SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 104
เซลล์(Cell) คือ หน่วยย่อยที่สุดของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ยกเว้นไวรัส โดยสิ่งมีชีวิตอาจ ประกอบด้วยหนึ่ง
เซลล์(Unicellular organism) หรือ (Multicellular
organism) แล้วแต่ชนิดของสิ่งมีชีวิต
Cell มาจากคำาว่า Cellulae เป็นภาษาละติน แปลว่า
Chamber ซึ่งถูกค้นพบครั้งแรกโดย Robert Hooke
ในปี ค.ศ.1665 จากการนำากล้องจุลทรรศน์ไปส่องดู
เซลล์พืชที่ตายแล้ว
ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory)
ทฤษฎีเซลล์ถูกตั้งขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์ 3 ท่าน คือ
Matthaias Schleiden, Theodor Schwann และ Rudolf
Virchaw แบ่งเป็น 3 ข้อ ดังนี้
1. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบขึ้นจากเซลล์
2. เซลล์ทำาหน้าที่ Metabolism และ ถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรม
3. เซลล์ทุกชนิดเกิดจากเซลล์เก่าที่มีอยู่ก่อนแล้ว
Schlei
den
Schw
ann
Vircha
w
Prokaryotes เกิดจากภาษากรีก 3 คำา รวมกัน คือ Pro =
Before, Caryon =Nucleus, -otes = เป็น suffix แสดง
ความเป็นพหูพจน์ จึงแปลได้เป็นความหมายรวมๆคือ สิ่งมีชีวิต
ที่ไม่มีนิวเคลียส ( Organisms without nucleus)เซลล์กลุ่มนี้จะไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสและไม่มีออร์แกเนลที่มีเยื่อ
หุ้ม จึงทำาให้รงควัตถุที่ใช้ในการสังเคราะห์แสงกระจาย ไม่อยู่
ใน Plastid รวมทั้ง DNA กระจายอยู่ใน Cytoplasm จะพบ
ในแบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมนำ้าเงิน ( Cyanobacteria )โครงสร้างในเซลล์พบเพียง ผนัง
เซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโตพลาสม
ไรโบโซม แฟลกเจลลัม
แคปซูล(Glycocalyx) และ นิวคลี
ออยด์ (Nucleoid)
แบคทีเรียมีรูปร่าง 3 แบบ คือ Coccus- กลม,
Bacillus- แท่ง, Spirillum - เกลียว
เป็นเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส หุ้มสารพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตเหล่า
นี้ได้แก่ ยีสต์ ราชนิดต่าง ๆ โปรโตซัว สาหร่ายชนิดอื่น ๆ ที่
ไม่ใช่สาหร่ายสีเขียวแกมนำ้าเงิน พืช และสัตว์ชนิดต่าง ๆEukaryotes มาจากภาษากรีก โดย Eu = true , caryon =
nucleus –และ otes เป็น suffix แสดงความเป็นพหูพจน์
โครงสร้างโดยทั่วไปของเซลล์ มีดังนี้
1. Plasma membrane - เป็นส่วนที่ห่อหุ้มแสดงขอบเขตของ
เซลล์
2. Cytoplasm –เป็นของเหลวอยู่ภายในเซลล์ ในยูคารีโอตจะอยู่
ระหว่างนิวเคลียสและเยื่อหุ้ม ประกอบด้วย นำ้าตาล กรดอะมิโน และมี
ออร์แกเนลล์(Organelle)หลายชนิดทำาหน้าที่ต่างๆภายในเซลล์
ส่วนที่ไม่ใช่ออร์แกเนลเรียกว่าไซโทซอล(Cytosol)
3. Nucleus – ในโปรคารีโอทจะไม่มีเยื่อหุ้มทำาให้สารพันธุกรรม
กระจายอยู่ในบริเวณที่เรียกว่านิวคลีออยด์(nucleoid) ส่วนในยูคารี
โอทมีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น (nuclear membrane)
เซลล์แต่ละชนิดมีขนาดแตกต่างกัน โดยยูคารีโอตมีขนาดใหญ่
กว่าโปรคารีโอต ถึง 10-20 เท่า ซึ่งโปรคารีโอตมีเส้นผ่าน
ศูนย์กลางเฉลี่ยที่ 1-10 ไมครอน ส่วนยูคารีโอตอยู่ที่ 10-100
ไมครอน เซลล์ขนาดเล็กที่สุดคือไมโครพลาสมา ขนาด 0.1-
1ไมครอน ส่วนเซลล์ใหญ่ที่สุดเซลล์ไข่ไก่ ส่วนยาวที่สุดคือเซลล์
ประสาท ยาว 1 เมตร
การที่เซลล์มีขนาดเล็กทำาให้นิวเคลียสสามารถควบคุมการ
ทำางานได้ดีกว่าเซลล์ขนาดใหญ่ และทำาให้การขนส่งสารเข้า
ออกใช้ระยะเวลาน้อยกว่า นอกจากนี้เซลล์ที่มีขนาดเล็ก
ทำาให้พื้นที่ผิวต่อปริมาตรมากกว่าเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ ทำาให้
การแลกเปลี่ยนสารระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
รูปร่างของเซลล์ขึ้นอยู่กับ ชนิดของเซลล์ หน้าที่ ความ
หนืดของไซโทพลาสสม แรงตึงผิว และไซโทสเกลเลตัน
(Cytoskeleton)
ในปี 1910 C. Mereschkowsky ได้เสนอทฤษฎี Endosymbiont ขึ้น
มา กล่าวว่า Organelle ของ Eukaryote คือ Mitochondria และ
Chloroplast เป็นเซลล์ Prokaryote ที่อาศัยอยู่ร่วมกับเซลล์อื่น แบบ
พึ่งพาอาศัยกัน (Symbiosis) เรียกว่า Endosymbiosis
โดยมีหลักฐานดังนี้ – Mitochondria มีลักษณะและรูปร่างคล้าย
แบคทีเรีย
- ไรโบโซมที่พบทั้งในทั้งคู่ คล้ายกับที่พบในโปรคารี
โอต
- ทั้งคู่มี DNA ไม่มีเยื่อหุ้ม และแบ่งตัวได้ เหมือนกับ
แบคทีเรีย
- การสังเคราะห์โปรตีนในทั้งคู่ ถูกกระตุ้นด้วย
Formyl methionine เหมือนในแบคทีเรีย และไม่พบการสังเคราะห์
โปรตีนเช่นนี้ในไซโทพลาสม
- มีเอนไซม์ที่ใช้ในการเมตาบอลิสมคล้ายกับในยูคา
ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์(Cell Envelope)
-แบ่งออกเป็น เยื่อหุ้มเซลล์(Cell membrane) และ ผนังเซลล์ (Cell
Wall)
-ทำาหน้าที่เป็นขอบเขตของเซลล์ ควบคุมการส่งสารผ่านเข้าออก
เซลล์ และการสื่อสารระหว่างเซลล์
-cell membrane จะเป็น lipid bi-layer มี molecule ของ protein ลอย
แทรกกระจายอยู่ทั่วไป lipid bi-layer นี้จะไม่ปะปนกับ extra และ
intracellular fluid
-ทำาหน้าที่เป็น barrier เป็น Semi permeable membrane ไม่ให้
สารบางอย่างผ่านเข้าออกได้ แต่สารบางอย่างก็สามารถผ่านได้โดยตรง
ในส่วนที่เป็น lipid ของ cell membrane
-สำาหรับ protein molecule ที่แทรกอยู่ตาม lipid bi-layer จะทำาหน้าที่
เป็น transport protein ช่วยให้สารบางอย่างผ่านได้ ซึ่งกระบวนการ
ผ่านทาง protein แต่ละชนิดก็จะแตกต่างกันไปด้วย บ้างเป็น channel
protein บ้างเป็น carrier protein ทั้งนี้ protein แต่ละชนิดจะ specific
กับ molecule ที่ protein พาผ่าน cell membrane (selective
transport)
-ในปี 1972 Singer และ Nicolson เสนอแบบจำาลองเยื่อหุ้มเซลล์แบบ
Fluid mosaic model
Transmembrane
protein
Monotypic
membrane
protein
Cell
Transportation
เป็นเยื่อหนาหุ้มอยู่ชั้นนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ สร้างขึ้นมาเพื่อเพิ่ม
ความแข็งแรงของเยื่อหุ้ม พบใน แบคทีเรีย Fungi และพืช
ในแบคทีเรีย ผนังเซลล์มีโพลีแซคคาไรด์เป็นแกน และมีโปรตีนกับ
ไขมันยึดเกาะ ชั้นที่ให้ความแข็งแรงและอยู่ชั้นในสุด เรียกว่า ชั้น
มิวรีนหรือเปปติโดไกลแคน (murine หรือ peptidoglycan)
พวกเห็ดรา ผนังเซลล์เป็นพวกไคติน (Chitin) ซึ่งเป็น
สารประกอบชนิดเดียวกันกับเปลือกกุ้ง บางครั้งอาจพบว่า มี
เซลลูโลสปนอยู่ด้วย
สาหร่าย ผนังเซลล์เป็นพวกเพคติน (Pectin) เป็นส่วนใหญ่และมี
เซลลูโลสประกอบอยู่ด้วย
ในพืช ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลสและสารประกอบพวกเพคติ
น เช่น แคลเซียมเพคเตด เป็นต้น ผนังเซลล์พืช ที่อยู่ ติดกัน ถึงแม้
จะหนาและแข็งแต่ก็มีช่องทางต่อถึงกันได้ เป็นทางติดต่อของไซโต
พลาสซึมทั้ง 2 เซลล์ ทางติดต่อนี้เรียกว่า พลาสโมเดสมาตา
(Plasmodesmata)
สารเคลือบเซลล์ โดยทั่วไปเซลล์จะมีสารเคลือบเยื่อหุ้ม
เซลล์ด้านนอกอีกชั้นหนึ่ง สารเหล่านี้ไซโตพลาสซึมเป็นตัว
สร้างขึ้นมา ในเซลล์สัตว์มีสารเคลือบพวกไกลโคโปรตีน
(glycoprotein) คือเป็นสารประกอบของคาร์โบไฮเดรตและ
โปรตีน สารเคลือบเซลล์ใน เซลล์แต่ละชนิดของสัตว์จะต่าง
กัน แต่สารเคลือบเซลล์ทำาหน้าที่อย่างเดียวกันก็คือทำาให้
เซลล์เหล่านั้นรวมกลุ่มกันได้เป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะและระบบ
อวัยวะในที่สุด บางครั้งเซลล์อาจผิดปกติมีการแบ่งตัวเร็ว
เกินไป เพราะสารเคลืิิอบเซลล์ผิดปกติจจนกลาย เป็น
มะเร็ง ซึ่งร่างกายควบคุมไม่ได้
              ในพืชสารเคลือบเซลล์ต่าง ๆ เช่น ลิกนิน
(lignin) คิวติน (cutin) ซูเบอริน (suberin) เพคติน ทำาให้
เกิดผนังเซลล์ที่ไร้ชีวิต อยู่ชั้นนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ โดยมี
เซลลูโลสเป็นแกนสำาคัญของผนังเซลล์พืชทุกชนิด และมี
เป็นของไหลโปร่งแสงที่อยู่ภายในเซลล์ โดยในโปรคารีโอทจะมีสาร
พันธุกรรมลอยอยู่ แต่ในโปรคารีโอทจะถูกกั้นโดยเยื่อหุ้ม
นิวเคลียส(Nuclear membrane)
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Cytosol, Organelles และ
Inclusion  
Cytosol-ส่วนที่เป็นของไหลภายในเซลล์
สารประกอบส่วนใหญ่เป็นนำ้าถึง 70% ที่เหลือ
เป็นโปรตีนที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาของเซลล์
ซึ่งถ้าเป็นโปรคารีโอทจะเกิดปฏิกิริยาทั้งหมดใน
Cytosol แต่ในยูคารีโอทปฏิกิริยาจะเกิดในส่วน
ของOrganelles นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ควบคุม
แรงดันเต่ง(Osmotic Pressure)ของเซลล์ ซึ่ง
จะควบคุมการเข้าออกของสารบางชนิด และ
รักษา pH ของเซลล์ให้คงที่ที่ 7.0
หน้าที่ของ Cytosol 1.เป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาเคมี
ของเซลล์
2.สลายวัตถุดิบเพื่อให้ได้พลังงานและสิ่งที่
จำาเป็นสำาหรับเซลล์
3.สังเคราะห์สารที่จำาเป็นสำาหรับเซลล์
เป็นส่วนที่มีชีวิต ทำาหน้าทีต่างๆภายในเซลล์คล้ายกับเป็น
อวัยวะของเซลล์ มาจากรากศัพท์ภาษาลาติน organ-อวัยวะ
และ Elle-ขนาดเล็ก แปลว่าอวัยวะเล็กๆ แบ่งเป็นพวกที่มีเยื่อ
หุ้ม(Membrane Bound Organelles)และไม่มีเยื่อหุ้ม(Non-
membrane Bound Organelles)Membrane Bound Organelles
ได้แก่ Vacuoles,Lysosome,Endoplasmic Reticulum,Golgi
Apparatus, Mitochondria, Chloroplast
Non-membrane Bound Organelles
ได้แก่ Ribosomes,Centriole,Microtubule
เป็นออร์แกเนลล์ขนาดเล็กที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ประกอบด้วยโปรตีนและ
กรดไรโบนิวคลีอิก กระจายอยู่ทั่วไปภายในไซโทพลาซึม โดย
อาจลอยอยู่เป็นอิสระ หรือต่อกันเป็นสาย หรือเกาะอยู่บนร่างแห
เอนโดพลาซึมและเยื่อหุ้มนิวเคลียสชั้นนอก มีหน้าที่สำาคัญใน
การสังเคราะห์โปรตีนเพื่อใช้ภายในหรือภายนอกเซลล์ พบได้
ในทั้ง Prokaryotes และ Eukaryotes
โดยที่ไรโบโซมแบ่งออกเป็น 2 sub-unit
-Prokaryotes เป็น 70s ribosome (S-Svedberg Unit)
ประกอบด้วย 50s และ 30s sub-unit
-Eukaryotes เป็น 80s ribosome ประกอบด้วย 60s และ
40s sub-unit
นอกจากใน Cytoplasm ยังพบใน Chloroplast และ
Mitochondria แต่มีขนาดเล็กกว่า
สำาหรับในไซโตพลาสซึมมี 3 ชนิด คือ
- Polysome ไรโบโซมที่เรียงแถวกันเป็น
สาย ทำาหน้าที่สร้างโปรตีนที่เป็นเอนไซม์ที่ใช้ภายในเซลล์
- Free ribosome ไรโบโซมอิสระที่ลอย
อยู่ใน Cytosol ยัง ไม่ได้ทำาหน้าที่ใดๆ
- Membrane bounded ribosome ไรโบ
โซมที่เกาะติดอยู่ กับ organelles อื่นๆ เช่น
Endoplasmic Reticulum, Mitochondria
ร่างแหเอนโดพลาซึม (Endoplasmic Reticulum) มีลักษณะ
เป็นเยื่อบาง ๆ 2 ชั้นพับไปมา แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
-แบบผิวขรุขระ (Rough Endoplasmic
Reticulum: RER) ทำาหน้าที่ร่วมกับ ไรโบโซมในการ
สังเคราะห์โปรตีนและส่งโปรตีนออกนอกเซลล์ โดยส่งผ่านทา
งกอลจิแอพ พาราตัส (Golgi Apparatus) เพื่อนำาไปใช้ในส่วน
อื่น ๆ ของสิ่งมีชีวิต
- แบบผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic
Reticulum) ซึ่งจะทำาหน้าที่แตกต่างกันไปตามประเภทของเซลล์
เช่น ในเซลล์ตับ ทำาหน้าที่กำาจัดสารพิษออกจากร่างกาย ใน
เซลล์ ของเยื่อบุผิวลำาไส้เล็ก ทำาหน้าที่ดูดซึมสารอาหารประเภท
ไขมัน ในเซลล์ชั้นนอกของต่อม หมวกไต ทำาหน้าที่สร้างไขมัน
ประเภทสเตรอยด์ที่เป็นฮอร์โมนหลายชนิด
กอลจิแอพพาราตัส (Golgi Apparatus)/กอลจิ
คอมเพล็กซ์(Golgi Complex) มีลักษณะคล้ายถุงซ้อนกันเป็นชั้น
ๆ ทำาหน้าที่สร้างคาร์โบไฮเดรตสำาหรับใช้ในปฏิกิริยาเคมีของ
เซลล์หรือรวมกับโปรตีนที่สร้างจากร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิว
ขรุขระกลายเป็นไกลโคโปรตีน (Glycoprotein) แล้วเก็บไว้ใน
ถุงเล็ก ๆ บริเวณขอบของกอลจิแอพพาราตัสที่เรียกว่า เวสสิเคิล
(Vesicle) เพื่อใช้ภายในเซลล์หรือส่งออกไปนอกเซลล์ โดยเวส
สิเคิลจะเคลื่อนที่หลุดออกจากกอลจิแอพพาราตัสไปได้
หน้าที่
-เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์สารหลาย
ชนิด เช่น คาร์โบไฮเดรต เพื่อรวมกับ
โปรตีนจากไรโบโซมได้เป็น ไกลโค
โปรตีน
-สร้าง Acrosome ในอสุจิเพื่อย่อยเยื่อหุ้ม
Egg cell
-ขับสารประกอบต่างๆ เช่น ไขมัน
ฮอร์โมน เอนไซม์ ออกทางเยื่อหุ้มเซลล์
มีลักษณะยาวรีและยืดหยุ่นได้ ความยาวก็แตกต่างกันไป
ประกอบด้วยเยื่อหุ้มสองชั้น ชั้นนอกทำาหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน
ส่วนชั้นในจะพับซ้อนไปมาเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวเรียกว่า ‘Cristae’
ภายในไมโทคอนเดรียมีของเหลวบรรจุอยู่เรียกว่า ‘Matrix’ ซึ่ง
จำานวนของไมโทคอนเดรียในเซลล์แต่ละชนิดจะไม่เท่ากัน ขึ้น
อยู่กับหน้าที่ของเซลล์ หน้าที่
สร้างสารพลังงานสูง ATP (Adenosine
Tri-Phosphate) ที่ใช้เป็นพลังงานของ
เซลล์ในการเกิดปฏิกิริยาต่างๆ ซึ่งการเกิด
ปฏิกิริยาแบ่งออกเป็น 3 บริเวณ
-เยื่อหุ้มด้านนอก > สร้างสารประกอบ
Phospholipids
-เยื่อหุ้มด้านใน > เกิดปฏิกิริยา Electron
Transport
-Matrix > Citric acid Cycle (Kreb’s
Cycle) และBeta oxidation ของไขมัน
เม็ดสีในเซลล์ เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้นพลาสติดมี
ขนาดใหญ่สามารถมองเห็นได้ภายใต้กล้องจุลทรรศน์
ภายในมี DNA จึงสามารถจำาลองตัวเองได้เช่นเดียว
กับMitochondria และรงควัตถุที่ทำาให้เกิดสีจำาแนกได้ 3
ชนิด คือ
-Chloroplast_Chlorophyllเ
ป็นรงควัตถุ
-Chromoplast_เป็นรงควัตถุ
อื่นๆ
-Leucoplast_ไม่มีรงควัตถุ
แต่จะเป็นสารอื่นๆ เข่น แป้ง
(Amyloplast) โปรตีน
(Proteoplast) ไขมัน
(Elaioplast)
คลอโรพลาสต์ มีลักษณะเป็นเม็ดกลมรี ประกอบด้วยเยื่อหุ้มสอง
ชั้น ภายในมีสารเคมีที่มีสีที่ใช้ในการสังเคราะห์แสงด้วยแสง
(Photosynthesis) ส่วนใหญ่เป็นสารสีเขียวที่เรียกว่า คลอโร
ฟิลล์ (Chlorophyll) คลอโรพลาสต์พบได้ในเซลล์พืชและสิ่งมี
ชีวิตเซลล์เดียวบางชนิด
ภายในคลอโรพลาสต ์์ประกอบด้วย ส่วนที่เป็นของเหลว เรียกว่า สโตรมา
( stroma) มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้อง กับการสังเคราะห์ด้วยแสง แบบที่ไม่ต้อง
ใช้แสง ( dark reaction) มี DNA RNA และไรโบโซม และเอนไซม์อีก
หลายชนิด ปะปนกันอยู่
ในของเหลวเป็นเยื่อลักษณะคล้ายเหรียญ ที่เรียงซ้อนกันอยู่ เรียกว่า กราน
า (grana) ระหว่างกรานา จะมีเยื่อเมมเบรน เชื่อมให้กรานาติดต่อถึงกัน
เรียกว่า อินเตอร์กรานา ( intergrana) หน่วยย่อย ซึ่งเปรียบเสมือน เหรียญ
แต่ละอัน เรียกเหรียญแต่ละอันว่า กรานาลาเมลลา ( grana lamella) หรือ
กรานาไทลาคอยด์ ( grana thylakoid) ไทลาคอยด์ในตั้งเดียวกัน ส่วนที่
เชื่อมติดกัน เรียกว่า สโตรมา ไทลาคอยด์ (stroma thylakoid) ไม่มีทาง
ติดต่อกันได้ แต่อาจติดกับไทลาคอยด์ในตั้งอื่น หรือกรานาอื่นได้
ทั้งกรานา และอินเตอร์กรานา เป็นที่อยู่ของคลอโรฟิลล์ รงควัตถุอื่นๆ และ
พวกเอนไซม์ ที่เกี่ยวข้อง กับการสังเคราะห์ด้วยแสง แบบที่ต้องใช้แสง
( light reaction) บรรจุอยู่ หน้าที่สำาคัญ ของคลอโรพลาส คือ การ
สังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) โดยแสงสีแดง และแสงสีนำ้าเงิน
เหมาะสม ต่อการสังเคราะห์ ด้วยแสงมากที่สุด
เป็นออร์แกแนลล์ ที่มีเมมเบรนห่อหุ้มเพียงชั้นเดียว ซึ่งไม่ยอม
ให้เอนไซม์ต่างๆ ผ่านออก แต่เป็นเยื่อที่สลายตัว หรือรั่วได้
ง่าย เมื่อเกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อ หรือขณะที่มีการเจริญ
เติบโต เยื่อหุ้มนี้มีความทนทาน ต่อปฏิกิริยาการย่อยของ
เอนไซม์ ที่อยู่ภายในได้ เอนไซม์ที่อยู่ในถุงของไลโซโซมนี้
เชื่อกันว่าเกิดจากไลโซโซม ที่อยู่บน RER สร้างเอนไซม์ขึ้น
แล้วส่งผ่านไปยังกอลจิบอดี แล้วหลุดเป็นถุงออกมา
• ย่อยสลายอนุภาค และโมเลกุลของสารอาหาร ภายในเซลล์
• ย่อย หรือทำาลายเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ที่เข้าสู่
ร่างกายหรือเซลล์ เช่น เซลล์เม็ด เลือดขาวกิน และย่อยสลายเซลล์
แบคทีเรีย
• ทำาลายเซลล์ที่ตายแล้ว หรือเซลล์ที่มีอายุมาก โดยเยื่อของไล
โซโซม จะฉีกขาดได้ง่าย แล้ว ปล่อยเอนไซม์ออกมา ย่อยสลายเซลล์ดัง
กล่าว
• ย่อยสลายโครงสร้างต่างๆ ของเซลล์ ์์ในระยะที่เซลล์มีการ
เปลี่ยนแปลง และมีเมตามอร์โฟซีส (metamorphosis) เช่น ในเซลล์
ส่วนหางของลูกอ๊อด
ไลโซโซม แบ่งออกเป็น 4 ชนิด
•  ไลโซโซมระยะแรก(primary lysosome) มีนำ้าย่อยที่สังเคราะห์มาจากไรโบโซม และ
เก็บไว้ในกอลจิบอดี แล้วหลุดออกมาเป็นถุง
•  ไลโซโซมระยะที่ 2 (secondary lysosome) เกิดจากไลโซโซมระยะแรกรวมตัวกับสิ่ง
แปลกปลอมที่เข้ามาในเซลล์ โดยวิธีฟาโกไซโตซิส (phagocytosis) หรือ พิโนไซโตซิส
(pinocytosis) แล้วมีการย่อยต่อไป
•  เรซิดวล บอดี(residual body) เป็นส่วนที่เกิดจากการย่อยอาหาร ในไลโซโซมระยะที่
สองไม่สมบูรณ์ มีกากอาหารเหลืออยู่ ในเซลล์บางชนิด เช่น อะมีบา โปรโตซัว จะขับกาก
อาหารออก ทางเยื่อหุ้มเซลล์ โดยวิธีเอกโซไซโตซิส(exocytosis) หรือในเซลล์บางชนิด
อาจสะสมไว้เป็นเวลานานซึ่งสามารถใช้บอกอายุของเซลล์ได้ เช่น รงควัตถุที่สะสมไว ์้
เป็นออร์แกเนลล์ขนาดเล็ก ที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียวรูปร่างคล้ายไลโซโซมแต่
สามารถแบ่งตัวได้เองคล้ายกับไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์ ภายใน
ประกอบด้วยเอนไซม์หลายชนิด เพอรอกซิโซม จะทำางานได้ดี ใน
กระบวนการเมตาโบลิซึมของไขมัน และเกี่ยวกับการกำาจัดสารพิษ เช่น เอ
ทานอล ( ethanol)
หน้าที่
-ในกระบวนการเมตาบอลิสม์ของกรดไขมัน เพอรอกซิโซมจะหลั่งเอนไซม์
ชื่อ คะตะเลส ( Catalase) มาย่อยไฮโดรเจนเพอรอกไซด์ (Hydrpgen
peroxide) ซึ่งเป็นพิษต่อเซลล์ ให้กลายเป็นโมเลกุลนำ้า
-ในพืชเพอรอกซิโซม มีบทบาทสำาคัญ คือ เปลี่ยนกรดไขมัน ที่สะสมอยู่ใน
เมล็ดพืช ให้เป็นคาร์โบไฮเดรต สำาหรับใช้เป็น ในการงอกของเมล็ด โดย
ผ่านวัฏจักรไกลออกซิเลท ( Glyoxylate cycle)
เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว มีลักษณะเป็นถุง
มีเมมเบรนซึ่งเรียกว่า โทโนพลาสต์( tonoplast)ห่อ
หุ้มภายในมีสารต่างๆบรรจุอยู่ โดยทั่วไปจะพบใน
เซลล์พืชและสัตว์ชั้นตำ่า ในสัตว์ชั้นสูงมักไม่ค่อยพบหน้าที่
เก็บสะสมสารที่เป็นอันตรายต่อไวโตพลาสซึมของ
เซลล์ในเซลล์พืชที่ยังอ่อนจะมีแวคิวโอลเล็กๆเป็น
จำานวนมากเซลล์พืชที่เจริญเติบโตเต็มที่สมบูรณ์แว
คิวโอลจะรวมกันมีขนาดใหญ่มากประมาณ 95%
หรือมากกว่าโดยปริมาตรของแต่ละเซลล์
•  แซปแวคิวโอล(Sap vacuole) พบเฉพาะในเซลล์พืช
เท่านั้นภายในบรรจุของเหลวซึ่งส่วนใหญ่เป็นนำ้าและสาร
ละลายอื่นๆ ในเซลล์พืชที่ยังอ่อนๆอยู่ มีขนาดเล็ก รูปร่าง
ค่อนขางกลม แต่เมื่อเซลล์แก่ขึ้น แวคิวโอลชนิดนี้จะมี
ขนาดใหญ่เกือบเต็มเซลล์ ทำาให้ส่วนของนิวเคลียสและไซ
โทพลาสซึม ส่วนอื่นๆ ถูกดันไปอยู่ทางด้านข้าง ด้านใด
ด้านหนึ่งของเซลล์
•  ฟูดแวคิวโอล(Food vacuole) พบในโพรโทซัวพวก
อะมีบาและพวกที่มีขนซีเลีย นอกจากนี้ ยังพบในเซลล์เม็ด
เลือดขาวและฟาโกไซทิกเซลล์(Phagocytic cell)อื่นๆ
- เป็นร่างแห ตาข่ายของเส้นใยโปรตีนที่แผ่ขยายปกคลุมอยู่ทั่วไซโทพลา
ซึม
- ทำาหน้าที่คงรูปร่างของเซลล์โดยทำาให้เซลล์ทนต่อแรงอัดจากภายนอก
- เส้นใยโปรตีนที่ประกอบเป็นสารโครงร่างเซลล์ มี 3 ชนิด คือ ไมโครทูบู
ล(Microtubule)ไมโครฟิลาเมนต์ (Microfilament)และอินเตอร์มีเดียทฟิลา
เมนต์(Intermediate filament)
-ไมโครทูบูล (microtubule) เป็นแท่งกลวงขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลาง 25 นาโนเมตร ยาว 200
นาโนเมตร – 25 นาโนเมตร
 - ประกอบด้วยโปรตีนก้อนกลม (globular
protein) ชื่อว่าทูบูลิน (tubulin) ซึ่งมี 2 หน่วย
ย่อย คือ แอลฟาทิวบูลิน (alpha – tubulin) และ
บีตาทูบูลิน (beta – tubulin)
-เซนโทรโซม (centrosome) เป็นศูนย์ควบคุม
การประกอบไมโครทูบูลซึ่งอยู่ใกล้ๆกับนิวเคลียส
ภายในบริเวณเซนโทรโซมจะพบเซนทริโอล
จำานวน 1 คู่ เซนทริโอล 1 อัน มีรูปร่างเป็นทรง
กระบอกประกอบด้วยท่อไมโครทูบูล 3 ท่อ
จำานวน 9 ชุด มาเรียงตัวกันเป็นวงแหวนตรง
กลางไม่มีท่อทูบูลินเรียกโครงสร้าง
แบบนี้ว่า 9 + 0
- เซนทริโอล คู่นี้ จะวางตั้งฉากกันและเกี่ยวข้อง
กับการแยกโครโมโซม ระหว่างการ แบ่งตัวของ
หน้าที่     
- ช่วยรักษารูปร่างของเซลล์ ไมโคร
ทูบูล เปรียบเสมือนแท่งเหล็กที่ทน
ต่อแรงอัดภายนอก
- ทำาให้เกิดการเคลื่อนไหวของซิ
เลีย และแฟลเจลลา ซึ่งส่งผลให้
เซลล์ที่มีซิเลีย หรือแฟลกเจลลาเป็น
ส่วนประกอบเกิดการเคลื่อนที่ได้
(ไมโครทูบูลในซิเลีย และแฟลเจล
ลา จะมีการเรียงตัวแบบ 9+2 ซึ่ง
ประกอบด้วยไมโครทูบูล 2 ท่อ
จำานวน 9 ชุด จัดเรียงตัวเป็น
วงแหวนโดยตรงกลาง มีท่อไมโคร
ทูบูลจำานวน 2 ท่อวางอยู่
- ช่วยในการแยกโครโมโซม
ระหว่างเซลล์กำาลังแบ่งตัว
- ช่วยในการเคลื่อนที่ของออร์
แกเนลล์
งสร้างที่มี microtubules เป็นส่วนประกอบ
เซนโตรโซมและเซนตริโอล (Centrosomes & Centrioles)  ใน
เซลล์ยูคาริโอตทั่วไป  ไมโครทิวบูลจำานวนหนึ่งจะรวมกลุ่มกันใกล้นิวเคลียส
เรียกว่า  เซนโตรโซม
   ในเซลล์สัตว์ภายในเซนโตรโซม จะประกอบด้วย เซนตริโอลซึ่งวางตั้งฉาก
กัน 1 คู่ เป็นเซตของไมโครทิวบูล 9 กลุ่มๆ ละ 3 ท่อ (ดูภาพประกอบ) เรียงตัว
เป็นวงแหวนรอบศูนย์กลาง ในตอนที่เซลล์จะแบ่งเซลล์ เซนตริโอลจะเพิ่ม
จำานวนเป็น 2 เท่า เพื่อแยกไปอยู่ในแต่ละเซลล์ใหม่ และช่วยเหลือในการแยก
โครโมโซมออกจากกัน
   ในกรณีของเซลล์พืชเราจะไม่พบเซนตริโอล แต่จะมีเซนโตรโซมทำาหน้าที่
แทน (เซนตริโอลของเซลล์สัตว์)
สร้างที่มี microtubules เป็นส่วนประกอบ
คาริโอตเซลล์เดียวบางพวกจะมี
โครงสร้างพิเศษที่ช่วยในการ
เคลื่อนที่ ซึ่งมีไมโครทิวบูลเป็น
องค์ประกอบ คือ ซีเลียและแฟลก
เจลลา ซึ่งเป็นส่วนรยางค์ที่ยื่น
ออกมาจากเซลล์ ตัวอย่างเซลล์ที่
ซีเลียหรือแฟลกเจลลา ; พารามี
เซียม, สเปิร์ม เป็นต้น
      ซีเลีย ในแต่ละเซลล์จะพบ
มีจำานวนมาก แต่ละซีเลียมีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 250
นาโนเมตร และยาวประมาณ 2-
20 ไมโครเมตร
      แฟลกเจลลามีเส้นผ่า
ศูนย์กลางใกล้เคียงกับซีเลียแต่มี
ความยาวกว่ามาก คือ ยาว
ประมาณ 10-200 ไมโครเมตร
และในแต่ละเซลล์จะมีแฟลกเจล
ลา 1-2 อันเท่านั้น
ส่วนที่ใช้สร้าง ซีเลียและแฟลกเจลลาฝังตัวอยู่ในเซลล์ เรียกว่า เบซัล
บอดี (basal body)ซึ่งมีโครงสร้างเหมือนกับเซนตริโอล ในเซลล์สัตว์
เบซัลบอดีของสเปิร์มเมื่อเข้าไปรวมกับไข่แล้วจะกลายเป็นเซนตริโอ
ลนั่นเอง
เป็นแท่งแข็งเล็กๆ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 นาโนเมตร มีชื่อเรียกอีก
ชื่อหนึ่งว่า "actin filament" เนื่องจากโครงสร้างของโมเลกุล
ประกอบด้วย actin (เป็น globular protein) 2 subunit พันกันเป็นสาย
เกลียว ไมโครฟิลาเมนต์พบได้ในเซลล์ยูคาริโอตทุกชนิดหน้าที่
-รักษา cell shapeและการ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างของ
เซลล์
-การหดตัวของกล้ามเนื้อ
-การไหลเวียนของไซโต
พลาสม (cytoplasmic
streaming)
-การเคลื่อนที่ของ
เซลล์(Pseudopodia)
-การแบ่ง
เซลล์(กระบวนการ
cleavage)
เป็นเส้นใยโปรตีนที่พันกันหลายชั้น
คล้ายๆกับสายเคเบิลมีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 8-12 นาโนเมตรประกอบ
ด้วยเส้นใยโปรตีนชนิด keratin ซึ่งจะ
ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์
งของเซลล์อินเตอร์มีเดียทฟิลาเมนต์ ทนต่อแรงดึงภายนอกเช่นเดียวกับไมโคร
นลล์ บางอย่างให้อยู่กับที่ เช่น นิวเคลียสถูกยึดให้อยู่ในกรงที่ทำาด้วย อินเตอร
ลาร์มินาร์ (nuclear larninar)
ภายในนิวเคลียสประกอบไปด้วย
โครมาติน (Chromatin) ซึ่ง
ประกอบไปด้วย DNA และ
โปรตีน เมื่อเซลล์เตรียมการแบ่ง
เซลล์ โครมาตินจะหดสั้นเข้า
ทำาให้มองเห็นเหมือนขดลวด
สปริงเรียกโครมาตินที่หดสั้นเข้า
นี้ว่าโครโมโซม
(Chromosome) ใน 1
โครโมโซมอาจมี 1 หรือ 2 โค
รมาติดก็ได้ (เรียกว่าsister
chromatid) นิวคลีโอลัส
(Nucleolus) มีหน้าที่ในการ
สังเคราะห์ ไรโบโซม
(Ribosome) เยื่อหุ้ม
องค์ประกอบของนิวเคลียส
-เยื่อหุ้มนิวเคลียส หรือ Nuclear Envelope มีลักษณะเป็น menbrane 2
ชั้น แบ่งขอบเขตระหว่าง nucleus กับ cytoplasm เยื่อหุ้มนิวเคลียสทำา
ด้วย "lipid bilayer+protein" ผนัง 2 ชั้นหนาประมาณ 20-40 นาโนเมตร
ที่ผิวของเยื่อหุ้มนิวเคลียสมีรู (pore/annulus) ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 100
นาโนเมตร อยู่มากมาย ที่ผนังด้านในของเยื่อหุ้มนิวเคลียส บุด้วย nuclear
lamina
-โครมาติน/chromatin มีลักษณะเป็นสายยาวของ DNA+protein ถ้า
เราย้อมสีโครมาตินแล้ว สามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์   ในขณะ
ที่เซลล์เตรียมการแบ่งเซลล์ โครมาตินจะหดสั้นและมีความหนาขึ้น คล้าย
ขดลวดสปริง สามารถมองเห็นได้ชัดเจนด้วยกล้องจุลทรรศน์ เราเรียกว่า
โครโมโซม(chromosome)
-นิวคลีโอลัส/nucleolus เป็นโครงสร้างที่เห็นเด่นชัด ในขณะที่เซลล์
ไม่ได้แบ่งเซลล์ เป็นก้อนกลมหนาที่เชื่อมต่อกับ chromatin  นิวคลีโอลัส
-แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามขนาดของสาร คือ สารขนาด
เล็กและสารขนาดใหญ่
1. การขนส่งสารขนาดเล็ก มีแบบ Passive Transport และ
Active Transport
2. การขนส่งสารขนาดใหญ่ มีแบบ Endocytosis และ
Exocytosis
-การขนส่งสารแบบ Passive Transport เป็นการเคลื่อนที่ของ
ตัวถูกละลายจากที่ที่มีความเข้มข้นมากไปยังที่ที่มีความเข้มข้น
น้อย ซึ่งอาจจะเป็นความเข้มข้นเชิงปริมาณ หรือความเข้มข้น
เชิงไฟฟ้าก็ได้ แบ่งออกเป็นการแพร่แบบเชิงเดี่ยว (Simple
Diffusion)
การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion)
Animal
Cell
Plant Cell
-เป็นการขนส่งสารผ่านเยื่อหุ้ม จากที่ที่มีความเข้มข้นตำ่า
ไปยังความเข้มข้นสูงผ่านโปรตีนตัวพา และใช้พลังงาน
ในการดึงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
เป็นการนำาสารโมเลกุลขนาด
ใหญ่เข้าสู่เซลล์ โดยอาศัยการ
โอบล้อมของเยื่อหุ้มเซลล์เกิด
เป็น ถุงFood vacuoleภายใน
เซลล์ มีหลายวิธี
- Pinocytosis เป็นการนำาสารที่
เป็นของเหลวเข้าสู่เซลล์
สามารถแบ่งตามขนาดของสาร
ได้อีก 2 กระบวนการ คือ
micropinocytisis และ
macropinocytosis
- Phagocytosis เป็นการนำาสาร
ที่เป็นของแข็งเข้าสู่เซลล์ อาศัย
เท้าเทียม(pseudopodium)โอบ
ล้อมเข้าสู่เซลล์
- Receptor mediate
endocytosis เป็นการนำาสาร
เป็นการนำาสารออกจากเซลล์ โดยสารนั้นอยู่ภายใน Secretory vesicle
ซึ่งถุงเหล่านี้จะเชื่อมติดกับเยื่อหุ้มเซลล์ทำาให้เยื่อหุ้มของถุงแทรกเข้าไปใน
เยื่อหุ้มเซลล์ดังนั้นสารจึงหลุดออกสู่นอกเซลล์ พบได้ทั้งในเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์ที่มีการปล่อยสารหลั่งต่างๆ เช่น เอนไซม์ ฮอร์โมน นิวโรทราน
สมิตเตอร์ แอนติบอดี สารเคลือบเซลล์ และส่วนประกอบของผนังเซลล์ ซึ่ง
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
- Constitutive secretion สารที่ส่งออกนอกเซลล์โดยไม่ต้องมีตัว
กระตุ้น เช่น สารเคลือบเซลล์ โปรตีนแทรกไขมันของเยื่อหุ้ม
- Regulated secretion สารที่ส่งออกนอกเซลล์ที่ต้องอาศัยตัว
กระตุ้นจากภายนอก เช่นการปล่อยเอนไซม์ ฮอร์โมน
เป็นการเชื่อมต่อกันของเซลล์โดยอาศัยการเปลี่ยนโครงสร้าง
ของเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อให้เซลล์ติดกันอยู่ได้ ในเซลล์สัตว์ แบ่ง
ออกเป็น 3 ชนิด คือ Desmosome, Tight junction และ Gap
junction ส่วนเซลล์พืช เป็น Plasmodesmata
ทำาหน้าที่เชื่อมเซลล์ให้ติดกันทำาให้เซลล์รวมติดกันเป็นเนื้อเยื่อและ
คงรูปอยู่ได้ มี 2 ชนิดคือ Spot desmosome และ Belt
desmosome พบในเซลล์สัตว์ทุกชนิด โดยเฉพาะเซลล์ที่มีการ
ขยับอยู่ตลอดเวลา เช่น ผิวหนัง กล้ามเนื้อหัวใจ ทางเดินอาหาร
Spot
desmosome
Belt
desmosome
เกิดจากการรวมกันของเยื่อหุ้มเซลล์ของ 2 เซลล์ จนสารไม่สามารถ
ผ่านได้ มีลักษณะเป็นแนวสันนูนของอนุภาคซึ่งประกอบด้วยโปรตีน
หลายชนิด ทำาหน้าที่ป้องกันเคลื่อนที่ของนำ้าหรือตัวทำาละลายผ่าน
ทางช่องว่างระหว่างเซลล์ พบมากใน เยื่อบุผนังทางเดินอาหาร เยื่อ
บุกระเพาะปัสสาวะ เพื่อไม่ให้เอนไซม์หรือปัสสาวะไหลย้อนกลับ
เป็นช่องสำาหรับแลกเปลี่ยนสารเคมีระหว่างเซลล์ และสัญญาณ
ประจุไฟฟ้าสามารถผ่านได้ โดยมีโครงสร้างที่เรียกว่า
Connexon ซึ่งประกอบจากโปรตีน Connexin 4-6 อันมา
เรียงเป็นวงกลม ตรงกลางเป็นรูกลวงเพื่อให้สารผ่านได้
การแบ่งเซลล์มี 2 ขั้นตอน คือ
1. การแบ่งนิวเคลียส (Karyokinesis) จะมี 2 แบบ คือ
1.1 การแบ่งแบบไมโทซีส(Mitosis) เป็นการแบ่ง
นิวเคลียสของเซลล์ร่างกาย โดยทั่วไป (SOMATIC
CELL) หลังจากแบ่งเซลล์เสร็จสิ้นแล้วเซลล์จะ ยังคง
มีจำานวนโครโมโซมเท่าเดิม
1.2 การแบ่งแบบไมโอซีส(Meiosis) เป็นกระบวน
การแบ่งนิวเคลียสเพื่อให้ ได้เซลล์สืบพันธุ์ โดยแต่ละ
เซลล์ที่ได้มีจำานวนโครโมโซมลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง ของ
เซลล์เดิม
2. การแบ่งไซโทพลาสซึม (Cytokinesis) มี 2 แบบ คือ
2.1 แบบที่เยื่อหุ้มเซลล์คอดกิ่วจาก 2 ข้างเข้าใจ
กลางเซลล์เรียกว่าแบบ furrow type ซึ่งพบในเซลล์
สัตว์
2.2 แบบที่มีการสร้างเซลล์เพลท (cell plate) มาก่อ
๑) ระยะอินเตอร์เฟส (interphase)
เป็นระยะที่เซลล์เตรียมตัวให้พรอ้ม
ก่อนที่จะแบ่งนิวเคลียสและไซโท
พลาซึม เซลล์ในระยะนี้ มีนิวเคลียส
ขนาดใหญ่ และเห็นนิวคลีโอลัส
ชัดเจนเมื่อย้อมสี แบ่งเป็นระยะย่อย
ได้ 3 ระยะ คือ
G1- ระยะก่อนสร้าง DNA
S - ระยะสร้าง DNA
G2- ระยะหลังสร้าง DNA
๒)ระยะโพรเฟส(Prophase)
-มีการสลายตัวของNucleolusc
และ เยื่อหุ้มนิวเคลียส
-มีการขดตัวของโครโมโซม มอง
เห็น1 โครโมโซมมี 2 โครมาติด
- Centriole จำาลองตัวเองแล้ว
เคลื่อนที่ไปสู่ขั้วเซลล์ พร้อมสร้าง Mitotic
spindle fiber
๓) ระยะเมตาเฟส(Metaphase)
-เยื่อหุ้มนิวเคลียสสลายตัวจนหมด
-โครโมโซมเรียงตัวกันที่กลางเซลล์
-Mitotic Spindle จับที่ตำาแหน่ง
Centromere ของโครโมโซม
๔)ระยะแอนาเฟส(Anaphase)
-Centromere แยกออกทำาให้โค
รมาติดแยกออกจากกัน
ส่วนmitotic spindle หดสั้นเข้า
ทำาให้โครมาติดที่แยกออกเริ่มเค
ลื่อที่เข้าสู่ขั้วเซลล์
๔)ระยะเทโลเฟส(Telophase)
-โครโมโซมเคลื่อนที่สู่ตำาแหน่งขั้ว
เซลล์
-มีการสร้างนิวคลีโอลัสและเยื่อหุ้ม
นิวเคลียสกลับคืนมา
-Mitotic spindle สลายตัว และเริ่มมี
การคลายตัวของเส้นสายโครโมโซม
-เริ่มต้นการแบ่งไซโตพลาสสม
การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโอซิส (meiosis) การแบ่งเซลล์แบบนี้นิวเคลียส
มีการเปลี่ยนแปลงโดยลดจำานวนโครโมโซมลงครึ่งหนึ่ง เป็นการแบ่งเพื่อ
สร้างเซลล์สืบพันธุ์ เซลล์ร่างกายของคนมีโครโมโซมอยู่ 46 โครโมโซม
หรือ 23 คู่ แต่ละคู่มีรูปร่างลักษณะเหมือนกัน เรียกโครโมโซมที่เป็นคู่กัน
ว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome) และเซลล์ที่มี
โครโมโซมเข้าคู่กันได้เรียกว่า เซลล์ดิพลอยด์ (diploid cell) การแบ่ง
เซลล์แบบไมโอซิสนี้ นิวเคลียสมีการเปลี่ยนแปลง 2 รอบ
รายละเอียดของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส มีดังนี้ระยะอินเตอร์เฟส I => ระยะไมโอซิส I ประกอบด้วย
ระยะโพรเฟส I
ระยะเมทาเฟส I
ระยะแอนาเฟส I
ระยะเทโลเฟส I
ระยะอินเตอร์เฟส II => ระยะไมโอซิส II ประกอบด้วย
ระยะโพรเฟส II
ระยะเมทาเฟส II
ระยะแอนาเฟส II
ระยะเทโลเฟส II
meiosis I (reductional division)
เป็นการลดจำานวนโครโมโซมลงครึ่งหนึ่ง จากเซลล์เริ่มต้นที่มี
จำานวนโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ (Diploid) (2n) จะได้เซลล์ที่มี
โครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ (Haploid) 2 เซลล์
Prophase I เป็นระยะที่มีความซับซ้อนมากที่สุด แบ่งออกเป็น 5 ระยะ
- leptotene เริ่มมีการพันเกลียวของโครโมโซม
ให้สั้นเข้าและหนาขึ้น
- zygotene โครโมโซมที่เป็นคู่กันจะมาแนบชิด
กันตามความยาวของ โครโมโซม
- pachytene ไบวาเลนท์หดตัวสั้นเข้าและหนา
ขึ้น และการแนบชิดของ โครโมโซมที่เป็นคู่กันจะ
สมบูรณ์และสิ้นสุดลง
- diplotene โครโมโซมที่เป็นคู่กันจะเริ่มแยก
ออกจากกัน แต่มีส่วนที่ ติดกันอยู่ เรียกว่า
ไคแอสมา
- diakinesis คล้ายกับดิโพลทีน แต่โครโมโซม
Metaphase I
-เยื่อหุ้มนิวเคลียสจะสลายไป
และแต่ละไบวาเลนท์จะ
เคลื่อนที่มาเรียงตัวตรงกลาง
เซลล์
Anaphase I
เซนโทรเมียร์จะยังไม่แบ่งตัว
จาก 1 เป็น 2 และโครโมโซม
ที่เป็นคู่กันจะแยกไปยังขั้วของ
เซลล์แต่ละโครโมโซมที่แยก
ไปสู่ขั้วเซลล์ยังคงประกอบ
ด้วย 2 โครมาติด และขาดคู่ไป
ทำาให้จำานวนโครโมโซมที่ขั้ว
telophase I
-โครโมโซมที่ขั้วเซลล์ที่มี
จำานวนโครโมโซมลดลงครึ่ง
หนึ่งนี้เมื่อมีการสร้างเยื่อหุ้ม
นิวเคลียสขึ้นมาล้อมรอบ
โครโมโซมและเกิดการแบ่งไซ
โทพลาสซึมจะได้เซลล์ลูก 2
เซลล์ มีจำานวนโครโมโซมเป็น
แฮพลอยด์ (n)
Meiosis II (equational division)
คล้ายคลึงกับการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส มีการแยกตัวของ
โครมาติดเกิดขึ้น เมื่อสิ้นสุดระยะนี้จะได้ 4 เซลล์ที่มีจำานวน
โครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ และ 4 เซลล์ที่ได้มีจำานวน
โครโมโซมและพันธุกรรมแตกต่างจากเซลล์เริ่มต้น
Prophase II
โครโมโซมของแต่ละเซลล์จะเริ่ม
ปรากฏขึ้นมาใหม่
Metaphase II
เยื่อหุ้มนิวเคลียสหายไป
แต่ละโครโมโซมที่ประกอบ
ด้วย 2 โครมาติด จะเคลื่อน
ตัวมาเรียงบริเวณตรงกลาง
เซลล์
Anaphase II
เซนโทรเมียร์ของแต่ละ
โครโมโซมจะแบ่งตัวจาก
1 เป็น 2 และโครมาติด
จะแยกออกจากกันไปยัง
ขั้วของเซลล์ ทำาหน้าที่
เป็นโครโมโซมใหม่Telophase II
เกิดเยื่อหุ้มนิวเคลียสขึ้นมา
ล้อมรอบโครโมโซมที่ขั้ว เมื่อ
เกิดการแบ่งไซโทพลาสซึม
อีกจะได้เซลล์ลูก 4 เซลล์
แต่ละเซลล์มีจำานวน
โครโมโซมเป็นแฮพลอยด์
และมีพันธุกรรมแตกต่างจาก
Exercis
ea. จงอธิบายทฤษฎีเซลล์ทั้ง ๓ ข้อ
b. จงเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง Eukaryote และ
Prokaryote
c. จงเขียนแผนภูมิความคิดอธิบาย หน้าที่ของ Organelles
ของสิ่งมีชีวิต
d. จงเขียนแผนภูมิความคิดอธิบาย การขนส่งสารผ่านเข้า
ออกเซลล์
e. จงเขียนแผนภาพและอธิบายการแบ่งเซลล์แบบ Mitosis
และ Meiosis โดยกำาหนดให้ 2n = 8
สัตว์และพืชเมื่อแบ่งเซลล์แล้ว เซลล์ที่ได้ใหม่จะมีการรวมกลุ่มกันเป็น
เนื้อเยื่อ (tissue) ชนิดต่างๆ เนื้อเยื่อชนิดต่างๆ จะรวมกันเป็นอวัยวะ
(organ) และอวัยวะก็รวมกันเป็นระบบ (system) ระบบแต่ละระบบก็ทำา
หน้าที่เฉพาะลงไป เช่นระบบย่อยอาหาร (digestive system) ระบบเหล่า
นี้จะรวมกันและประกอบขึ้นเป็นรูปร่างหรือร่างกายของสิ่งมีชีวิตแต่ละ
ชนิด (body)
1. เนื้อเยื่อของสัตว์ (animal tissue) จำาแนกออกเป็น
       1.1 เนื้อเยื่อบุผิว (epithelial tissue)  เป็นเนื้อเยื่อที่บุผิวนอก
ร่างกาย หรือเป็นผิวของอวัยวะ หรือบุช่องว่างภายในร่างกาย
โดยเนื้อเยื่อบุผิวจะเรียวตัวอยู่บนเยื่อรองรับฐาน (basement
membrane) และผนังด้านบนของเยื่อบุผิว ไม่ติดต่อกับเนื้อ
เยื่ออื่นๆ ไม่มีเส้นเลือดมาเลี้ยง ได้รับสารอาหาร แก๊สต่างๆ
จากการแพร่
เยื่อบุผิวเมื่อจำาแนกตามรูปร่างและการจัดระเบียบของเซลล์ ได้
ดังนี้
      1) เยื่อบุผิวเรียงตัวชั้นเดียว (simple epithelium)
ประกอบด้วยเซลล์รูปร่าง 3 แบบ คือ
เซลล์รูปร่างแบนบาง (simple spuamous epithelium)
เซลล์รูปเหลี่ยมลูกบาศก์ (Simple Cuboidal epithelium)
เซลล์ทรงสูง (simple columnar epithelium)
-สความัส (Squamous) เซลล์มีรูปร่างแบน ถ้าเซลล์เรียงตัวชั้น
เดียวเรียกว่า ซิมเปิล สความัส (Simple squamous) พบที่ถุงลม
ในปอด เซลล์บุผิวหลอดเลือด ทำาหน้าที่เป็นตัวกลางในการแพร่
ผ่านของสาร นอกจากนั้นยังพบเซลล์แบบสความัสนี้ในไต และ
ช่องว่างส่วนใหญ่ในลำาตัว เซลล์เหล่านี้ไม่ค่อยมีกระบวนการเม
ตาบอลิซึมมากนัก ทำาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการแพร่ของนำ้า
สารละลาย และสารอื่นๆ
-คิวบอยดัล (Cuboidal) เซลล์มีลักษณะเหลี่ยมคล้าย
ลูกบาศก์ ความสูงเท่าๆ กับความกว้าง นิวเคลียสมักอยู่
บริเวณกลางเซลล์
-คอลัมนาร์ (Columnar) เซลล์มีความสูงมากกว่าความกว้าง
เซลล์ที่เรียงตัวชั้นเดียวเรียกว่า ซิมเปิล คอลัมนาร์ (Simple
columnar) นิวเคลียสมักอยู่ใกล้กับฐานเซลล์ พบบุผิวที่
ลำาไส้เล็ก และพบเซลล์ที่ทำาหน้าที่เป็นต่อมหลั่งสารเรียกว่า
เซลล์กอบเลท (Goblet cell) อยู่กระจายทั่วไปในชั้นของ
เนื้อเยื่อนี้เพื่อทำาหน้าที่หลั่งเมือก ด้านบนของเซลล์อาจพบ
ส่วนที่ยื่นออกมาคล้ายเส้นขนขนาดเล็กเรียกว่า ไมโครวิลไล
(Microvilli) ทำาหน้าที่ช่วยเพิ่มพื้นที่การดูดซึม
2) เยื่อบุผิวเรียงตัวหลายชั้น (stratified epithelium) เป็น
เนื้อเยื่อบุผิวที่ประกอบด้วยเซลล์เรียงตัวหลายชั้น ได้แก่
1. Stratified squamous epithelium เป็นเนื้อเยื่อบุผิวที่
ประกอบด้วยเซลล์ รูปร่างหลายเหลี่ยม แบนบาง เรียงกันหลาย
ชั้น เช่น พบที่ผิวหนัง
2. Stratified cuboidal epithelium ประกอบด้วย เซลล์รูป
สี่เหลี่ยมลูกบาศก์ เรียงตัวหลายชั้น เช่น พบที่ต่อมเหงื่อ
3. Stratified columnar epithelium ประกอบด้วย เซลล์รูปทรง
กระบอกสูง ตั้งอยู่บนเยื่อบุผิวอื่นๆ เช่น พบที่บางบริเวณของเยื่อบุ
คอหอย
3) เยื่อบุผิวเรียงตัวหลายชั้นเทียม (Pseudostratified epithelium) เป็น
เนื้อเยื่อบุผิว ที่ประกอบด้วยเซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียวบนเยื่อฐาน
รองรับ แต่ระดับความสูงของเซลล์ต่างๆ ไม่เท่ากัน ทำาให้เห็นเหมือนกับ
ว่า เซลล์ซ้อนกันหลายชั้น พบที่ผนังหลอดลม
4) เนื้อเยื่อบุผิวเรียงตัวซ้อนกันหลายชั้นแบบยืดหยุ่น (transitional
epithelium) เป็นเนื้อเยื่อบุผิว ที่ประกอบด้วยเซลล์เรียงตัวของเซลล์
หลายชั้น โดยที่เซลล์สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ระหว่างเป็นแบบ
squamous กับ cuboidal cell ขึ้นอยู่กับสภาพของอวัยวะ เช่น พบที่
ผนังชั้นในของกระเพาะปัสสาวะ
หน้าที่ของเนื้อเยื่อบุผิว
a.ป้องกันอันตรายให้กับสิ่งที่ปกคลุม
b.ดูดซึมสารอาหาร และดูดสารบาง
ประเภทกลับสู่ร่างกาย
c.สร้างและหลั่งสารคัดหลั่งต่างๆ
d.รับรู้สัมผัสพิเศษต่างๆ
e.หดและคลายตัวเพื่อขับสารบางชนิด
นอกจากนี้อาจมีสิ่งอื่นๆเพิ่มเติมบน
เนื้อเยื่อบุผิว เช่น ซีเลีย แฟลกเจลลา
ไมโครวิลไล เป็นต้น เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทำางานของเนื้อเยื่อบุผิว
2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective Tissue)
เป็นเนื้อเยื่อที่พบแทรกอยู่ทั่วไปใน
ร่างกาย ทำา หน้าที่ ยึดเหนี่ยวหรือ
พยุงอวัยวะ ให้คงรูป อยู่ได้ ลักษณะ
ของเนื้อเยื่อชนิดนี้ คือตัวเซลล์และเส้นใย
กระจายอยู่ ในสารระหว่างเซลล์ที่เรียกว่า เมทริกซ์
(matrix) ซึ่งเส้นใยที่พบ ได้แก่
- เส้นใยคอลลา
เจน(collagen fiber)
รวมกันเป็นมัด มีความแข็งแรง
       - เส้นใยอิลาสติก (elastic
fiber) แตก แขนงเป็นเส้น มี
ความยืนหยุ่นสูง
       - เส้นใยร่างแห(reticular
fiber) คล้าย Collagen แต่
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
1. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันสมบูรณ์(connective tissue
proper)
2. กระดูกอ่อน (cartilage)
3. กระดูกแข็ง(bone)
4. เลือด (blood)
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันสมบูรณ์ (Connective Tissue Proper)
แบ่งออกเป็น ๑. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดโปร่งบาง Loose Connective
Tissue
เป็นเนื้อเยื่อมีเส้นใยเรียงตัว ไม่เป็นระเบียบ ชนิด
ที่พบมาก ได้แก่ คอลลาเจนและ อิลาสติก
สำาหรับเส้นใยร่างแหพบ เล็กน้อย
เซลล์ที่พบในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ชนิดโปร่งบาง
ได้แก่
        - เซลล์ไฟโบรบลาสต์(fibroblast)
        - เซลล์แมโครฟาจ (macrophage)
    - เซลล์แมสต์ (mast cell)
        - เซลล์พลาสมา (plasma cell)
เนื้อเยื่อชนิดนี้ทำาหน้าที่คำ้าจุนเนื้อเยื่อ
อื่นๆ ให้อยู่ใน ตำาแหน่ง ที่เหมาะ
สม จึงมีเส้นใยอยู่กันอย่างหลวมๆ
Fibroblast Cell Macrophage
Cell
Mast Cell Plasma Cell
๒. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแน่นทึบ (Dense Connective Tissue)
พบปริมาณเส้นใยมากอยู่ติดกันแน่นทึบ ทำาให้มี
ช่องว่าง ระหว่างเซลล์น้อยแบ่งเป็น 3
ลักษณะคือ
       - ชนิดเกี่ยวพันทึบ พบตามเอ็นกล้ามเนื้อ
(tendon) และ เอ็นยึด (ligament) ประกอบด้วย
เส้นใย คอลลาเจนเรียง ตัวหนาแน่นสี
ขาว
       - ชนิดยืดหยุ่น (elastic connective tissue)พบ
ที่ผนัง หลอดเลือด กล่องเสียง หลอดลม และ
ปอด ประกอบด้วย
เส้นใยอิลาสติกสีเหลือง ทำาหน้าที่ให้ความแข็ง
แรงและ ยืดหยุ่นได้ดี
       - ชนิดร่างแห (reticular connective tissue)
ตัวเซลล์ เป็นเซลล์ร่างแห (reticular cell)
Fibrous
tissue
Elastic Tissue
Reticular
เนื้อเยื่อไขมัน ( Adipose Tissue)
ประกอบด้วยเซลล์ไขมัน (adipocyte) ทำาหน้าที่
ป้องกันแรงกระทบกระเทือน เป็นฉนวนกันการสูญเสียความ
ร้อน และช่วยหล่อลื่น (โดยเฉพาะในเยื่อหุ้มหัวใจ
(pericardium)) และเก็บสะสมพลังงานในรูปไขมัน มักพบ
แทรกอยู่ตามเนื้อเยื่ออื่นๆ
กระดูกอ่อน (Cartilage)
ประกอบไปด้วย เส้นใยคอลลาเจนและ/ หรือ เส้นใยอี
ลาสติน และเซลล์ที่เรียกว่า คอนโดรไซต์ โดยองค์ประกอบ
ที่อยู่ภายในจะมีลักษณะ คล้ายเจล เรียกว่า แมทริกซ์
กระดูกอ่อนจะไม่มีหลอดเลือดมาเลี้ยง คอนโดรไซต์จะแลก
เปลี่ยนสารอาหารโดยแพร่ผ่านคอลลาเจนมาสู่เส้นเลือด
ด้านนอก เมตาบอลิซึมของเซลล์เหล่านี้ตำ่า ถ้าถูกทำาลายจะ
ซ่อมแซมตัวเองได้แต่ช้า
กระดูกอ่อนมีหน้าที่หลายอย่าง ประกอบ
ไปด้วย การ เตรียมโครงร่างของการ
สะสมการสร้างกระดูก และช่วย สร้าง
พื้นที่หน้าเรียบสำาหรับรองรับการเคลื่อนไหวของ
กระดูกข้อต่อ เป็นกระดูกที่เกิดขึ้นก่อนในระยะ
กระดูกแข็ง (Bone)
ประกอบด้วยเซลล์กระดูกที่เรียกว่า ออสทีโอไซต์
(osteocyte) อยู่ในช่องลาคูนา โดยเซลล์กระดูก จัดเรียงตัว
เป็นวงรอบช่อง ฮาเวอร์เชียน (harversian canal) ที่มี
เส้นเลือดนำาอาหารมาเลี้ยงเซลล์กระดูกและเรียกลักษณะ
การเรียงตัวของเซลล์กระดูกนี้ว่า ระบบฮาร์เวอร์เชียน
(harversian system) ช่องฮาร์เวอร์เชียนสามารถติดต่อกับ
ช่องลาคูนาหรือระหว่างช่องลาคูนาด้วยกันเองโดยผ่านช่อง
เล็ก ๆ ที่เรียกว่า คานาลิคูไล (canaliculi) สารระหว่างเซลล์
กระดูก ประกอบด้วยแคลเซียมและฟอสเฟตเป็นองค์
ประกอบสำาคัญ
เลือด (Blood) ประกอบด้วย
นำ้าเลือด (plasma)
เซลล์เม็ดเลือด ซึ่งแบ่งเป็น
          - เซลล์เม็ดเลือดแดง (Red Blood cell or
Erythrocyte) เซลล์เม็ดเลือดแดง มีรงควัตถุฮีโมโกลบิน
(hemoglobin)ทำาหน้าที่ลำาเลียงออกซิเจนและ
คาร์บอนไดออกไซด์
         - เซลล์เม็ดเลือดขาว (White Blood cell or
Leukocyte) เซลล์เม็ดเลือดขาวทำาหน้าที่ทำาลายสิ่งแปลกปลอม
ที่เข้าสู่ร่างกาย
เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ
มีหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย โดยสามารถหด
ตัวได้ เซลล์กล้ามเนื้อ มีรูปร่างยาวมักเรียกว่า ใยกล้ามเนื้อ
(myofibril) แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ
กล้ามเนื้อลาย (skeletal or striated muscle) มีรูปร่างเป็นทรงกระบอก
เรียงตัวขนานกัน มีลาย แต่ละเซลล์มีหลายนิวเคลียส
กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) เซลล์มีรูปร่างยาวหัวท้ายแหลม
แต่ละเซลล์มีนิวเคลียส 1 อัน อยู่กลางเซลล์ ไม่มีลายตามขวาง
กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) เซลล์มีลายคล้ายกล้ามเนื้อลาย พบ
นิวเคลียส 1-2 อัน อยู่กลางเซลล์ และเซลล์มีแขนงเชื่อมต่อกัน
เนื้อเยื่อประสาท
ประกอบด้วย
๑. เซลล์ประสาท (Neuron) ทำาหน้าที่รับส่งกระแส
ประสาท
๒. เซลล์เกี่ยวพันประสาท (Neuroglia) มีหน้าที่
สนับสนุนการทำางานของเซลล์ประสาท เช่นยึดเหนี่ยวหรือ
คำ้าจุนเซลล์ประสาท ซ่อมแซมบาดแผลที่เกิดขึ้นกับเซลล์
ประสาท เป็นต้น
Cell
Cell

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
Wan Ngamwongwan
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
Sumarin Sanguanwong
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Supaluk Juntap
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
Phattarawan Wai
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 

Was ist angesagt? (20)

Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
Genetic
GeneticGenetic
Genetic
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 

Andere mochten auch (15)

Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
Microbiology4.5
Microbiology4.5Microbiology4.5
Microbiology4.5
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
Cell
CellCell
Cell
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Microbiology
Microbiology Microbiology
Microbiology
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 

Ähnlich wie Cell

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
Wichai Likitponrak
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
pongrawee
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
tarcharee1980
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
Takky Pinkgirl
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
Weeraphon Parawach
 

Ähnlich wie Cell (20)

โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
4
44
4
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2
 
Mitochondria
MitochondriaMitochondria
Mitochondria
 
4
44
4
 
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 

Cell

  • 1.
  • 2. เซลล์(Cell) คือ หน่วยย่อยที่สุดของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ยกเว้นไวรัส โดยสิ่งมีชีวิตอาจ ประกอบด้วยหนึ่ง เซลล์(Unicellular organism) หรือ (Multicellular organism) แล้วแต่ชนิดของสิ่งมีชีวิต Cell มาจากคำาว่า Cellulae เป็นภาษาละติน แปลว่า Chamber ซึ่งถูกค้นพบครั้งแรกโดย Robert Hooke ในปี ค.ศ.1665 จากการนำากล้องจุลทรรศน์ไปส่องดู เซลล์พืชที่ตายแล้ว
  • 3. ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) ทฤษฎีเซลล์ถูกตั้งขึ้นโดยนักวิทยาศาสตร์ 3 ท่าน คือ Matthaias Schleiden, Theodor Schwann และ Rudolf Virchaw แบ่งเป็น 3 ข้อ ดังนี้ 1. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบขึ้นจากเซลล์ 2. เซลล์ทำาหน้าที่ Metabolism และ ถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม 3. เซลล์ทุกชนิดเกิดจากเซลล์เก่าที่มีอยู่ก่อนแล้ว Schlei den Schw ann Vircha w
  • 4.
  • 5. Prokaryotes เกิดจากภาษากรีก 3 คำา รวมกัน คือ Pro = Before, Caryon =Nucleus, -otes = เป็น suffix แสดง ความเป็นพหูพจน์ จึงแปลได้เป็นความหมายรวมๆคือ สิ่งมีชีวิต ที่ไม่มีนิวเคลียส ( Organisms without nucleus)เซลล์กลุ่มนี้จะไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสและไม่มีออร์แกเนลที่มีเยื่อ หุ้ม จึงทำาให้รงควัตถุที่ใช้ในการสังเคราะห์แสงกระจาย ไม่อยู่ ใน Plastid รวมทั้ง DNA กระจายอยู่ใน Cytoplasm จะพบ ในแบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมนำ้าเงิน ( Cyanobacteria )โครงสร้างในเซลล์พบเพียง ผนัง เซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโตพลาสม ไรโบโซม แฟลกเจลลัม แคปซูล(Glycocalyx) และ นิวคลี ออยด์ (Nucleoid)
  • 6. แบคทีเรียมีรูปร่าง 3 แบบ คือ Coccus- กลม, Bacillus- แท่ง, Spirillum - เกลียว
  • 7. เป็นเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส หุ้มสารพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตเหล่า นี้ได้แก่ ยีสต์ ราชนิดต่าง ๆ โปรโตซัว สาหร่ายชนิดอื่น ๆ ที่ ไม่ใช่สาหร่ายสีเขียวแกมนำ้าเงิน พืช และสัตว์ชนิดต่าง ๆEukaryotes มาจากภาษากรีก โดย Eu = true , caryon = nucleus –และ otes เป็น suffix แสดงความเป็นพหูพจน์
  • 8.
  • 9. โครงสร้างโดยทั่วไปของเซลล์ มีดังนี้ 1. Plasma membrane - เป็นส่วนที่ห่อหุ้มแสดงขอบเขตของ เซลล์ 2. Cytoplasm –เป็นของเหลวอยู่ภายในเซลล์ ในยูคารีโอตจะอยู่ ระหว่างนิวเคลียสและเยื่อหุ้ม ประกอบด้วย นำ้าตาล กรดอะมิโน และมี ออร์แกเนลล์(Organelle)หลายชนิดทำาหน้าที่ต่างๆภายในเซลล์ ส่วนที่ไม่ใช่ออร์แกเนลเรียกว่าไซโทซอล(Cytosol) 3. Nucleus – ในโปรคารีโอทจะไม่มีเยื่อหุ้มทำาให้สารพันธุกรรม กระจายอยู่ในบริเวณที่เรียกว่านิวคลีออยด์(nucleoid) ส่วนในยูคารี โอทมีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น (nuclear membrane)
  • 10. เซลล์แต่ละชนิดมีขนาดแตกต่างกัน โดยยูคารีโอตมีขนาดใหญ่ กว่าโปรคารีโอต ถึง 10-20 เท่า ซึ่งโปรคารีโอตมีเส้นผ่าน ศูนย์กลางเฉลี่ยที่ 1-10 ไมครอน ส่วนยูคารีโอตอยู่ที่ 10-100 ไมครอน เซลล์ขนาดเล็กที่สุดคือไมโครพลาสมา ขนาด 0.1- 1ไมครอน ส่วนเซลล์ใหญ่ที่สุดเซลล์ไข่ไก่ ส่วนยาวที่สุดคือเซลล์ ประสาท ยาว 1 เมตร การที่เซลล์มีขนาดเล็กทำาให้นิวเคลียสสามารถควบคุมการ ทำางานได้ดีกว่าเซลล์ขนาดใหญ่ และทำาให้การขนส่งสารเข้า ออกใช้ระยะเวลาน้อยกว่า นอกจากนี้เซลล์ที่มีขนาดเล็ก ทำาให้พื้นที่ผิวต่อปริมาตรมากกว่าเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ ทำาให้ การแลกเปลี่ยนสารระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
  • 11. รูปร่างของเซลล์ขึ้นอยู่กับ ชนิดของเซลล์ หน้าที่ ความ หนืดของไซโทพลาสสม แรงตึงผิว และไซโทสเกลเลตัน (Cytoskeleton)
  • 12. ในปี 1910 C. Mereschkowsky ได้เสนอทฤษฎี Endosymbiont ขึ้น มา กล่าวว่า Organelle ของ Eukaryote คือ Mitochondria และ Chloroplast เป็นเซลล์ Prokaryote ที่อาศัยอยู่ร่วมกับเซลล์อื่น แบบ พึ่งพาอาศัยกัน (Symbiosis) เรียกว่า Endosymbiosis โดยมีหลักฐานดังนี้ – Mitochondria มีลักษณะและรูปร่างคล้าย แบคทีเรีย - ไรโบโซมที่พบทั้งในทั้งคู่ คล้ายกับที่พบในโปรคารี โอต - ทั้งคู่มี DNA ไม่มีเยื่อหุ้ม และแบ่งตัวได้ เหมือนกับ แบคทีเรีย - การสังเคราะห์โปรตีนในทั้งคู่ ถูกกระตุ้นด้วย Formyl methionine เหมือนในแบคทีเรีย และไม่พบการสังเคราะห์ โปรตีนเช่นนี้ในไซโทพลาสม - มีเอนไซม์ที่ใช้ในการเมตาบอลิสมคล้ายกับในยูคา
  • 13. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์(Cell Envelope) -แบ่งออกเป็น เยื่อหุ้มเซลล์(Cell membrane) และ ผนังเซลล์ (Cell Wall) -ทำาหน้าที่เป็นขอบเขตของเซลล์ ควบคุมการส่งสารผ่านเข้าออก เซลล์ และการสื่อสารระหว่างเซลล์
  • 14. -cell membrane จะเป็น lipid bi-layer มี molecule ของ protein ลอย แทรกกระจายอยู่ทั่วไป lipid bi-layer นี้จะไม่ปะปนกับ extra และ intracellular fluid -ทำาหน้าที่เป็น barrier เป็น Semi permeable membrane ไม่ให้ สารบางอย่างผ่านเข้าออกได้ แต่สารบางอย่างก็สามารถผ่านได้โดยตรง ในส่วนที่เป็น lipid ของ cell membrane -สำาหรับ protein molecule ที่แทรกอยู่ตาม lipid bi-layer จะทำาหน้าที่ เป็น transport protein ช่วยให้สารบางอย่างผ่านได้ ซึ่งกระบวนการ ผ่านทาง protein แต่ละชนิดก็จะแตกต่างกันไปด้วย บ้างเป็น channel protein บ้างเป็น carrier protein ทั้งนี้ protein แต่ละชนิดจะ specific กับ molecule ที่ protein พาผ่าน cell membrane (selective transport) -ในปี 1972 Singer และ Nicolson เสนอแบบจำาลองเยื่อหุ้มเซลล์แบบ Fluid mosaic model
  • 16. เป็นเยื่อหนาหุ้มอยู่ชั้นนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ สร้างขึ้นมาเพื่อเพิ่ม ความแข็งแรงของเยื่อหุ้ม พบใน แบคทีเรีย Fungi และพืช ในแบคทีเรีย ผนังเซลล์มีโพลีแซคคาไรด์เป็นแกน และมีโปรตีนกับ ไขมันยึดเกาะ ชั้นที่ให้ความแข็งแรงและอยู่ชั้นในสุด เรียกว่า ชั้น มิวรีนหรือเปปติโดไกลแคน (murine หรือ peptidoglycan) พวกเห็ดรา ผนังเซลล์เป็นพวกไคติน (Chitin) ซึ่งเป็น สารประกอบชนิดเดียวกันกับเปลือกกุ้ง บางครั้งอาจพบว่า มี เซลลูโลสปนอยู่ด้วย
  • 17. สาหร่าย ผนังเซลล์เป็นพวกเพคติน (Pectin) เป็นส่วนใหญ่และมี เซลลูโลสประกอบอยู่ด้วย ในพืช ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลสและสารประกอบพวกเพคติ น เช่น แคลเซียมเพคเตด เป็นต้น ผนังเซลล์พืช ที่อยู่ ติดกัน ถึงแม้ จะหนาและแข็งแต่ก็มีช่องทางต่อถึงกันได้ เป็นทางติดต่อของไซโต พลาสซึมทั้ง 2 เซลล์ ทางติดต่อนี้เรียกว่า พลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata)
  • 18.
  • 19.
  • 20. สารเคลือบเซลล์ โดยทั่วไปเซลล์จะมีสารเคลือบเยื่อหุ้ม เซลล์ด้านนอกอีกชั้นหนึ่ง สารเหล่านี้ไซโตพลาสซึมเป็นตัว สร้างขึ้นมา ในเซลล์สัตว์มีสารเคลือบพวกไกลโคโปรตีน (glycoprotein) คือเป็นสารประกอบของคาร์โบไฮเดรตและ โปรตีน สารเคลือบเซลล์ใน เซลล์แต่ละชนิดของสัตว์จะต่าง กัน แต่สารเคลือบเซลล์ทำาหน้าที่อย่างเดียวกันก็คือทำาให้ เซลล์เหล่านั้นรวมกลุ่มกันได้เป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะและระบบ อวัยวะในที่สุด บางครั้งเซลล์อาจผิดปกติมีการแบ่งตัวเร็ว เกินไป เพราะสารเคลืิิอบเซลล์ผิดปกติจจนกลาย เป็น มะเร็ง ซึ่งร่างกายควบคุมไม่ได้               ในพืชสารเคลือบเซลล์ต่าง ๆ เช่น ลิกนิน (lignin) คิวติน (cutin) ซูเบอริน (suberin) เพคติน ทำาให้ เกิดผนังเซลล์ที่ไร้ชีวิต อยู่ชั้นนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ โดยมี เซลลูโลสเป็นแกนสำาคัญของผนังเซลล์พืชทุกชนิด และมี
  • 21.
  • 22. เป็นของไหลโปร่งแสงที่อยู่ภายในเซลล์ โดยในโปรคารีโอทจะมีสาร พันธุกรรมลอยอยู่ แต่ในโปรคารีโอทจะถูกกั้นโดยเยื่อหุ้ม นิวเคลียส(Nuclear membrane) แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Cytosol, Organelles และ Inclusion   Cytosol-ส่วนที่เป็นของไหลภายในเซลล์ สารประกอบส่วนใหญ่เป็นนำ้าถึง 70% ที่เหลือ เป็นโปรตีนที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาของเซลล์ ซึ่งถ้าเป็นโปรคารีโอทจะเกิดปฏิกิริยาทั้งหมดใน Cytosol แต่ในยูคารีโอทปฏิกิริยาจะเกิดในส่วน ของOrganelles นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ควบคุม แรงดันเต่ง(Osmotic Pressure)ของเซลล์ ซึ่ง จะควบคุมการเข้าออกของสารบางชนิด และ รักษา pH ของเซลล์ให้คงที่ที่ 7.0 หน้าที่ของ Cytosol 1.เป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาเคมี ของเซลล์ 2.สลายวัตถุดิบเพื่อให้ได้พลังงานและสิ่งที่ จำาเป็นสำาหรับเซลล์ 3.สังเคราะห์สารที่จำาเป็นสำาหรับเซลล์
  • 23. เป็นส่วนที่มีชีวิต ทำาหน้าทีต่างๆภายในเซลล์คล้ายกับเป็น อวัยวะของเซลล์ มาจากรากศัพท์ภาษาลาติน organ-อวัยวะ และ Elle-ขนาดเล็ก แปลว่าอวัยวะเล็กๆ แบ่งเป็นพวกที่มีเยื่อ หุ้ม(Membrane Bound Organelles)และไม่มีเยื่อหุ้ม(Non- membrane Bound Organelles)Membrane Bound Organelles ได้แก่ Vacuoles,Lysosome,Endoplasmic Reticulum,Golgi Apparatus, Mitochondria, Chloroplast Non-membrane Bound Organelles ได้แก่ Ribosomes,Centriole,Microtubule
  • 24.
  • 25. เป็นออร์แกเนลล์ขนาดเล็กที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ประกอบด้วยโปรตีนและ กรดไรโบนิวคลีอิก กระจายอยู่ทั่วไปภายในไซโทพลาซึม โดย อาจลอยอยู่เป็นอิสระ หรือต่อกันเป็นสาย หรือเกาะอยู่บนร่างแห เอนโดพลาซึมและเยื่อหุ้มนิวเคลียสชั้นนอก มีหน้าที่สำาคัญใน การสังเคราะห์โปรตีนเพื่อใช้ภายในหรือภายนอกเซลล์ พบได้ ในทั้ง Prokaryotes และ Eukaryotes โดยที่ไรโบโซมแบ่งออกเป็น 2 sub-unit -Prokaryotes เป็น 70s ribosome (S-Svedberg Unit) ประกอบด้วย 50s และ 30s sub-unit -Eukaryotes เป็น 80s ribosome ประกอบด้วย 60s และ 40s sub-unit
  • 26.
  • 27. นอกจากใน Cytoplasm ยังพบใน Chloroplast และ Mitochondria แต่มีขนาดเล็กกว่า สำาหรับในไซโตพลาสซึมมี 3 ชนิด คือ - Polysome ไรโบโซมที่เรียงแถวกันเป็น สาย ทำาหน้าที่สร้างโปรตีนที่เป็นเอนไซม์ที่ใช้ภายในเซลล์ - Free ribosome ไรโบโซมอิสระที่ลอย อยู่ใน Cytosol ยัง ไม่ได้ทำาหน้าที่ใดๆ - Membrane bounded ribosome ไรโบ โซมที่เกาะติดอยู่ กับ organelles อื่นๆ เช่น Endoplasmic Reticulum, Mitochondria
  • 28. ร่างแหเอนโดพลาซึม (Endoplasmic Reticulum) มีลักษณะ เป็นเยื่อบาง ๆ 2 ชั้นพับไปมา แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ -แบบผิวขรุขระ (Rough Endoplasmic Reticulum: RER) ทำาหน้าที่ร่วมกับ ไรโบโซมในการ สังเคราะห์โปรตีนและส่งโปรตีนออกนอกเซลล์ โดยส่งผ่านทา งกอลจิแอพ พาราตัส (Golgi Apparatus) เพื่อนำาไปใช้ในส่วน อื่น ๆ ของสิ่งมีชีวิต - แบบผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic Reticulum) ซึ่งจะทำาหน้าที่แตกต่างกันไปตามประเภทของเซลล์ เช่น ในเซลล์ตับ ทำาหน้าที่กำาจัดสารพิษออกจากร่างกาย ใน เซลล์ ของเยื่อบุผิวลำาไส้เล็ก ทำาหน้าที่ดูดซึมสารอาหารประเภท ไขมัน ในเซลล์ชั้นนอกของต่อม หมวกไต ทำาหน้าที่สร้างไขมัน ประเภทสเตรอยด์ที่เป็นฮอร์โมนหลายชนิด
  • 29.
  • 30. กอลจิแอพพาราตัส (Golgi Apparatus)/กอลจิ คอมเพล็กซ์(Golgi Complex) มีลักษณะคล้ายถุงซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ทำาหน้าที่สร้างคาร์โบไฮเดรตสำาหรับใช้ในปฏิกิริยาเคมีของ เซลล์หรือรวมกับโปรตีนที่สร้างจากร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิว ขรุขระกลายเป็นไกลโคโปรตีน (Glycoprotein) แล้วเก็บไว้ใน ถุงเล็ก ๆ บริเวณขอบของกอลจิแอพพาราตัสที่เรียกว่า เวสสิเคิล (Vesicle) เพื่อใช้ภายในเซลล์หรือส่งออกไปนอกเซลล์ โดยเวส สิเคิลจะเคลื่อนที่หลุดออกจากกอลจิแอพพาราตัสไปได้ หน้าที่ -เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์สารหลาย ชนิด เช่น คาร์โบไฮเดรต เพื่อรวมกับ โปรตีนจากไรโบโซมได้เป็น ไกลโค โปรตีน -สร้าง Acrosome ในอสุจิเพื่อย่อยเยื่อหุ้ม Egg cell -ขับสารประกอบต่างๆ เช่น ไขมัน ฮอร์โมน เอนไซม์ ออกทางเยื่อหุ้มเซลล์
  • 31. มีลักษณะยาวรีและยืดหยุ่นได้ ความยาวก็แตกต่างกันไป ประกอบด้วยเยื่อหุ้มสองชั้น ชั้นนอกทำาหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน ส่วนชั้นในจะพับซ้อนไปมาเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวเรียกว่า ‘Cristae’ ภายในไมโทคอนเดรียมีของเหลวบรรจุอยู่เรียกว่า ‘Matrix’ ซึ่ง จำานวนของไมโทคอนเดรียในเซลล์แต่ละชนิดจะไม่เท่ากัน ขึ้น อยู่กับหน้าที่ของเซลล์ หน้าที่ สร้างสารพลังงานสูง ATP (Adenosine Tri-Phosphate) ที่ใช้เป็นพลังงานของ เซลล์ในการเกิดปฏิกิริยาต่างๆ ซึ่งการเกิด ปฏิกิริยาแบ่งออกเป็น 3 บริเวณ -เยื่อหุ้มด้านนอก > สร้างสารประกอบ Phospholipids -เยื่อหุ้มด้านใน > เกิดปฏิกิริยา Electron Transport -Matrix > Citric acid Cycle (Kreb’s Cycle) และBeta oxidation ของไขมัน
  • 32.
  • 33. เม็ดสีในเซลล์ เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้นพลาสติดมี ขนาดใหญ่สามารถมองเห็นได้ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ภายในมี DNA จึงสามารถจำาลองตัวเองได้เช่นเดียว กับMitochondria และรงควัตถุที่ทำาให้เกิดสีจำาแนกได้ 3 ชนิด คือ -Chloroplast_Chlorophyllเ ป็นรงควัตถุ -Chromoplast_เป็นรงควัตถุ อื่นๆ -Leucoplast_ไม่มีรงควัตถุ แต่จะเป็นสารอื่นๆ เข่น แป้ง (Amyloplast) โปรตีน (Proteoplast) ไขมัน (Elaioplast)
  • 34. คลอโรพลาสต์ มีลักษณะเป็นเม็ดกลมรี ประกอบด้วยเยื่อหุ้มสอง ชั้น ภายในมีสารเคมีที่มีสีที่ใช้ในการสังเคราะห์แสงด้วยแสง (Photosynthesis) ส่วนใหญ่เป็นสารสีเขียวที่เรียกว่า คลอโร ฟิลล์ (Chlorophyll) คลอโรพลาสต์พบได้ในเซลล์พืชและสิ่งมี ชีวิตเซลล์เดียวบางชนิด
  • 35. ภายในคลอโรพลาสต ์์ประกอบด้วย ส่วนที่เป็นของเหลว เรียกว่า สโตรมา ( stroma) มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้อง กับการสังเคราะห์ด้วยแสง แบบที่ไม่ต้อง ใช้แสง ( dark reaction) มี DNA RNA และไรโบโซม และเอนไซม์อีก หลายชนิด ปะปนกันอยู่ ในของเหลวเป็นเยื่อลักษณะคล้ายเหรียญ ที่เรียงซ้อนกันอยู่ เรียกว่า กราน า (grana) ระหว่างกรานา จะมีเยื่อเมมเบรน เชื่อมให้กรานาติดต่อถึงกัน เรียกว่า อินเตอร์กรานา ( intergrana) หน่วยย่อย ซึ่งเปรียบเสมือน เหรียญ แต่ละอัน เรียกเหรียญแต่ละอันว่า กรานาลาเมลลา ( grana lamella) หรือ กรานาไทลาคอยด์ ( grana thylakoid) ไทลาคอยด์ในตั้งเดียวกัน ส่วนที่ เชื่อมติดกัน เรียกว่า สโตรมา ไทลาคอยด์ (stroma thylakoid) ไม่มีทาง ติดต่อกันได้ แต่อาจติดกับไทลาคอยด์ในตั้งอื่น หรือกรานาอื่นได้ ทั้งกรานา และอินเตอร์กรานา เป็นที่อยู่ของคลอโรฟิลล์ รงควัตถุอื่นๆ และ พวกเอนไซม์ ที่เกี่ยวข้อง กับการสังเคราะห์ด้วยแสง แบบที่ต้องใช้แสง ( light reaction) บรรจุอยู่ หน้าที่สำาคัญ ของคลอโรพลาส คือ การ สังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) โดยแสงสีแดง และแสงสีนำ้าเงิน เหมาะสม ต่อการสังเคราะห์ ด้วยแสงมากที่สุด
  • 36. เป็นออร์แกแนลล์ ที่มีเมมเบรนห่อหุ้มเพียงชั้นเดียว ซึ่งไม่ยอม ให้เอนไซม์ต่างๆ ผ่านออก แต่เป็นเยื่อที่สลายตัว หรือรั่วได้ ง่าย เมื่อเกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อ หรือขณะที่มีการเจริญ เติบโต เยื่อหุ้มนี้มีความทนทาน ต่อปฏิกิริยาการย่อยของ เอนไซม์ ที่อยู่ภายในได้ เอนไซม์ที่อยู่ในถุงของไลโซโซมนี้ เชื่อกันว่าเกิดจากไลโซโซม ที่อยู่บน RER สร้างเอนไซม์ขึ้น แล้วส่งผ่านไปยังกอลจิบอดี แล้วหลุดเป็นถุงออกมา
  • 37. • ย่อยสลายอนุภาค และโมเลกุลของสารอาหาร ภายในเซลล์ • ย่อย หรือทำาลายเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ที่เข้าสู่ ร่างกายหรือเซลล์ เช่น เซลล์เม็ด เลือดขาวกิน และย่อยสลายเซลล์ แบคทีเรีย • ทำาลายเซลล์ที่ตายแล้ว หรือเซลล์ที่มีอายุมาก โดยเยื่อของไล โซโซม จะฉีกขาดได้ง่าย แล้ว ปล่อยเอนไซม์ออกมา ย่อยสลายเซลล์ดัง กล่าว • ย่อยสลายโครงสร้างต่างๆ ของเซลล์ ์์ในระยะที่เซลล์มีการ เปลี่ยนแปลง และมีเมตามอร์โฟซีส (metamorphosis) เช่น ในเซลล์ ส่วนหางของลูกอ๊อด ไลโซโซม แบ่งออกเป็น 4 ชนิด •  ไลโซโซมระยะแรก(primary lysosome) มีนำ้าย่อยที่สังเคราะห์มาจากไรโบโซม และ เก็บไว้ในกอลจิบอดี แล้วหลุดออกมาเป็นถุง •  ไลโซโซมระยะที่ 2 (secondary lysosome) เกิดจากไลโซโซมระยะแรกรวมตัวกับสิ่ง แปลกปลอมที่เข้ามาในเซลล์ โดยวิธีฟาโกไซโตซิส (phagocytosis) หรือ พิโนไซโตซิส (pinocytosis) แล้วมีการย่อยต่อไป •  เรซิดวล บอดี(residual body) เป็นส่วนที่เกิดจากการย่อยอาหาร ในไลโซโซมระยะที่ สองไม่สมบูรณ์ มีกากอาหารเหลืออยู่ ในเซลล์บางชนิด เช่น อะมีบา โปรโตซัว จะขับกาก อาหารออก ทางเยื่อหุ้มเซลล์ โดยวิธีเอกโซไซโตซิส(exocytosis) หรือในเซลล์บางชนิด อาจสะสมไว้เป็นเวลานานซึ่งสามารถใช้บอกอายุของเซลล์ได้ เช่น รงควัตถุที่สะสมไว ์้
  • 38. เป็นออร์แกเนลล์ขนาดเล็ก ที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียวรูปร่างคล้ายไลโซโซมแต่ สามารถแบ่งตัวได้เองคล้ายกับไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์ ภายใน ประกอบด้วยเอนไซม์หลายชนิด เพอรอกซิโซม จะทำางานได้ดี ใน กระบวนการเมตาโบลิซึมของไขมัน และเกี่ยวกับการกำาจัดสารพิษ เช่น เอ ทานอล ( ethanol) หน้าที่ -ในกระบวนการเมตาบอลิสม์ของกรดไขมัน เพอรอกซิโซมจะหลั่งเอนไซม์ ชื่อ คะตะเลส ( Catalase) มาย่อยไฮโดรเจนเพอรอกไซด์ (Hydrpgen peroxide) ซึ่งเป็นพิษต่อเซลล์ ให้กลายเป็นโมเลกุลนำ้า -ในพืชเพอรอกซิโซม มีบทบาทสำาคัญ คือ เปลี่ยนกรดไขมัน ที่สะสมอยู่ใน เมล็ดพืช ให้เป็นคาร์โบไฮเดรต สำาหรับใช้เป็น ในการงอกของเมล็ด โดย ผ่านวัฏจักรไกลออกซิเลท ( Glyoxylate cycle)
  • 39. เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว มีลักษณะเป็นถุง มีเมมเบรนซึ่งเรียกว่า โทโนพลาสต์( tonoplast)ห่อ หุ้มภายในมีสารต่างๆบรรจุอยู่ โดยทั่วไปจะพบใน เซลล์พืชและสัตว์ชั้นตำ่า ในสัตว์ชั้นสูงมักไม่ค่อยพบหน้าที่ เก็บสะสมสารที่เป็นอันตรายต่อไวโตพลาสซึมของ เซลล์ในเซลล์พืชที่ยังอ่อนจะมีแวคิวโอลเล็กๆเป็น จำานวนมากเซลล์พืชที่เจริญเติบโตเต็มที่สมบูรณ์แว คิวโอลจะรวมกันมีขนาดใหญ่มากประมาณ 95% หรือมากกว่าโดยปริมาตรของแต่ละเซลล์ •  แซปแวคิวโอล(Sap vacuole) พบเฉพาะในเซลล์พืช เท่านั้นภายในบรรจุของเหลวซึ่งส่วนใหญ่เป็นนำ้าและสาร ละลายอื่นๆ ในเซลล์พืชที่ยังอ่อนๆอยู่ มีขนาดเล็ก รูปร่าง ค่อนขางกลม แต่เมื่อเซลล์แก่ขึ้น แวคิวโอลชนิดนี้จะมี ขนาดใหญ่เกือบเต็มเซลล์ ทำาให้ส่วนของนิวเคลียสและไซ โทพลาสซึม ส่วนอื่นๆ ถูกดันไปอยู่ทางด้านข้าง ด้านใด ด้านหนึ่งของเซลล์ •  ฟูดแวคิวโอล(Food vacuole) พบในโพรโทซัวพวก อะมีบาและพวกที่มีขนซีเลีย นอกจากนี้ ยังพบในเซลล์เม็ด เลือดขาวและฟาโกไซทิกเซลล์(Phagocytic cell)อื่นๆ
  • 40. - เป็นร่างแห ตาข่ายของเส้นใยโปรตีนที่แผ่ขยายปกคลุมอยู่ทั่วไซโทพลา ซึม - ทำาหน้าที่คงรูปร่างของเซลล์โดยทำาให้เซลล์ทนต่อแรงอัดจากภายนอก - เส้นใยโปรตีนที่ประกอบเป็นสารโครงร่างเซลล์ มี 3 ชนิด คือ ไมโครทูบู ล(Microtubule)ไมโครฟิลาเมนต์ (Microfilament)และอินเตอร์มีเดียทฟิลา เมนต์(Intermediate filament)
  • 41. -ไมโครทูบูล (microtubule) เป็นแท่งกลวงขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 25 นาโนเมตร ยาว 200 นาโนเมตร – 25 นาโนเมตร  - ประกอบด้วยโปรตีนก้อนกลม (globular protein) ชื่อว่าทูบูลิน (tubulin) ซึ่งมี 2 หน่วย ย่อย คือ แอลฟาทิวบูลิน (alpha – tubulin) และ บีตาทูบูลิน (beta – tubulin) -เซนโทรโซม (centrosome) เป็นศูนย์ควบคุม การประกอบไมโครทูบูลซึ่งอยู่ใกล้ๆกับนิวเคลียส ภายในบริเวณเซนโทรโซมจะพบเซนทริโอล จำานวน 1 คู่ เซนทริโอล 1 อัน มีรูปร่างเป็นทรง กระบอกประกอบด้วยท่อไมโครทูบูล 3 ท่อ จำานวน 9 ชุด มาเรียงตัวกันเป็นวงแหวนตรง กลางไม่มีท่อทูบูลินเรียกโครงสร้าง แบบนี้ว่า 9 + 0 - เซนทริโอล คู่นี้ จะวางตั้งฉากกันและเกี่ยวข้อง กับการแยกโครโมโซม ระหว่างการ แบ่งตัวของ
  • 42. หน้าที่      - ช่วยรักษารูปร่างของเซลล์ ไมโคร ทูบูล เปรียบเสมือนแท่งเหล็กที่ทน ต่อแรงอัดภายนอก - ทำาให้เกิดการเคลื่อนไหวของซิ เลีย และแฟลเจลลา ซึ่งส่งผลให้ เซลล์ที่มีซิเลีย หรือแฟลกเจลลาเป็น ส่วนประกอบเกิดการเคลื่อนที่ได้ (ไมโครทูบูลในซิเลีย และแฟลเจล ลา จะมีการเรียงตัวแบบ 9+2 ซึ่ง ประกอบด้วยไมโครทูบูล 2 ท่อ จำานวน 9 ชุด จัดเรียงตัวเป็น วงแหวนโดยตรงกลาง มีท่อไมโคร ทูบูลจำานวน 2 ท่อวางอยู่ - ช่วยในการแยกโครโมโซม ระหว่างเซลล์กำาลังแบ่งตัว - ช่วยในการเคลื่อนที่ของออร์ แกเนลล์
  • 43. งสร้างที่มี microtubules เป็นส่วนประกอบ เซนโตรโซมและเซนตริโอล (Centrosomes & Centrioles)  ใน เซลล์ยูคาริโอตทั่วไป  ไมโครทิวบูลจำานวนหนึ่งจะรวมกลุ่มกันใกล้นิวเคลียส เรียกว่า  เซนโตรโซม    ในเซลล์สัตว์ภายในเซนโตรโซม จะประกอบด้วย เซนตริโอลซึ่งวางตั้งฉาก กัน 1 คู่ เป็นเซตของไมโครทิวบูล 9 กลุ่มๆ ละ 3 ท่อ (ดูภาพประกอบ) เรียงตัว เป็นวงแหวนรอบศูนย์กลาง ในตอนที่เซลล์จะแบ่งเซลล์ เซนตริโอลจะเพิ่ม จำานวนเป็น 2 เท่า เพื่อแยกไปอยู่ในแต่ละเซลล์ใหม่ และช่วยเหลือในการแยก โครโมโซมออกจากกัน    ในกรณีของเซลล์พืชเราจะไม่พบเซนตริโอล แต่จะมีเซนโตรโซมทำาหน้าที่ แทน (เซนตริโอลของเซลล์สัตว์)
  • 44. สร้างที่มี microtubules เป็นส่วนประกอบ คาริโอตเซลล์เดียวบางพวกจะมี โครงสร้างพิเศษที่ช่วยในการ เคลื่อนที่ ซึ่งมีไมโครทิวบูลเป็น องค์ประกอบ คือ ซีเลียและแฟลก เจลลา ซึ่งเป็นส่วนรยางค์ที่ยื่น ออกมาจากเซลล์ ตัวอย่างเซลล์ที่ ซีเลียหรือแฟลกเจลลา ; พารามี เซียม, สเปิร์ม เป็นต้น       ซีเลีย ในแต่ละเซลล์จะพบ มีจำานวนมาก แต่ละซีเลียมีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 250 นาโนเมตร และยาวประมาณ 2- 20 ไมโครเมตร       แฟลกเจลลามีเส้นผ่า ศูนย์กลางใกล้เคียงกับซีเลียแต่มี ความยาวกว่ามาก คือ ยาว ประมาณ 10-200 ไมโครเมตร และในแต่ละเซลล์จะมีแฟลกเจล ลา 1-2 อันเท่านั้น ส่วนที่ใช้สร้าง ซีเลียและแฟลกเจลลาฝังตัวอยู่ในเซลล์ เรียกว่า เบซัล บอดี (basal body)ซึ่งมีโครงสร้างเหมือนกับเซนตริโอล ในเซลล์สัตว์ เบซัลบอดีของสเปิร์มเมื่อเข้าไปรวมกับไข่แล้วจะกลายเป็นเซนตริโอ ลนั่นเอง
  • 45.
  • 46. เป็นแท่งแข็งเล็กๆ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 นาโนเมตร มีชื่อเรียกอีก ชื่อหนึ่งว่า "actin filament" เนื่องจากโครงสร้างของโมเลกุล ประกอบด้วย actin (เป็น globular protein) 2 subunit พันกันเป็นสาย เกลียว ไมโครฟิลาเมนต์พบได้ในเซลล์ยูคาริโอตทุกชนิดหน้าที่ -รักษา cell shapeและการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างของ เซลล์ -การหดตัวของกล้ามเนื้อ -การไหลเวียนของไซโต พลาสม (cytoplasmic streaming) -การเคลื่อนที่ของ เซลล์(Pseudopodia) -การแบ่ง เซลล์(กระบวนการ cleavage)
  • 47. เป็นเส้นใยโปรตีนที่พันกันหลายชั้น คล้ายๆกับสายเคเบิลมีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 8-12 นาโนเมตรประกอบ ด้วยเส้นใยโปรตีนชนิด keratin ซึ่งจะ ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์ งของเซลล์อินเตอร์มีเดียทฟิลาเมนต์ ทนต่อแรงดึงภายนอกเช่นเดียวกับไมโคร นลล์ บางอย่างให้อยู่กับที่ เช่น นิวเคลียสถูกยึดให้อยู่ในกรงที่ทำาด้วย อินเตอร ลาร์มินาร์ (nuclear larninar)
  • 48. ภายในนิวเคลียสประกอบไปด้วย โครมาติน (Chromatin) ซึ่ง ประกอบไปด้วย DNA และ โปรตีน เมื่อเซลล์เตรียมการแบ่ง เซลล์ โครมาตินจะหดสั้นเข้า ทำาให้มองเห็นเหมือนขดลวด สปริงเรียกโครมาตินที่หดสั้นเข้า นี้ว่าโครโมโซม (Chromosome) ใน 1 โครโมโซมอาจมี 1 หรือ 2 โค รมาติดก็ได้ (เรียกว่าsister chromatid) นิวคลีโอลัส (Nucleolus) มีหน้าที่ในการ สังเคราะห์ ไรโบโซม (Ribosome) เยื่อหุ้ม
  • 49. องค์ประกอบของนิวเคลียส -เยื่อหุ้มนิวเคลียส หรือ Nuclear Envelope มีลักษณะเป็น menbrane 2 ชั้น แบ่งขอบเขตระหว่าง nucleus กับ cytoplasm เยื่อหุ้มนิวเคลียสทำา ด้วย "lipid bilayer+protein" ผนัง 2 ชั้นหนาประมาณ 20-40 นาโนเมตร ที่ผิวของเยื่อหุ้มนิวเคลียสมีรู (pore/annulus) ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 นาโนเมตร อยู่มากมาย ที่ผนังด้านในของเยื่อหุ้มนิวเคลียส บุด้วย nuclear lamina -โครมาติน/chromatin มีลักษณะเป็นสายยาวของ DNA+protein ถ้า เราย้อมสีโครมาตินแล้ว สามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์   ในขณะ ที่เซลล์เตรียมการแบ่งเซลล์ โครมาตินจะหดสั้นและมีความหนาขึ้น คล้าย ขดลวดสปริง สามารถมองเห็นได้ชัดเจนด้วยกล้องจุลทรรศน์ เราเรียกว่า โครโมโซม(chromosome) -นิวคลีโอลัส/nucleolus เป็นโครงสร้างที่เห็นเด่นชัด ในขณะที่เซลล์ ไม่ได้แบ่งเซลล์ เป็นก้อนกลมหนาที่เชื่อมต่อกับ chromatin  นิวคลีโอลัส
  • 50. -แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามขนาดของสาร คือ สารขนาด เล็กและสารขนาดใหญ่ 1. การขนส่งสารขนาดเล็ก มีแบบ Passive Transport และ Active Transport 2. การขนส่งสารขนาดใหญ่ มีแบบ Endocytosis และ Exocytosis -การขนส่งสารแบบ Passive Transport เป็นการเคลื่อนที่ของ ตัวถูกละลายจากที่ที่มีความเข้มข้นมากไปยังที่ที่มีความเข้มข้น น้อย ซึ่งอาจจะเป็นความเข้มข้นเชิงปริมาณ หรือความเข้มข้น เชิงไฟฟ้าก็ได้ แบ่งออกเป็นการแพร่แบบเชิงเดี่ยว (Simple Diffusion) การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion)
  • 53. เป็นการนำาสารโมเลกุลขนาด ใหญ่เข้าสู่เซลล์ โดยอาศัยการ โอบล้อมของเยื่อหุ้มเซลล์เกิด เป็น ถุงFood vacuoleภายใน เซลล์ มีหลายวิธี - Pinocytosis เป็นการนำาสารที่ เป็นของเหลวเข้าสู่เซลล์ สามารถแบ่งตามขนาดของสาร ได้อีก 2 กระบวนการ คือ micropinocytisis และ macropinocytosis - Phagocytosis เป็นการนำาสาร ที่เป็นของแข็งเข้าสู่เซลล์ อาศัย เท้าเทียม(pseudopodium)โอบ ล้อมเข้าสู่เซลล์ - Receptor mediate endocytosis เป็นการนำาสาร
  • 54. เป็นการนำาสารออกจากเซลล์ โดยสารนั้นอยู่ภายใน Secretory vesicle ซึ่งถุงเหล่านี้จะเชื่อมติดกับเยื่อหุ้มเซลล์ทำาให้เยื่อหุ้มของถุงแทรกเข้าไปใน เยื่อหุ้มเซลล์ดังนั้นสารจึงหลุดออกสู่นอกเซลล์ พบได้ทั้งในเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์ที่มีการปล่อยสารหลั่งต่างๆ เช่น เอนไซม์ ฮอร์โมน นิวโรทราน สมิตเตอร์ แอนติบอดี สารเคลือบเซลล์ และส่วนประกอบของผนังเซลล์ ซึ่ง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ - Constitutive secretion สารที่ส่งออกนอกเซลล์โดยไม่ต้องมีตัว กระตุ้น เช่น สารเคลือบเซลล์ โปรตีนแทรกไขมันของเยื่อหุ้ม - Regulated secretion สารที่ส่งออกนอกเซลล์ที่ต้องอาศัยตัว กระตุ้นจากภายนอก เช่นการปล่อยเอนไซม์ ฮอร์โมน
  • 56. ทำาหน้าที่เชื่อมเซลล์ให้ติดกันทำาให้เซลล์รวมติดกันเป็นเนื้อเยื่อและ คงรูปอยู่ได้ มี 2 ชนิดคือ Spot desmosome และ Belt desmosome พบในเซลล์สัตว์ทุกชนิด โดยเฉพาะเซลล์ที่มีการ ขยับอยู่ตลอดเวลา เช่น ผิวหนัง กล้ามเนื้อหัวใจ ทางเดินอาหาร Spot desmosome Belt desmosome
  • 57. เกิดจากการรวมกันของเยื่อหุ้มเซลล์ของ 2 เซลล์ จนสารไม่สามารถ ผ่านได้ มีลักษณะเป็นแนวสันนูนของอนุภาคซึ่งประกอบด้วยโปรตีน หลายชนิด ทำาหน้าที่ป้องกันเคลื่อนที่ของนำ้าหรือตัวทำาละลายผ่าน ทางช่องว่างระหว่างเซลล์ พบมากใน เยื่อบุผนังทางเดินอาหาร เยื่อ บุกระเพาะปัสสาวะ เพื่อไม่ให้เอนไซม์หรือปัสสาวะไหลย้อนกลับ
  • 58. เป็นช่องสำาหรับแลกเปลี่ยนสารเคมีระหว่างเซลล์ และสัญญาณ ประจุไฟฟ้าสามารถผ่านได้ โดยมีโครงสร้างที่เรียกว่า Connexon ซึ่งประกอบจากโปรตีน Connexin 4-6 อันมา เรียงเป็นวงกลม ตรงกลางเป็นรูกลวงเพื่อให้สารผ่านได้
  • 59. การแบ่งเซลล์มี 2 ขั้นตอน คือ 1. การแบ่งนิวเคลียส (Karyokinesis) จะมี 2 แบบ คือ 1.1 การแบ่งแบบไมโทซีส(Mitosis) เป็นการแบ่ง นิวเคลียสของเซลล์ร่างกาย โดยทั่วไป (SOMATIC CELL) หลังจากแบ่งเซลล์เสร็จสิ้นแล้วเซลล์จะ ยังคง มีจำานวนโครโมโซมเท่าเดิม 1.2 การแบ่งแบบไมโอซีส(Meiosis) เป็นกระบวน การแบ่งนิวเคลียสเพื่อให้ ได้เซลล์สืบพันธุ์ โดยแต่ละ เซลล์ที่ได้มีจำานวนโครโมโซมลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง ของ เซลล์เดิม 2. การแบ่งไซโทพลาสซึม (Cytokinesis) มี 2 แบบ คือ 2.1 แบบที่เยื่อหุ้มเซลล์คอดกิ่วจาก 2 ข้างเข้าใจ กลางเซลล์เรียกว่าแบบ furrow type ซึ่งพบในเซลล์ สัตว์ 2.2 แบบที่มีการสร้างเซลล์เพลท (cell plate) มาก่อ
  • 60.
  • 61. ๑) ระยะอินเตอร์เฟส (interphase) เป็นระยะที่เซลล์เตรียมตัวให้พรอ้ม ก่อนที่จะแบ่งนิวเคลียสและไซโท พลาซึม เซลล์ในระยะนี้ มีนิวเคลียส ขนาดใหญ่ และเห็นนิวคลีโอลัส ชัดเจนเมื่อย้อมสี แบ่งเป็นระยะย่อย ได้ 3 ระยะ คือ G1- ระยะก่อนสร้าง DNA S - ระยะสร้าง DNA G2- ระยะหลังสร้าง DNA
  • 62. ๒)ระยะโพรเฟส(Prophase) -มีการสลายตัวของNucleolusc และ เยื่อหุ้มนิวเคลียส -มีการขดตัวของโครโมโซม มอง เห็น1 โครโมโซมมี 2 โครมาติด - Centriole จำาลองตัวเองแล้ว เคลื่อนที่ไปสู่ขั้วเซลล์ พร้อมสร้าง Mitotic spindle fiber
  • 64. ๔)ระยะแอนาเฟส(Anaphase) -Centromere แยกออกทำาให้โค รมาติดแยกออกจากกัน ส่วนmitotic spindle หดสั้นเข้า ทำาให้โครมาติดที่แยกออกเริ่มเค ลื่อที่เข้าสู่ขั้วเซลล์
  • 66.
  • 67.
  • 68. การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโอซิส (meiosis) การแบ่งเซลล์แบบนี้นิวเคลียส มีการเปลี่ยนแปลงโดยลดจำานวนโครโมโซมลงครึ่งหนึ่ง เป็นการแบ่งเพื่อ สร้างเซลล์สืบพันธุ์ เซลล์ร่างกายของคนมีโครโมโซมอยู่ 46 โครโมโซม หรือ 23 คู่ แต่ละคู่มีรูปร่างลักษณะเหมือนกัน เรียกโครโมโซมที่เป็นคู่กัน ว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome) และเซลล์ที่มี โครโมโซมเข้าคู่กันได้เรียกว่า เซลล์ดิพลอยด์ (diploid cell) การแบ่ง เซลล์แบบไมโอซิสนี้ นิวเคลียสมีการเปลี่ยนแปลง 2 รอบ รายละเอียดของการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส มีดังนี้ระยะอินเตอร์เฟส I => ระยะไมโอซิส I ประกอบด้วย ระยะโพรเฟส I ระยะเมทาเฟส I ระยะแอนาเฟส I ระยะเทโลเฟส I ระยะอินเตอร์เฟส II => ระยะไมโอซิส II ประกอบด้วย ระยะโพรเฟส II ระยะเมทาเฟส II ระยะแอนาเฟส II ระยะเทโลเฟส II
  • 69. meiosis I (reductional division) เป็นการลดจำานวนโครโมโซมลงครึ่งหนึ่ง จากเซลล์เริ่มต้นที่มี จำานวนโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ (Diploid) (2n) จะได้เซลล์ที่มี โครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ (Haploid) 2 เซลล์ Prophase I เป็นระยะที่มีความซับซ้อนมากที่สุด แบ่งออกเป็น 5 ระยะ - leptotene เริ่มมีการพันเกลียวของโครโมโซม ให้สั้นเข้าและหนาขึ้น - zygotene โครโมโซมที่เป็นคู่กันจะมาแนบชิด กันตามความยาวของ โครโมโซม - pachytene ไบวาเลนท์หดตัวสั้นเข้าและหนา ขึ้น และการแนบชิดของ โครโมโซมที่เป็นคู่กันจะ สมบูรณ์และสิ้นสุดลง - diplotene โครโมโซมที่เป็นคู่กันจะเริ่มแยก ออกจากกัน แต่มีส่วนที่ ติดกันอยู่ เรียกว่า ไคแอสมา - diakinesis คล้ายกับดิโพลทีน แต่โครโมโซม
  • 70. Metaphase I -เยื่อหุ้มนิวเคลียสจะสลายไป และแต่ละไบวาเลนท์จะ เคลื่อนที่มาเรียงตัวตรงกลาง เซลล์ Anaphase I เซนโทรเมียร์จะยังไม่แบ่งตัว จาก 1 เป็น 2 และโครโมโซม ที่เป็นคู่กันจะแยกไปยังขั้วของ เซลล์แต่ละโครโมโซมที่แยก ไปสู่ขั้วเซลล์ยังคงประกอบ ด้วย 2 โครมาติด และขาดคู่ไป ทำาให้จำานวนโครโมโซมที่ขั้ว
  • 71. telophase I -โครโมโซมที่ขั้วเซลล์ที่มี จำานวนโครโมโซมลดลงครึ่ง หนึ่งนี้เมื่อมีการสร้างเยื่อหุ้ม นิวเคลียสขึ้นมาล้อมรอบ โครโมโซมและเกิดการแบ่งไซ โทพลาสซึมจะได้เซลล์ลูก 2 เซลล์ มีจำานวนโครโมโซมเป็น แฮพลอยด์ (n) Meiosis II (equational division) คล้ายคลึงกับการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส มีการแยกตัวของ โครมาติดเกิดขึ้น เมื่อสิ้นสุดระยะนี้จะได้ 4 เซลล์ที่มีจำานวน โครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ และ 4 เซลล์ที่ได้มีจำานวน โครโมโซมและพันธุกรรมแตกต่างจากเซลล์เริ่มต้น
  • 73. Anaphase II เซนโทรเมียร์ของแต่ละ โครโมโซมจะแบ่งตัวจาก 1 เป็น 2 และโครมาติด จะแยกออกจากกันไปยัง ขั้วของเซลล์ ทำาหน้าที่ เป็นโครโมโซมใหม่Telophase II เกิดเยื่อหุ้มนิวเคลียสขึ้นมา ล้อมรอบโครโมโซมที่ขั้ว เมื่อ เกิดการแบ่งไซโทพลาสซึม อีกจะได้เซลล์ลูก 4 เซลล์ แต่ละเซลล์มีจำานวน โครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ และมีพันธุกรรมแตกต่างจาก
  • 74. Exercis ea. จงอธิบายทฤษฎีเซลล์ทั้ง ๓ ข้อ b. จงเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง Eukaryote และ Prokaryote c. จงเขียนแผนภูมิความคิดอธิบาย หน้าที่ของ Organelles ของสิ่งมีชีวิต d. จงเขียนแผนภูมิความคิดอธิบาย การขนส่งสารผ่านเข้า ออกเซลล์ e. จงเขียนแผนภาพและอธิบายการแบ่งเซลล์แบบ Mitosis และ Meiosis โดยกำาหนดให้ 2n = 8
  • 75. สัตว์และพืชเมื่อแบ่งเซลล์แล้ว เซลล์ที่ได้ใหม่จะมีการรวมกลุ่มกันเป็น เนื้อเยื่อ (tissue) ชนิดต่างๆ เนื้อเยื่อชนิดต่างๆ จะรวมกันเป็นอวัยวะ (organ) และอวัยวะก็รวมกันเป็นระบบ (system) ระบบแต่ละระบบก็ทำา หน้าที่เฉพาะลงไป เช่นระบบย่อยอาหาร (digestive system) ระบบเหล่า นี้จะรวมกันและประกอบขึ้นเป็นรูปร่างหรือร่างกายของสิ่งมีชีวิตแต่ละ ชนิด (body)
  • 76. 1. เนื้อเยื่อของสัตว์ (animal tissue) จำาแนกออกเป็น        1.1 เนื้อเยื่อบุผิว (epithelial tissue)  เป็นเนื้อเยื่อที่บุผิวนอก ร่างกาย หรือเป็นผิวของอวัยวะ หรือบุช่องว่างภายในร่างกาย โดยเนื้อเยื่อบุผิวจะเรียวตัวอยู่บนเยื่อรองรับฐาน (basement membrane) และผนังด้านบนของเยื่อบุผิว ไม่ติดต่อกับเนื้อ เยื่ออื่นๆ ไม่มีเส้นเลือดมาเลี้ยง ได้รับสารอาหาร แก๊สต่างๆ จากการแพร่
  • 77. เยื่อบุผิวเมื่อจำาแนกตามรูปร่างและการจัดระเบียบของเซลล์ ได้ ดังนี้       1) เยื่อบุผิวเรียงตัวชั้นเดียว (simple epithelium) ประกอบด้วยเซลล์รูปร่าง 3 แบบ คือ เซลล์รูปร่างแบนบาง (simple spuamous epithelium) เซลล์รูปเหลี่ยมลูกบาศก์ (Simple Cuboidal epithelium) เซลล์ทรงสูง (simple columnar epithelium)
  • 78. -สความัส (Squamous) เซลล์มีรูปร่างแบน ถ้าเซลล์เรียงตัวชั้น เดียวเรียกว่า ซิมเปิล สความัส (Simple squamous) พบที่ถุงลม ในปอด เซลล์บุผิวหลอดเลือด ทำาหน้าที่เป็นตัวกลางในการแพร่ ผ่านของสาร นอกจากนั้นยังพบเซลล์แบบสความัสนี้ในไต และ ช่องว่างส่วนใหญ่ในลำาตัว เซลล์เหล่านี้ไม่ค่อยมีกระบวนการเม ตาบอลิซึมมากนัก ทำาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการแพร่ของนำ้า สารละลาย และสารอื่นๆ
  • 79. -คิวบอยดัล (Cuboidal) เซลล์มีลักษณะเหลี่ยมคล้าย ลูกบาศก์ ความสูงเท่าๆ กับความกว้าง นิวเคลียสมักอยู่ บริเวณกลางเซลล์
  • 80. -คอลัมนาร์ (Columnar) เซลล์มีความสูงมากกว่าความกว้าง เซลล์ที่เรียงตัวชั้นเดียวเรียกว่า ซิมเปิล คอลัมนาร์ (Simple columnar) นิวเคลียสมักอยู่ใกล้กับฐานเซลล์ พบบุผิวที่ ลำาไส้เล็ก และพบเซลล์ที่ทำาหน้าที่เป็นต่อมหลั่งสารเรียกว่า เซลล์กอบเลท (Goblet cell) อยู่กระจายทั่วไปในชั้นของ เนื้อเยื่อนี้เพื่อทำาหน้าที่หลั่งเมือก ด้านบนของเซลล์อาจพบ ส่วนที่ยื่นออกมาคล้ายเส้นขนขนาดเล็กเรียกว่า ไมโครวิลไล (Microvilli) ทำาหน้าที่ช่วยเพิ่มพื้นที่การดูดซึม
  • 81. 2) เยื่อบุผิวเรียงตัวหลายชั้น (stratified epithelium) เป็น เนื้อเยื่อบุผิวที่ประกอบด้วยเซลล์เรียงตัวหลายชั้น ได้แก่ 1. Stratified squamous epithelium เป็นเนื้อเยื่อบุผิวที่ ประกอบด้วยเซลล์ รูปร่างหลายเหลี่ยม แบนบาง เรียงกันหลาย ชั้น เช่น พบที่ผิวหนัง
  • 82. 2. Stratified cuboidal epithelium ประกอบด้วย เซลล์รูป สี่เหลี่ยมลูกบาศก์ เรียงตัวหลายชั้น เช่น พบที่ต่อมเหงื่อ
  • 83. 3. Stratified columnar epithelium ประกอบด้วย เซลล์รูปทรง กระบอกสูง ตั้งอยู่บนเยื่อบุผิวอื่นๆ เช่น พบที่บางบริเวณของเยื่อบุ คอหอย
  • 84. 3) เยื่อบุผิวเรียงตัวหลายชั้นเทียม (Pseudostratified epithelium) เป็น เนื้อเยื่อบุผิว ที่ประกอบด้วยเซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียวบนเยื่อฐาน รองรับ แต่ระดับความสูงของเซลล์ต่างๆ ไม่เท่ากัน ทำาให้เห็นเหมือนกับ ว่า เซลล์ซ้อนกันหลายชั้น พบที่ผนังหลอดลม
  • 85. 4) เนื้อเยื่อบุผิวเรียงตัวซ้อนกันหลายชั้นแบบยืดหยุ่น (transitional epithelium) เป็นเนื้อเยื่อบุผิว ที่ประกอบด้วยเซลล์เรียงตัวของเซลล์ หลายชั้น โดยที่เซลล์สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ระหว่างเป็นแบบ squamous กับ cuboidal cell ขึ้นอยู่กับสภาพของอวัยวะ เช่น พบที่ ผนังชั้นในของกระเพาะปัสสาวะ
  • 86. หน้าที่ของเนื้อเยื่อบุผิว a.ป้องกันอันตรายให้กับสิ่งที่ปกคลุม b.ดูดซึมสารอาหาร และดูดสารบาง ประเภทกลับสู่ร่างกาย c.สร้างและหลั่งสารคัดหลั่งต่างๆ d.รับรู้สัมผัสพิเศษต่างๆ e.หดและคลายตัวเพื่อขับสารบางชนิด นอกจากนี้อาจมีสิ่งอื่นๆเพิ่มเติมบน เนื้อเยื่อบุผิว เช่น ซีเลีย แฟลกเจลลา ไมโครวิลไล เป็นต้น เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการทำางานของเนื้อเยื่อบุผิว
  • 87. 2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective Tissue) เป็นเนื้อเยื่อที่พบแทรกอยู่ทั่วไปใน ร่างกาย ทำา หน้าที่ ยึดเหนี่ยวหรือ พยุงอวัยวะ ให้คงรูป อยู่ได้ ลักษณะ ของเนื้อเยื่อชนิดนี้ คือตัวเซลล์และเส้นใย กระจายอยู่ ในสารระหว่างเซลล์ที่เรียกว่า เมทริกซ์ (matrix) ซึ่งเส้นใยที่พบ ได้แก่ - เส้นใยคอลลา เจน(collagen fiber) รวมกันเป็นมัด มีความแข็งแรง        - เส้นใยอิลาสติก (elastic fiber) แตก แขนงเป็นเส้น มี ความยืนหยุ่นสูง        - เส้นใยร่างแห(reticular fiber) คล้าย Collagen แต่
  • 88. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันสมบูรณ์(connective tissue proper) 2. กระดูกอ่อน (cartilage) 3. กระดูกแข็ง(bone) 4. เลือด (blood)
  • 89. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันสมบูรณ์ (Connective Tissue Proper) แบ่งออกเป็น ๑. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดโปร่งบาง Loose Connective Tissue เป็นเนื้อเยื่อมีเส้นใยเรียงตัว ไม่เป็นระเบียบ ชนิด ที่พบมาก ได้แก่ คอลลาเจนและ อิลาสติก สำาหรับเส้นใยร่างแหพบ เล็กน้อย เซลล์ที่พบในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ชนิดโปร่งบาง ได้แก่         - เซลล์ไฟโบรบลาสต์(fibroblast)         - เซลล์แมโครฟาจ (macrophage)     - เซลล์แมสต์ (mast cell)         - เซลล์พลาสมา (plasma cell) เนื้อเยื่อชนิดนี้ทำาหน้าที่คำ้าจุนเนื้อเยื่อ อื่นๆ ให้อยู่ใน ตำาแหน่ง ที่เหมาะ สม จึงมีเส้นใยอยู่กันอย่างหลวมๆ
  • 91. ๒. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแน่นทึบ (Dense Connective Tissue) พบปริมาณเส้นใยมากอยู่ติดกันแน่นทึบ ทำาให้มี ช่องว่าง ระหว่างเซลล์น้อยแบ่งเป็น 3 ลักษณะคือ        - ชนิดเกี่ยวพันทึบ พบตามเอ็นกล้ามเนื้อ (tendon) และ เอ็นยึด (ligament) ประกอบด้วย เส้นใย คอลลาเจนเรียง ตัวหนาแน่นสี ขาว        - ชนิดยืดหยุ่น (elastic connective tissue)พบ ที่ผนัง หลอดเลือด กล่องเสียง หลอดลม และ ปอด ประกอบด้วย เส้นใยอิลาสติกสีเหลือง ทำาหน้าที่ให้ความแข็ง แรงและ ยืดหยุ่นได้ดี        - ชนิดร่างแห (reticular connective tissue) ตัวเซลล์ เป็นเซลล์ร่างแห (reticular cell) Fibrous tissue Elastic Tissue Reticular
  • 92. เนื้อเยื่อไขมัน ( Adipose Tissue) ประกอบด้วยเซลล์ไขมัน (adipocyte) ทำาหน้าที่ ป้องกันแรงกระทบกระเทือน เป็นฉนวนกันการสูญเสียความ ร้อน และช่วยหล่อลื่น (โดยเฉพาะในเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardium)) และเก็บสะสมพลังงานในรูปไขมัน มักพบ แทรกอยู่ตามเนื้อเยื่ออื่นๆ
  • 93. กระดูกอ่อน (Cartilage) ประกอบไปด้วย เส้นใยคอลลาเจนและ/ หรือ เส้นใยอี ลาสติน และเซลล์ที่เรียกว่า คอนโดรไซต์ โดยองค์ประกอบ ที่อยู่ภายในจะมีลักษณะ คล้ายเจล เรียกว่า แมทริกซ์ กระดูกอ่อนจะไม่มีหลอดเลือดมาเลี้ยง คอนโดรไซต์จะแลก เปลี่ยนสารอาหารโดยแพร่ผ่านคอลลาเจนมาสู่เส้นเลือด ด้านนอก เมตาบอลิซึมของเซลล์เหล่านี้ตำ่า ถ้าถูกทำาลายจะ ซ่อมแซมตัวเองได้แต่ช้า กระดูกอ่อนมีหน้าที่หลายอย่าง ประกอบ ไปด้วย การ เตรียมโครงร่างของการ สะสมการสร้างกระดูก และช่วย สร้าง พื้นที่หน้าเรียบสำาหรับรองรับการเคลื่อนไหวของ กระดูกข้อต่อ เป็นกระดูกที่เกิดขึ้นก่อนในระยะ
  • 94.
  • 95. กระดูกแข็ง (Bone) ประกอบด้วยเซลล์กระดูกที่เรียกว่า ออสทีโอไซต์ (osteocyte) อยู่ในช่องลาคูนา โดยเซลล์กระดูก จัดเรียงตัว เป็นวงรอบช่อง ฮาเวอร์เชียน (harversian canal) ที่มี เส้นเลือดนำาอาหารมาเลี้ยงเซลล์กระดูกและเรียกลักษณะ การเรียงตัวของเซลล์กระดูกนี้ว่า ระบบฮาร์เวอร์เชียน (harversian system) ช่องฮาร์เวอร์เชียนสามารถติดต่อกับ ช่องลาคูนาหรือระหว่างช่องลาคูนาด้วยกันเองโดยผ่านช่อง เล็ก ๆ ที่เรียกว่า คานาลิคูไล (canaliculi) สารระหว่างเซลล์ กระดูก ประกอบด้วยแคลเซียมและฟอสเฟตเป็นองค์ ประกอบสำาคัญ
  • 96.
  • 97. เลือด (Blood) ประกอบด้วย นำ้าเลือด (plasma) เซลล์เม็ดเลือด ซึ่งแบ่งเป็น           - เซลล์เม็ดเลือดแดง (Red Blood cell or Erythrocyte) เซลล์เม็ดเลือดแดง มีรงควัตถุฮีโมโกลบิน (hemoglobin)ทำาหน้าที่ลำาเลียงออกซิเจนและ คาร์บอนไดออกไซด์          - เซลล์เม็ดเลือดขาว (White Blood cell or Leukocyte) เซลล์เม็ดเลือดขาวทำาหน้าที่ทำาลายสิ่งแปลกปลอม ที่เข้าสู่ร่างกาย
  • 98. เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ มีหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย โดยสามารถหด ตัวได้ เซลล์กล้ามเนื้อ มีรูปร่างยาวมักเรียกว่า ใยกล้ามเนื้อ (myofibril) แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ กล้ามเนื้อลาย (skeletal or striated muscle) มีรูปร่างเป็นทรงกระบอก เรียงตัวขนานกัน มีลาย แต่ละเซลล์มีหลายนิวเคลียส กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) เซลล์มีรูปร่างยาวหัวท้ายแหลม แต่ละเซลล์มีนิวเคลียส 1 อัน อยู่กลางเซลล์ ไม่มีลายตามขวาง กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) เซลล์มีลายคล้ายกล้ามเนื้อลาย พบ นิวเคลียส 1-2 อัน อยู่กลางเซลล์ และเซลล์มีแขนงเชื่อมต่อกัน
  • 99.
  • 100.
  • 101.
  • 102. เนื้อเยื่อประสาท ประกอบด้วย ๑. เซลล์ประสาท (Neuron) ทำาหน้าที่รับส่งกระแส ประสาท ๒. เซลล์เกี่ยวพันประสาท (Neuroglia) มีหน้าที่ สนับสนุนการทำางานของเซลล์ประสาท เช่นยึดเหนี่ยวหรือ คำ้าจุนเซลล์ประสาท ซ่อมแซมบาดแผลที่เกิดขึ้นกับเซลล์ ประสาท เป็นต้น