
Swot learning network1
Swot learning network1Swot learning network1
Swot learning network1
 
Learning network1
Learning network1Learning network1
Learning network1
 

Ähnlich wie การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและเทคนิค

สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์Saran Yuwanna
 
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Sanwis Natthanicha
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdfFINNOMENAMarketing
 
กลยุทธ์มุมมองการลงทุนปี 2022
กลยุทธ์มุมมองการลงทุนปี 2022กลยุทธ์มุมมองการลงทุนปี 2022
กลยุทธ์มุมมองการลงทุนปี 2022MamSupreeya
 
Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024
Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024
Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024FINNOMENAMarketing
 
Chapter 2 five forces competing for profits
Chapter 2 five forces competing for profitsChapter 2 five forces competing for profits
Chapter 2 five forces competing for profitsNIDA Business School
 
Case study blair water purifiers india
Case study blair water purifiers india Case study blair water purifiers india
Case study blair water purifiers india Kosi Deemana
 
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขันCompetition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขันUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2Mobile_Clinic
 
ตลาดปะทุ! รัสเซียยิงขีปนาวุธถล่มยูเครน พอร์ตการลงทุนหลบระเบิดยังไงดี? - FINNO...
ตลาดปะทุ! รัสเซียยิงขีปนาวุธถล่มยูเครน พอร์ตการลงทุนหลบระเบิดยังไงดี? - FINNO...ตลาดปะทุ! รัสเซียยิงขีปนาวุธถล่มยูเครน พอร์ตการลงทุนหลบระเบิดยังไงดี? - FINNO...
ตลาดปะทุ! รัสเซียยิงขีปนาวุธถล่มยูเครน พอร์ตการลงทุนหลบระเบิดยังไงดี? - FINNO...MamSupreeya
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) Thailand Board of Investment North America
 
"ส่องมุมมองการลงทุน 2022 จากกองทุนระดับโลก" - FINNOMENA LIVE
"ส่องมุมมองการลงทุน 2022 จากกองทุนระดับโลก" - FINNOMENA LIVE"ส่องมุมมองการลงทุน 2022 จากกองทุนระดับโลก" - FINNOMENA LIVE
"ส่องมุมมองการลงทุน 2022 จากกองทุนระดับโลก" - FINNOMENA LIVEMamSupreeya
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plustltutortutor
 
Scenario Planning Summit
Scenario  Planning  SummitScenario  Planning  Summit
Scenario Planning SummitSara Sararyman
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯThamonwan Theerabunchorn
 

Ähnlich wie การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและเทคนิค (20)

สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์
 
Tu tot1
Tu tot1Tu tot1
Tu tot1
 
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
 
กลยุทธ์มุมมองการลงทุนปี 2022
กลยุทธ์มุมมองการลงทุนปี 2022กลยุทธ์มุมมองการลงทุนปี 2022
กลยุทธ์มุมมองการลงทุนปี 2022
 
Understanding Strategies
Understanding StrategiesUnderstanding Strategies
Understanding Strategies
 
DGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selectionDGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selection
 
Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024
Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024
Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024
 
Chapter 2 five forces competing for profits
Chapter 2 five forces competing for profitsChapter 2 five forces competing for profits
Chapter 2 five forces competing for profits
 
Case study blair water purifiers india
Case study blair water purifiers india Case study blair water purifiers india
Case study blair water purifiers india
 
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขันCompetition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
Competition pricing การกำหนดราคามุ่งหวังการแข่งขัน
 
Genius foot
Genius footGenius foot
Genius foot
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
 
ตลาดปะทุ! รัสเซียยิงขีปนาวุธถล่มยูเครน พอร์ตการลงทุนหลบระเบิดยังไงดี? - FINNO...
ตลาดปะทุ! รัสเซียยิงขีปนาวุธถล่มยูเครน พอร์ตการลงทุนหลบระเบิดยังไงดี? - FINNO...ตลาดปะทุ! รัสเซียยิงขีปนาวุธถล่มยูเครน พอร์ตการลงทุนหลบระเบิดยังไงดี? - FINNO...
ตลาดปะทุ! รัสเซียยิงขีปนาวุธถล่มยูเครน พอร์ตการลงทุนหลบระเบิดยังไงดี? - FINNO...
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
 
"ส่องมุมมองการลงทุน 2022 จากกองทุนระดับโลก" - FINNOMENA LIVE
"ส่องมุมมองการลงทุน 2022 จากกองทุนระดับโลก" - FINNOMENA LIVE"ส่องมุมมองการลงทุน 2022 จากกองทุนระดับโลก" - FINNOMENA LIVE
"ส่องมุมมองการลงทุน 2022 จากกองทุนระดับโลก" - FINNOMENA LIVE
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
 
SROI of Community Development
SROI of Community DevelopmentSROI of Community Development
SROI of Community Development
 
Scenario Planning Summit
Scenario  Planning  SummitScenario  Planning  Summit
Scenario Planning Summit
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
 

Mehr von Peerapat Teerawattanasuk

ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsPeerapat Teerawattanasuk
 
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming pro
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming proการเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming pro
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming proPeerapat Teerawattanasuk
 
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)Peerapat Teerawattanasuk
 
รู้จักการลงทุน
รู้จักการลงทุนรู้จักการลงทุน
รู้จักการลงทุนPeerapat Teerawattanasuk
 
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)Peerapat Teerawattanasuk
 
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Trading
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Tradingวิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Trading
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online TradingPeerapat Teerawattanasuk
 

Mehr von Peerapat Teerawattanasuk (7)

ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
 
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming pro
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming proการเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming pro
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming pro
 
Streaming pro
Streaming proStreaming pro
Streaming pro
 
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
 
รู้จักการลงทุน
รู้จักการลงทุนรู้จักการลงทุน
รู้จักการลงทุน
 
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)
 
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Trading
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Tradingวิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Trading
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Trading
 

การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและเทคนิค