SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 39
Week 4. ตัวแปรชนิด
พอยเตอร์ (Pointer)
พอยเตอร์ (Pointer)
 พอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัวแปรชนิดพิเศษ
ในภาษา C ทำาหน้าที่เก็บตำาแหน่งที่
อยู่(Address) ของตัวแปรชนิดอื่นๆ ที่อยู่ใน
หน่วยความจำา แทนที่จะเก็บข้อมูลเหมือนกันตัว
แปรพื้นฐานชนิดอื่นๆ
 ตัวแปรพอยเตอร์มีลักษณะคล้ายตัวแปรตารา
งอาเรย์ แต่ที่แตกต่างกันคือ ตัวแปรตารา
งอาเรย์จะเก็บเฉพาะค่าต่างๆ ที่เป็นชนิดกันเดียว
กับตัวแปรอาเรย์ แต่ตัวแปรพอยเตอร์จะเก็บ
เฉพาะค่าตำาแหน่ง Address ตัวแปรเท่านั้น
การใช้งานพอยเตอร์ (Pointer)
ตัวอย่างการเขียนคำาสั่งเพื่อประกาศตัวแปร
pointer
- int x; สร้างตัวแปรชนิด int ชื่อ x สำาหรับ
เก็บค่าจำานวนเต็ม
- int *pt_x สร้างตัวแปร pointer ชนิด int
ทำาให้ pt_x ใช้สำาหรับเก็บ
ตำาแหน่งที่อยู่ของตัวแปรชนิด int
เท่านั้น
- float *pt_num สร้างตัวแปร pointer ชนิด
float ทำาให้ pt_num ใช้สำาหรับ
ตัวแปรพอยเตอร์ ( Pointer
variable)
ตัวแปรใดก็ตามที่เก็บตำาแหน่งเลขที่ของตัวแปรอื่น
หรือออปเจกต์อื่น เรียกตัวแปรนั้นว่าเป็นตัวแป
รพอยเตอร์ คอมไพเลอร์ต้องรู้ด้วยว่าตัวแปรพอยน์
เตอร์เก็บ address ของตัวแปรเป็นข้อมูลชนิดใด
เพราะการ เพิ่มค่า pointer ไปยัง address ต่าง ๆ จะ
เพิ่มตามขนาดของข้อมูล การประกาศตัวแปรพอยน์
เตอร์ จึงต้องประกาศให้ตรงกับชนิดของตัวแปรนั้น
ๆ ด้วย
การประกาศตัวแปรพอยน์เตอร์ ใน C++ มีรูปแบบ
ดังนี้
int *ptrint; // define a pointer to int
float *ptrx; // define a pointer to float
*ptrint และ *ptrx เป็นตัวแปรพอยน์เตอร์ที่เก็บ
ตำาแหน่งเลขที่หน่วยความจำาของตัวแปรที่มีชนิด
ข้อมูลเป็น Int และ float ตามลำาดับ เครื่องหมาย *
มีความหมายว่าเป็น pointer to type
ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการกำาหนดค่า address ให้กับตัว
แปรพอยน์เตอร์
และใช้ประโยชน์จากตัวแปรพอยน์เตอร์ ในการแสดง
ค่า
ตัวดำาเนินการที่ใช้กับตัวแป
รพอยเตอร์
1. แสดงตำาแหน่งข้อมูลด้วย & (address
operation)
 เครื่องหมาย & (Ampersand) ใช้ในการ
กำาหนดตำาแหน่งที่อยู่ของตัวแปรให้กับพอย
เตอร์ โดยเมื่อสร้างตัวแปรชนิดพอยเตอร์มาแล้ว
วิธีการที่จะนำาค่าตำาแหน่งในหน่วยความจำาของ
ตัวแปรใดๆ มาเก็บไว้ในตัวแปรพอยเตอร์ได้นั้น
ต้องใช้เครื่องหมาย & โดยให้เขียนเครื่องหมาย
& นำาหน้าชื่อตัวแปรในหน่วยความจำา
วิธีการประกาศตัวแปร
ตัวดำำเนินกำรที่ใช้กับตัวแป
รพอยเตอร์
PV = &V;
เครื่องหมำย “&” หมำยถึง ที่อยู่ของ V
(Address Operator)
ที่อยู่ของที่อยู่ของ VVที่อยู่ของที่อยู่ของ VV ค่ำของค่ำของ VVค่ำของค่ำของ VV
PVPV VV
พอยเตอร์ (Pointer)
 พอยเตอร์จะเก็บค่ำ
ตำำแหน่งหรือ
แอดเดรสในหน่วย
ควำมจำำของตัวแป
รอื่นๆ ไว้
 ปกติกำรประกำศ
ตัวแปรในกำรเก็บ
ข้อมูลเป็นดังนี้
int age =23;

 กำรประกำศแบบพอย
เตอร์
int age;
age = 23;
int *pointer;
pointer = &
age;
 ตัวแปรพอยเตอร์
age จะไม่ได้เก็บค่ำ
พอยเตอร์ (Pointer)
 Pointer เป็นตัวแปรประเภทหนึ่งในภำษำ C ที่ต่ำง
จำกตัวแปรทั่ว ๆ ไปคือ ตัวแปรทั่ว ๆ ไปจะประกำศ
แบบนี้คือ
int a,b,c;
a=b=10;
c=a;
โดย c จะเก็บค่ำ 10
พอยเตอร์ (Pointer)
 แต่ถ้ำประกำศดังนี้
int a,b;
int *c;
a=b=10;
c=&a;
จะเห็นได้ว่ำ ตัวแปร c เป็น pointer และให้ c=&a
ฉะนั้น c จะไม่ได้เก็บค่ำ 10 แต่ c จะเก็บตำำแหน่ง
ของตัวแปร a ที่อยู่ในหน่วยควำมจำำ และทำำให้ c
สำมำรถเข้ำถึงข้อมูลในตัวแปร a ได้
แสดงตำำแหน่งข้อมูลด้วย &
(address operation)
แสดงตำำแหน่งข้อมูลด้วย &
(address operation)
 ตัวอย่ำงกำรใช้เครื่องหมำย &
int x=17;
int *pt_x;
pt_x=&x;
float salary=1200.00;
float *pt_sala;
pt_sala=&salary;
17 0100
x pt_x
0100 0370
salary pt_sala
0210 0600
กำรแสดงตำำแหน่งผลใน
โปรแกรมโดยใช้ pointer
 กำรเขียนโปรแกรมเพื่อให้แสดงตำำแหน่งใน
หน่วยควำมจำำที่เก็บไว้ในตัวแปร์พอยเตอร์ออก
ทำงหน้ำจอนั้น จะใช้คำำสั่ง printf ตำมปกติ แต่
จะใช้รูปแบบกำรแสดงผลเป็น “%p” ซึ่งใช้
สำำหรับกำรแสดงตำำแหน่งหน่วยควำมจำำในตัว
แปรพอยเตอร์โดยเฉพำะ
ตัวอย่ำงโปรแกรม
ผลลัพธ์ของโปรแกรม
ตัวอย่ำงโปรแกรมโดยใช้
เครื่องหมำย & กับตัวแปรพอยเตอร์
#include<stdio.h>
void main()
{
int x=17;
float salary=1200.00;
char letter='w';
int *pt_x;
float *pt_salary;
char *pt_letter;
pt_x=&x;
pt_salary=&salary;
pt_letter=&letter;
printf("Address of x = %p n",pt_x);
printf("Address of salary = %p n",pt_salary);
printf("Address of letter = %p n",pt_letter);
}
ตัวดำำเนินกำรที่ใช้กับตัวแป
รพอยเตอร์
2. แสดงค่ำข้อมูลด้วย * (indirect
operation)
 เครื่องหมำย * อ้ำงถึงข้อมูลหรือค่ำที่เก็บ
ไว้ในหน่วยควำมจำำตำำแหน่งที่ชี้ โดย
สำมำรถหำค่ำข้อมูลจำกตำำแหน่งในหน่วยควำม
จำำที่เก็บไว้ในตัวแปรพอยเตอร์ โดยกำรเขียน
เครื่องหมำย * นำำหน้ำชื่อตัวแปรพอยเตอร์
วิธีกำรประกำศตัวแปร
variable=*pointer;
ตัวดำำเนินกำรที่ใช้กับตัวแป
รพอยเตอร์
PV = &V;
เครื่องหมำย “&” หมำยถึง ที่อยู่ของ V
(Address Operator)
U = *PV;
ดังนั้นหำกเรำต้องกำรอ้ำงอิงค่ำของ V เรำ
ต้องใช้เครื่องหมำย “*” (Indirect Operator)
ให้กับ Pointer แล้วนำำค่ำที่ได้ไปเก็บไว้ใน U
ที่อยู่ของที่อยู่ของ VVที่อยู่ของที่อยู่ของ VV ค่ำของค่ำของ VVค่ำของค่ำของ VV
PVPV VV
แสดงค่ำข้อมูลด้วย *
(indirect operation)
 ตัวอย่ำงกำรใช้เครื่องหมำย *
int num1=113,num2;
int *pt_num;
pt_num=&num1;
num2=*pt_num;
float price1=4.85,price2;
float *pt_price;
pt_price=&price1;
price2=*pt_price;
113 0100
num1 pt_num
0100 0230
113
num2
0310
price1 pt_price
0150 0430
price2
0510
พอยเตอร์ (Pointer)
 ตัวอย่ำง
int a,b,*c;
a=b=10;
printf("a=%d",a);
c=&a;
*c=21;
printf("a=%d",a);
เมื่อรันโปรแกรมนี้จะได้ผลลัพธ์อย่ำงไร?
ตัวอย่ำงโปรแกรม
ผลลัพธ์ของโปรแกรม
ตัวอย่ำงโปรแกรมโดยใช้
เครื่องหมำย * กับตัวแปรพอยเตอร์
#include<stdio.h>
void main()
{ int num1=113,num2;
float price=4.85;
char hint1='a',hint2;
int *pt_num;
float *pt_price;
char *pt_hint1;
pt_num=&num1;
pt_price=&price;
pt_hint1=&hint1;
num2=*pt_num;
hint2=*pt_hint1;
printf("Variable of num2 = %d n",*pt_num);
printf("Variabie of Price = %p n",&pt_price);
printf("Variabie of hint2 = %c n",hint2);
}
ตัวแปรพอยเตอร์กับอำร์เรย์
 กรณีของตัวแปรอำร์เรย์สำมำรถใช้ตัวแปรพอย
เตอร์เพื่อหำตำำแหน่งในหน่วยควำมจำำของตัวแปร
แต่ละตัวในตัวแปรอำร์เรย์ได้เช่นเดียวกัน คือ
 int num[5]={12,34,112,45,907};
int *pt_num;
pt_num=&num[2];
pt_num=&num[4];
12 34
num[0] num[1]
0410 0412
112
num[2]
0414
45
num[3]
0416
907
num[4]
0418
0414
pt_num
0350
0418
pt_num
0350
ตัวแปรพอยเตอร์กับอำร์เรย์
 int num[5]={12,34,112,45,907};
int *pt_num;
int temp;
pt_num=&num[4];
temp=*pt_num;
ค่ำของ temp จะมีค่ำเท่ำใด?
12 34
num[0] num[1]
0410 0412
112
num[2]
0414
45
num[3]
0416
907
num[4]
0418
907
num[4] pt_num
0418 0230
temp
0310
ตัวอย่ำงโปรแกรมตัวแปรพอยเตอร์
กับอำร์เรย์
#include<stdio.h>
int x[5]={11,43,523,789,101};
int *pt_1,*pt_2,*pt_3,*pt_4,*pt_5;
void main()
{ pt_1=&x[0];
pt_2=&x[1];
pt_3=&x[2];
pt_4=&x[3];
pt_5=&x[4];
printf(“Address of x[0] = %p n”,pt_1);
printf(“Address of x[1] = %p n”,pt_2);
printf(“Value of x[2] = %d n”,*pt_3);
printf(“Value of x[3] = %d n”,*pt_4);
printf(“Value of x[4] = %d n”,*pt_5);
x[3]=*pt_5; // กำำหนดค่ำของตัวแปรอำร์เรย์ x[3] ใหม่ด้วยข้อมูลที่เก็บไว้
ในตัวแปรพอยเตอร์ pt_5
printf(“Value of x[3] = %d n”,x[3]);
ตัวแปรพอยเตอร์กับอาร์เรย์
 นอกจากนี้ยังสามารถใช้พอยน์
เตอร์แทนอาร์เรย์ การอ้างถึงค่าใน
อาร์เรย์โดยใช้ a[i] สามารถใช้
*(a+i)
 เนื่องจากทุกครั้งที่อ้างถึง a[i]
ภาษาซีจะทำาหน้าที่แปลงเป็น
*(a+i) เพราะฉะนั้นการเขียนในรูป
แบบใดก็ให้ผลลัพธ์ในการทำางาน
างถึงตำาแหน่งในอาร์เรย์ผ่านตัวชี้
 ในลักษณะเดียวกันการใช้งานพอยน์
เตอร์ก็สามารถใช้คำาสั่งในลักษณะ
อาร์เรย์ก็ได้ เช่น การอ้างถึง *(pa+i)
สามารถเขียนด้วย pa[i] ก็ได้ผลเช่น
เดียวกัน
 สิ่งที่แตกต่างกันของอาร์เรย์และ
พอยน์เตอร์ คือ พอยน์เตอร์เป็นตัวแปร
แต่อาร์เรย์ไม่ใช่ตัวแปร
างถึงตำาแหน่งในอาร์เรย์ผ่านตัวชี้
การใช้งาน Pointer กับอาร์เรย์
1 มิติ
 ตัวอย่าง
int x[3] = {10, 11, 12};
// Address ของอาร์เรย์ตัวที่ 0 ไม่ได้มีค่า
เท่ากับ 10 แต่อาจมีค่าเป็น FFF5 ขึ้นอยู่กับการ
จองหน่วยความจำา ณ ขณะนั้น
&x[0] และก็มีค่าเท่ากับ x + 0 // FFF5
&x[1] และก็มีค่าเท่ากับ x + 1 // FFF7
&x[2] และก็มีค่าเท่ากับ x + 2 // FFF9
x[0] และก็มีค่าเท่ากับ *(x + 0) // 10
x[1] และก็มีค่าเท่ากับ *(x + 1) // 11
x[2] และก็มีค่าเท่ากับ *(x + 2) // 12
ผลลัพธ์ของโปรแกรม
ประโยชน์ของ Pointer
 มีประโยชน์เมื่อต้องเขียนโปรแกรมจัดการกับ
โครงสร้างข้อมูลขนาดใหญ่ ที่มีข้อมูลจำานวนมาก การ
จัดเรียงหรือการประมวลผลต่อข้อมูลโดยใช้ pointer
และ array แม้จะทำาได้รวดเร็ว แต่ในกรณีที่มีข้อมูล
จำานวนมหาศาล การจัดเรียงหรือประมวลผลหาก
กระทำาต่อตัวข้อมูลใน array โดยตรงจะยังช้าเกินไป
 หลีกเลี่ยงการใช้ array เก็บตัวข้อมูล เมื่อต้องการจัด
เรียงหรือประมวลผลกับข้อมูล เราจะทำาทางอ้อมโดยจัด
เรียงหรือประมวลผลกับค่าของ pointer ที่ถูกชี้ซึ่ง
ทำาได้รวดเร็วกว่าการกระทำากับข้อมูลโดยตรงมาก
ทำาให้การจัดการกับข้อมูลในโครงสร้างข้อมูลที่มีข้อมูล
จำานวนมาก สามารถทำาได้ด้วยความเร็วสูง
ประโยชน์ของของ Pointer
 ข้อสรุปเรื่อง Pointer
 ทำาหน้าที่ชี้ไปยังตำาแหน่งเก็บข้อมูลในหน่วย
ความจำา
 การประกาศ pointer ต้องกำาหนด data type
ด้วย
 ใช้ pointer ชี้ไปยัง pointer หรือชี้ไปยัง
array หรือ array ของ pointer ได้
 การอ้างถึงตำาแหน่งของตัวแปร ใช้เครื่องหมาย
& หน้าตัวแปร pointer เช่น &pt
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินVankaew Ping
 
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริงโครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริงWichai Likitponrak
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมพัน พัน
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะsasithorn woralee
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วAdithun Sukprasert
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานKasichaphat Sae-tuan
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปpeter dontoom
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกsomdetpittayakom school
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 

Was ist angesagt? (20)

บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
 
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริงโครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะ
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 

Andere mochten auch

7 pointer day10
7  pointer day107  pointer day10
7 pointer day10xuou888
 
(Big One) C Language - 06 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบสองทาง
(Big One) C Language - 06 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบสองทาง(Big One) C Language - 06 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบสองทาง
(Big One) C Language - 06 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบสองทางKittinan Noimanee
 
(Big One) C Language - 04 เปลี่ยนตำแหน่งการชี้ของpointer
(Big One) C Language - 04 เปลี่ยนตำแหน่งการชี้ของpointer(Big One) C Language - 04 เปลี่ยนตำแหน่งการชี้ของpointer
(Big One) C Language - 04 เปลี่ยนตำแหน่งการชี้ของpointerKittinan Noimanee
 
(Big One) C Language - 05 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบทางเดียว
(Big One) C Language - 05 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบทางเดียว(Big One) C Language - 05 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบทางเดียว
(Big One) C Language - 05 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบทางเดียวKittinan Noimanee
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)tumetr
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
(Big One) C Language - 07 object linkedlist
(Big One) C Language - 07 object linkedlist(Big One) C Language - 07 object linkedlist
(Big One) C Language - 07 object linkedlistKittinan Noimanee
 
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)tumetr
 
Gdbcc presentation revised & edited 12
Gdbcc presentation revised & edited 12Gdbcc presentation revised & edited 12
Gdbcc presentation revised & edited 12GDBCC
 
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมการควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมkorn27122540
 
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pagetumetr
 

Andere mochten auch (12)

7 pointer day10
7  pointer day107  pointer day10
7 pointer day10
 
(Big One) C Language - 06 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบสองทาง
(Big One) C Language - 06 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบสองทาง(Big One) C Language - 06 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบสองทาง
(Big One) C Language - 06 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบสองทาง
 
(Big One) C Language - 04 เปลี่ยนตำแหน่งการชี้ของpointer
(Big One) C Language - 04 เปลี่ยนตำแหน่งการชี้ของpointer(Big One) C Language - 04 เปลี่ยนตำแหน่งการชี้ของpointer
(Big One) C Language - 04 เปลี่ยนตำแหน่งการชี้ของpointer
 
(Big One) C Language - 05 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบทางเดียว
(Big One) C Language - 05 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบทางเดียว(Big One) C Language - 05 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบทางเดียว
(Big One) C Language - 05 ฟังก์ชันจัดกาลิงค์ลิสต์แบบทางเดียว
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
(Big One) C Language - 07 object linkedlist
(Big One) C Language - 07 object linkedlist(Big One) C Language - 07 object linkedlist
(Big One) C Language - 07 object linkedlist
 
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)
โครงสร้างข้อมูลแบบ กราฟ (Graph)
 
Gdbcc presentation revised & edited 12
Gdbcc presentation revised & edited 12Gdbcc presentation revised & edited 12
Gdbcc presentation revised & edited 12
 
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมการควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
 
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
 
GDBCC PMES
GDBCC PMESGDBCC PMES
GDBCC PMES
 

Mehr von tumetr

ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015tumetr
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebooktumetr
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_ptumetr
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designtumetr
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)tumetr
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)tumetr
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectstumetr
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introductiontumetr
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffmantumetr
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานtumetr
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการtumetr
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารtumetr
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพtumetr
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-treetumetr
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)tumetr
 
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)tumetr
 

Mehr von tumetr (20)

ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebook
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_p
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projects
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introduction
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffman
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-tree
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
 
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
 

ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)