SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
วัฒนธรรมทางจารีต        วัฒนธรรมทางด้านการ
      ประเพณี                   แต่งกาย
วัฒนธรรมทางด้านทีอยู่
                 ่      วัฒนธรรมทางด้านการรับ
       อาศัย                 ประทานอาหาร
         วัฒนธรรมทางด้านนาฏศิลป์และ
                   ดนตรี
วัฒนธรรมทางด้านการแต่ง
กาย
    ภาคใต้ของไทยเริ่มตั้งแต่จังหวัด
 ชุมพรลงไปจนถึงชายแดนประเทศ
 มาเลเซีย เป็นพืนที่ที่ถูกขนาบด้วยทะเล
                 ้
 ทั้งสองฟาก และเป็นจุดผ่านของเส้น
 ทางค้าขายติดต่อระหว่างอารยธรรม
 ตะวันออกและตะวันตกมาตั้งแต่อดีต
 ชึ่งชัดเจนมากในสมัยอยุธยา เพราะ
 เป็นตลาดแลกเปลี่ยนสินค้าและเป็น
 ท่าเรือ อารยธรรมต่างประเทศหลาย
 อย่างที่เข้าสูราชอาณาจักรสยามมักจะ
               ่
ในด้านการใช้ผา มีบันทึกว่าชาวภาค
                       ้
ใต้ใช้ผาหลายรูปแบบ ทั้งผ้าฝ้าย ผ้าแพร
        ้
ผ้าเขียนลายเทียน ผ้ามัดย้อม แต่ผาที่มีชื่อ
                                  ้
ที่สดของภาคใต้กลับเป็นผ้ายก โดยเฉพาะ
    ุ
ผ้ายกจากจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่รู้จัก
ในนามของผ้ายกเมืองนคร เป็นผ้าที่ราช
สำานักภาคกลางสั่ง ทอและให้สงเป็น
                               ่
บรรณาการ ต่อมาในระยะหลังก็มีผ้าที่มีชื่อ
เสียงตามมาอีกหลายชนิด แต่ชาวบ้าน
ปักษ์ใต้ทั่วไปเดิมนิยมนุงผ้าคล้ายผ้า
                         ่
ขาวม้ามีสีแดง การนุงผ้าปาเต๊ะหรือบาติก
                     ่
ที่มีลวดลายสีสนหลากหลายเป็นความนิยม
               ั
ผ้า ยกเมือ งนครศรีธ รรมราช

 ผ้ายกเป็นวิธการทอที่นิยมมากของ
                 ี
 คนไทยในแต่ละพืนที่ก็มีวิธีทอและ
                    ้
 ลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันไป ภาคใต้
 ก็เช่นกัน ผ้ายกเมืองนครศรีธรรมราช
 เป็นผ้าที่วิจิตรสวยงามขึนชือมาแต่
                         ้ ่
 โบราณเป็นที่นิยมมาแต่ครั้งราชสำานัก
 อยุธยา ผ้ายกเมืองนครฯ ทอด้วยไหม
 เนื้อละเอียด นิยมเป็นสีเดียวกันเกือบทั้ง
 ผืน สอดแทรกลวดลายด้วยดิ้นทองที่
 แลดูแผ่วเบาแต่เป็นระเบียบ ลวดลาย
ผ้ายก เมืองนครศรีธรรมราช
ผ้า ทอเกาะยอ   
 
    เป็นผ้าทอจากตำาบลเกาะยอ อำาเภอเมือง
    จังหวัดสงขลา เป็นผ้าที่ทอด้วยใยฝ้าย มี
    เนื้อแน่น มีทั้งชนิดที่ทอ 2 ตะกอจนถึง 10
    ตะกอ การทอแบบเหยียบตะกอแยกเส้นยืน
    ขึนลงทำาให้เกิดลายตารางคล้ายกับผ้า
      ้
    ขาวม้า ชาวภาคใต้นิยมใช้ทำาผ้าโสร่งและ
    ผ้านุ่ง จุดเด่นของผ้าทอเกาะยอจึงอยู่ที่
    ลายตารางนันเอง ซึงมีขนาดเล็กซ้อนๆ กัน
                  ่      ่
    ทอด้วยด้าย 2 สี เช่นสีขาว – แดง   สีขาว-
    แดงแซมดำา สีขาว-แดงแซมเหลือง จึงมัก
    จะเรียกผ้านี้อีกอย่างว่า ผ้าลายราชวัตร
    หากมีตารางใหญ่ก็เรียกว่า ราชวัตรใหญ่
ผ้า ทอเกาะยอ   
ผ้า ทอนาหมืน สี
                    ่


     มีแหล่งทออยู่ทจังหวัดตรัง เป็น
                   ี่
    เอกลักษณ์อีกแบบหนึงของผ้าภาค
                          ่
    ใต้ ส่วนใหญ่เป็นผ้าทอ ยกดอกแต่
    เส้นด้ายย้อมสีสดมาก การทอใช้
    เครื่องทอขนาดใหญ่จึงได้ผ้าผืน
    กว้าง มีลายเชิงมีรูปแบบคล้ายกับ
    ผ้าจากอำาเภอหาดเสียว จังหวัด
                        ้
    สุโขทัย
     โดยทั่ว ไปชาวบ้า นโดยทั่ว ไป  ทั้งผู้ที่นับถือศาสนา
    พุทธและศาสนาอิสลาม มีความนิยมเหมือนกัน คือ การนุ่ง
    ผ้าถุงหรือโสร่ง คนปัตตานีนิยมนุ่งผ้าถุงหรือโสร่งทั้งหญิง
    และชาย ผู้ชายนุ่งผ้าโสร่งลายตาหมากรุก ผู้หญิงนิยมนุ่ง
    ผ้าโสร่งปาเต๊ะ เสื้อก็สวมเสื้อที่หาซื้อได้ตามท้องตลาด
    ทัวไป ในความนิยมที่เหมือนกันก็จะมีความแตกต่างที่เห็น
       ่
    ได้ชัด ระหว่างผู้ที่นับถือศาสนาพุทธและศาสนาอิสลาม คือ
    ผุ้หญิงมุสลิมเมื่ออกจากบ้านจะแต่งกายแบบมิดชิด ใช้เสื้อ
    แขนยาวและมีผ้าคลุมศรีษะ(กายกูบง) ผู้ชายเมื่ออกจาก
    บ้านจะนุ่งผ้าโสร่ง สวมเสื้อแขนยาวและจะมีผ้าโพก
    ศรีษะ(ผ้าตรือแบ หรือซือแบ) หากไม่ใช้ผ้าโพกศรีษะก็จะ
    ใช้หมวกที่เรียกว่า กาปีเยาะ หรือซอเก๊าะ
ผ้า ทอนาหมืน สี
               ่

วัฒนธรรมทางจารีต ประเพณี

   ระชากรในภาคใต้ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยนับถือพระพุทธ
    ศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณีเหมือนคนไทย โดย
    ทัวไป นอกจากนีมีพิธการปลีกย่อยบางอย่างที่แตกต่างกัน
      ่              ้    ี
    บ้าง นอกจากไทยพุทธแล้ว บริเวณทางตอนใต้ของภาค
    โดยเฉพาะในเขตจังหวัดชายแดน ประชาชนในจังหวัด
    เหล่านี้เกือบร้อยละ ๖๐ นับถือศาสนาอิสลาม เมื่อมี
    ประชากรนับ ถือศาสนาอิสลามเป็นจำานวนมากรองไปจาก
    พระพุทธศาสนา ทางราชการจึงออกกฎหมายรับรอง และ
    ได้วางระเบียบ ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้นบถือ
                                                    ั
    ศาสนาอิสลามด้วย เช่น มีกฎหมายว่าด้วยการทะเบียน
    มัสยิด และได้มีการตั้งคณะ กรรมการกลางอิสลามแห่ง
    ประเทศไทย และคณะกรรมการอิสลามประจำาจังหวัดที่มีผู้
    นับถือศาสนาอิสลามจำานวนมาก เพื่อให้คำาปรึกษาแก่ทาง
    ราชการเกียวกับกิจกรรมต่าง ๆ ของศาสนาอิสลาม
                ่
   ชาวไทยในภาคใต้ได้อพยพย้ายถิ่นมาตั้งถินฐานอย่าง
                                               ่
    ถาวรอยู่ตามจังหวัดต่าง ๆ เป็นเวลานาน รวมทั้งได้ ผสมกับ
    ชนพื้นเมือง จึงทำาให้มีผิวพรรณต่างไปจากคนภาคอืนบ้าง ่
    รวมทั้งภาษาพูด และมีทะเลที่ตั้งห่างไกลจากเมือง หลวง
    การคมนาคมไม่สะดวก แยกกันมาหลายร้อยปี ภาษาจึง
    เปลี่ยนแปลงไปจากภาษาเดิม ซึ่งความจริงเพี้ยนไปตาม
    ท้องถิ่นแต่ยังเป็นภาษาไทยอยู่ มีสำาเนียง เสียงห้วน และพูด
    เร็วกว่าภาษาทางภาคเหนือ แต่จังหวัดที่มีประชากรพูดต่าง
    กันไปคนละภาษาเลยก็คือในจังหวัดชายแดนภาคใต้
    ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยมุสลิมนิยมใช้ภาษามลายู
    เมื่อพูดกัน นานเข้าก็ไม่สารมารถพูดและฟังภารษาไทยให้
    เข้าใจได้ โดยเฉพาะผูที่อยู่ในชนบทห่างไกลและไม่ได้เข้า
    โรงเรียนสอนภาษา ไทย ในการติดต่อกับทางราชการจึง
    ต้องใช้ล่ามแปล
   ในดินแดนภาคใต้ของไทยนี้เป็นที่อยู่อาศัยของชาวไทย
    ซึ่งจำาแนกตามลักษณะเด่นได้ดังนี้
                         - ชาวไทยพุทธ คนไทยในภาคใต้ตอนบน
    เป็นคนไทยพุทธ ซึ่งมีขนบธรรมเนียมประเพณีทาง
    พระพุทธศาสนา เช่นเดียวกับคนไทยส่วนใหญ่ของประเทศ
    ประเพณีที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ประเพณีชิงเปรตและประเพณี
    ชักพระ ของ จ.สุราษฎร์ธานี เป็นต้น
                         ส่วนคนไทยเชื้อสายจีนมีประเพณีบางอย่างที่
    แตกต่างออกไป เช่น มีเทศกาลถือศีลกินเจ ที่ จ.ภูเก็ต
    เป็นต้น
                      
      - ชาวไทยมุสลิม ในประเทศไทยมีจำานวนประมาณแสน
    คน ในจำานวนนี้ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัดชาย แดน
    ภาคใต้ ชาวไทยมุสลิมใช้ภาษาพื้นเมืองเรียกว่าภาษายาวี
    แต่สามารถพูดไทยได้ เพราะปัจจุบันมีโรงเรียนของเอกชน
    และศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนเปิดสอนวิชาสามัญและ
    วิชาศาสนา ซึ่งแต่เดิมผู้ปกครองนักเรียนไทยมุสลิม ต้องส่ง
    เด็ก ไปเรียนหาความรู้ทางศาสนากับโต๊ะครูในปอเนาะ
    ปัจจุบันชาวไทยมุสลิมได้ดำารงตำาแหน่งทางราชการที่
    สำาคัญหลายตำาแหน่ง เช่น พัฒนากร นายอำาเภอ ครูใหญ่
    เป็นต้น โดยทั่วไปชาวไทยมุสลิมมีนสัยรักสงบ เคารพผู้
                                      ิ
    ปกครองบ้านเมือง รักประเทศ ชาติและมีความเอือเฟื้อเผื่อ
                                                ้
    แผ่เหมือนกับคนไทยทั่วไป
                        
   - ไทยใหม่หรือชาวเล บริเวณชายฝั่งและเกาะบางเกาะของ
    ภาคใต้ทางด้านทะเลอันดามันมีชาวพืนเมืองที่เรียก ว่า
                                              ้
    ชาวเล หรือชาวนำ้า จำานวนเป็นหมื่นคน กลุ่มชาวเลมีสังคม
    ภาษาพูดและขนบธรรมเนียมที่เป็นลักษณะของกลุ่มโดย
    เฉพาะ สันนิษฐานว่าชาวเลเหล่านี้เป็นเผ่าพันธุเมลาเซียนที่
                                                        ์
    เร่ร่อนทางทะเลมาจากหมู่เกาะเมลาเซียน ซึ่งความจริงแล้ว
    ชาวเลน่าจะ อาศัยอยู่ทางฝั่งตะวันออกของภาคใต้เพราะ
    อยู่ใกล้หมู่เกาะเมลาเซียนมากกว่า แต่ชาวเลกลับไปอาศัย
    อยู่มากทางชายฝั่ง ด้านตะวันตก ซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุที่
    ชัดเจนของการเลือกถินฐานดังกล่าว ชุมชนชาวเลที่ใหญ่
                                 ่
    ทีสุดอยู่ที่เกาะหลีเป๊ะ ใน หมู่เกาะอาดัง หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต
       ่
    เกาะสุรินทร์ จ.พังงา ปัจจุบันชาวเลที่ตั้งถิ่นฐานอยู่อย่าง
    ถาวรมีหลายแห่ง จึงต้องมี การทำาสำามะโนครัวและมีการตั้ง
    นามสกุลให้ เช่น ทะเลลึก ช้างนำ้า หาญทะเล เป็นต้น และ
    ได้เปลียนชื่อเรียกชาวเลเสียใหม่ ว่า ชาวไทยใหม่
              ่
                         - เงาะหรือชนเผ่าซาไก ชนเผ่านี้เป็นชนกลุ่ม
   วันลากพระ จะทำากันในวันออกพรรษา คือวันแรม ๑ คำ่า
    เดือน ๑๑ โดยตกลงนัดหมายลากพระไปยังจุดศูนย์รวม วัน
    รุงขึ้น แรม ๒ คำ่า เดือน ๑๑ จึงลากพระกลับวัด
      ่
   ความสำาคัญ :
             เป็นประเพณีทำาบุญในวันออกพรรษา ปฏิบัติตาม
    ความเชื่อว่า เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำาพรรษา ณ
    สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพื่อโปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษาจึง
    เสด็จกลับมายังโลกมนุษย์ พุทธศาสนิกชนไปรับเสด็จ แล้ว
    อัญเชิญพระพุทธเจ้า ประทับบนบุษบกแล้วแห่แหน

    พิธีกรรม :
             ๑. การแต่งนมพระ
             นมพระ หมายถึงพนมพระเป็นพาหนะที่ใช้บรรทุก
    พระลาก นิยมทำา ๒ แบบ คือ ลากพระทางบก เรียกว่า นม
    พระ ลากพระทางนำ้า เรียกว่า "เรือพระ" นมพระสร้างเป็น
    ร้านม้า มีไม้สองท่อนรองรับข้างล่าง ทำาเป็นรูปพญานาค 
    มีล้อ ๔ ล้ออยู่ใต้ตัวพญานาค ร้านม้าใช้ไม้ไผ่สานทำาฝา
    ผนัง ตกแต่งลวดลาย
    ระบายสีสวย รอบ ๆ ประดับด้วยผ้าแพรสี ธงริ้ว ธงสามชาย
    ธงราว ธงยืนห้อย
    ระยาง ประดับต้นกล้วย ต้นอ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้สดทำา
    อุบะห้อยระย้า มีต้มห่อด้วยใบพ้อแขวนหน้านมพระ ตัว
    พญานาคประดับกระจกแวววาวสีสวย ข้าง ๆ นมพระแขวน
    โพน กลอง ระฆัง ฆ้อง ด้านหลังนมพระวางเก้าอี้ เป็นที่นั่ง
    ของพระสงฆ์ ยอดนมอยู่บนสุดของนมพระ ได้รับการแต่ง
   การอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ
              พระลาก คือพระพุทธรูปยืน แต่ที่นิยมคือ พระพุทธ
    รูปปางอุ้มบาตร เมื่อถึงวันขึ้น ๑๕ คำ่า เดือน ๑๑ พุทธบริษัท
    จะสรงนำ้าพระลากเปลี่ยนจีวร แล้วอัญเชิญขึ้นประดิษฐาน
    บนนมพระแล้วพระสงฆ์จะเทศนาเรื่องการเสด็จไป
    ดาวดึงส์ของพระพุทธเจ้า ตอนเช้ามืดในวันแรม ๑ คำ่าเดือน
    ๑๑  ชาวบ้าน จะมาตักบาตรหน้านมพระ เรียกว่า ตักบาตร
    หน้าล้อ เสร็จแล้วจึงอัญเชิญ
    พระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ ในตอนนี้บางวัดจะทำา
    พิธีทางไสยศาสตร์
    เพือให้การลากพระราบรื่น ปลอดภัย
        ่
      ๓. การลากพระ
              ใช้เชือกแบ่งผูกเป็น ๒ สาย เป็นสายผู้หญิงและสาย
    ผู้ชาย โดยใช้โพน (ปืด) ฆ้อง ระฆัง เป็นเครื่องตีให้จังหวะ
    เร้าใจในการลากพระ  คนลาก
    จะเบียดเสียดกันสนุกสนานและประสานเสียงร้องบทลาก
    พระเพื่อผ่อนแรง
วัฒนธรรมทางด้านที่อยูอาศัย
                     ่
   การปลูกเรือน ต้องเลือกวันเวลาที่เหมาะสมตามคติ
    โหราศาสตร์และเลือกวัสดุก่อสร้างที่เป็นมงคล เลือกทิศทาง
    ทำาเลที่ไม่ขัดกัไม่นิยมปลูกบ้านขวางตะวัน เพราะเชื่อ
    ว่าการทำาดังนั้นเป็นการขวางโลก หาความเจริญไม่ได้
    ความเชื่อนี้มีผลต่อการวางผังบ้าน คือจะนิยมสร้างเรือน
    ครัวและเรือนข้าวไว้ทางทิศตะวันตกหรือตะวันออกของ
    ชานเรือน โดยเว้นทิศเหนือและใต้ของเรือนหลังแรกไว้เพื่อ
    ปลูกเรือนหลังที่สอง บ้านหลังใหม่จะได้ไม่ขวางตะวัน อีก
    ทังการปลูกเรือนครัวและเรือนข้าวในตำาแหน่งแหล่งที่ดัง
      ้
    กล่าว ยังเป็นการช่วยให้เรือนชานได้ร่มเงา อย่างน้อยก็
    ครึ่งวัน ทำาให้นั่งพักผ่อนหรือทำางานสะดวกสบายยิ่งขึ้น บ
    คติความเชื่อ 
   ม่นิยมปลูกบ้านสองชั้น นอกจากความสูงที่เกรงว่าจะต้าน
    พายุลมแรงแล้ว การปลูกเรือนสองชั้นทำาให้ยากต่อการ
    หลีกเลี่ยงคติ “ ที่สูงที่ตำ่า” อันเป็นคารวธรรมของคนไทยที่
    ไม่นิยมยืนเดินนั่งนอนบนระดับสูงกว่าผู้อาวุโส อีกทั้งใครมี
    เครื่องรางของขลังติดตัวอยู่ ถ้ามีสตรียืนเดินนั่งนอนอยู่บน
    ชั้นของเรือนก็จะไม่เป็นมงคล เชื่อว่าทำาให้เครื่องรางของ
    ขลังหมดความศักดิ์สิทธิ์ไป
   ไม่นิยมทำาพื้นระเบียงให้เสมอระดับพืนเรือน นอกจากคติ
                                        ้
    ความเชื่อเรื่องอาวุโสและของขลังดังกล่าวแล้ว บ้านชาวใต้
    นิยมลดระดับพื้นระเบียงตำ่ากว่าพืนเรือนนอน เมื่อมีบุตร
                                     ้
    หลานมาเยี่ยมเยียนผู้เฒ่าผู้แก่ บุตรหลานจะได้นั่งที่ระเบียง
    พืนในระดับที่ตำ่ากว่า 
      ้
วัฒนธรรมทางด้านการรับประทาน
อาหาร


     อาหารพื้นบ้านภาคใต้มีรสชาติโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์
    เฉพาะ สืบเนื่องจากดินแดนภาคใต้ 
    เคยเป็นศูนย์กลางการเดินเรือค้าขายของพ่อค้าจากอินเดีย
    จีนและชวาในอดีต ทำาให้วฒนธรรม 
                            ั
    ของชาวต่างชาติโดยเฉพาะอินเดียใต้ ซึ่งเป็นต้นตำารับใน
    การใช้เครื่องเทศปรุงอาหารได้เข้ามามีอิทธิพลอย่างมาก 
     

        อาหารพื้นบ้านภาคใต้ทั่วไป มีลกษณะผสมผสาน
                                        ั
    ระหว่างอาหารไทยพื้นบ้านกับอาหารอินเดียใต้ เช่น นำ้าบูดู
    ซึ่งได้มาจากการหมักปลาทะเลสดผสมกับเม็ดเกลือ และมี
    ความคล้ายคลึงกับอาหารมาเลเซีย อาหารของภาคใต้จึงมี
    รสเผ็ดมากกว่าภาคอื่น ๆ และด้วยสภาพภูมิศาสตร์อยู่ติด
    ทะเลทั้งสองด้าน มีอาหารทะเลอุดมสมบูรณ์ แต่สภาพ
    อากาศร้อนชื้น ฝนตกตลอดปี อาหารประเภทแกงและ
    เครื่องจิ้มจึงมีรสจัด ช่วยให้ร่างกายอบอุน ป้องกันการเจ็บ
                                            ่
    ป่วยได้อีกด้วย
     
วัฒนธรรมทางด้านนาฏศิลป์และ
ดนตรี

   ภาคใต้ เป็นดินแดนที่ติดทะเลทังฝั่งตะวันตกและตะวันออก
                                    ้
    ทางด้านใต้ติดกับมลายู ทำาให้รับวัฒนธรรมของมลายูมา
    บ้าง ขนบประเพณีวฒนธรรมและบุคลิกบางอย่างคล้ายคลึง
                         ั
    กัน คือ พูดเร็ว อุปนิสัยว่องไว ตัดสินใจ รวดเร็ว เด็ดขาด
    การแต่งกาย การแสดง เพลง และดนตรีคล้ายคลึงกันมาก
    นาฏศิลป์ของชาวไทยภาคใต้ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
    การแสดงพื้นบ้านและระบำาพื้นบ้าน การแสดงพื้นบ้าน
    สามารถแบ่งออกออกตามลักษณะของพื้นที่ ดังนี้
 พืนที่ ภาคใต้ตอนบน ได้แก่ โนรา เพลงบอก เพลงเรือ คำา
    ้
  ตัก เพลงชาน้อง
 พืนที่ ภาคใต้บริเวณลุ่มนำาทะเลสาบสงขลา ได้แก่ โนรา
      ้
  หนังตะลุง กาหลอ โต๊ะครึม(นายลิมนต์) เพลงเรือ
 พืนที่ ชายฝั่งทะเลอันดามัน ลิเกป่า รองเง็งชาวเล รองเง็ง
        ้
  ตันหยง กาบง กาหยง ดาระ
 พืนที่ ภาคใต้ตอนล่าง รองเง็งปัตตานี ดิเกร์ฮูลู ซีละ มะ
          ้
  โย่ง(บือดีกา) บานอ กรือโต๊ะ ตือตรี
 ส่วนระบำาพื้นบ้าน ได้แก่ ตารีกีปัส ระบำาร่อนแร่ ระบำากรีด
  ยาง เป็นต้น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6kkkkon
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาenksodsoon
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายratchadaphun
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 

Was ist angesagt? (20)

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลาย
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 

Ähnlich wie ภาคใต้

งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านkrunoony
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางtonsocial
 
ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3aoysumatta
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือtonsocial
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
Mesopotamia civilization
Mesopotamia civilizationMesopotamia civilization
Mesopotamia civilizationthan khan
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์Songwut Wankaew
 
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์Songwut Wankaew
 

Ähnlich wie ภาคใต้ (20)

งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
 
7
77
7
 
สังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลางสังคม ภาคกลาง
สังคม ภาคกลาง
 
ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3ภาคเหนือเจ้า3
ภาคเหนือเจ้า3
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
เวียดนาม
เวียดนามเวียดนาม
เวียดนาม
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
Mesopotamia civilization
Mesopotamia civilizationMesopotamia civilization
Mesopotamia civilization
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
 
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
 

Mehr von tonsocial

ใบงาน.5
ใบงาน.5ใบงาน.5
ใบงาน.5tonsocial
 
ใบงาน.4
ใบงาน.4ใบงาน.4
ใบงาน.4tonsocial
 
ใบงาน.3
ใบงาน.3ใบงาน.3
ใบงาน.3tonsocial
 
ใบงาน.2
ใบงาน.2ใบงาน.2
ใบงาน.2tonsocial
 
ใบงาน.1
ใบงาน.1ใบงาน.1
ใบงาน.1tonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือtonsocial
 

Mehr von tonsocial (14)

ใบงาน.5
ใบงาน.5ใบงาน.5
ใบงาน.5
 
ใบงาน.4
ใบงาน.4ใบงาน.4
ใบงาน.4
 
ใบงาน.3
ใบงาน.3ใบงาน.3
ใบงาน.3
 
ใบงาน.2
ใบงาน.2ใบงาน.2
ใบงาน.2
 
ใบงาน.1
ใบงาน.1ใบงาน.1
ใบงาน.1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
 

ภาคใต้

  • 1. วัฒนธรรมทางจารีต วัฒนธรรมทางด้านการ ประเพณี แต่งกาย วัฒนธรรมทางด้านทีอยู่ ่ วัฒนธรรมทางด้านการรับ อาศัย ประทานอาหาร วัฒนธรรมทางด้านนาฏศิลป์และ ดนตรี
  • 2. วัฒนธรรมทางด้านการแต่ง กาย  ภาคใต้ของไทยเริ่มตั้งแต่จังหวัด ชุมพรลงไปจนถึงชายแดนประเทศ มาเลเซีย เป็นพืนที่ที่ถูกขนาบด้วยทะเล ้ ทั้งสองฟาก และเป็นจุดผ่านของเส้น ทางค้าขายติดต่อระหว่างอารยธรรม ตะวันออกและตะวันตกมาตั้งแต่อดีต ชึ่งชัดเจนมากในสมัยอยุธยา เพราะ เป็นตลาดแลกเปลี่ยนสินค้าและเป็น ท่าเรือ อารยธรรมต่างประเทศหลาย อย่างที่เข้าสูราชอาณาจักรสยามมักจะ ่
  • 3. ในด้านการใช้ผา มีบันทึกว่าชาวภาค ้ ใต้ใช้ผาหลายรูปแบบ ทั้งผ้าฝ้าย ผ้าแพร ้ ผ้าเขียนลายเทียน ผ้ามัดย้อม แต่ผาที่มีชื่อ ้ ที่สดของภาคใต้กลับเป็นผ้ายก โดยเฉพาะ ุ ผ้ายกจากจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่รู้จัก ในนามของผ้ายกเมืองนคร เป็นผ้าที่ราช สำานักภาคกลางสั่ง ทอและให้สงเป็น ่ บรรณาการ ต่อมาในระยะหลังก็มีผ้าที่มีชื่อ เสียงตามมาอีกหลายชนิด แต่ชาวบ้าน ปักษ์ใต้ทั่วไปเดิมนิยมนุงผ้าคล้ายผ้า ่ ขาวม้ามีสีแดง การนุงผ้าปาเต๊ะหรือบาติก ่ ที่มีลวดลายสีสนหลากหลายเป็นความนิยม ั
  • 4. ผ้า ยกเมือ งนครศรีธ รรมราช  ผ้ายกเป็นวิธการทอที่นิยมมากของ ี คนไทยในแต่ละพืนที่ก็มีวิธีทอและ ้ ลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันไป ภาคใต้ ก็เช่นกัน ผ้ายกเมืองนครศรีธรรมราช เป็นผ้าที่วิจิตรสวยงามขึนชือมาแต่ ้ ่ โบราณเป็นที่นิยมมาแต่ครั้งราชสำานัก อยุธยา ผ้ายกเมืองนครฯ ทอด้วยไหม เนื้อละเอียด นิยมเป็นสีเดียวกันเกือบทั้ง ผืน สอดแทรกลวดลายด้วยดิ้นทองที่ แลดูแผ่วเบาแต่เป็นระเบียบ ลวดลาย
  • 6. ผ้า ทอเกาะยอ       เป็นผ้าทอจากตำาบลเกาะยอ อำาเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นผ้าที่ทอด้วยใยฝ้าย มี เนื้อแน่น มีทั้งชนิดที่ทอ 2 ตะกอจนถึง 10 ตะกอ การทอแบบเหยียบตะกอแยกเส้นยืน ขึนลงทำาให้เกิดลายตารางคล้ายกับผ้า ้ ขาวม้า ชาวภาคใต้นิยมใช้ทำาผ้าโสร่งและ ผ้านุ่ง จุดเด่นของผ้าทอเกาะยอจึงอยู่ที่ ลายตารางนันเอง ซึงมีขนาดเล็กซ้อนๆ กัน ่ ่ ทอด้วยด้าย 2 สี เช่นสีขาว – แดง   สีขาว- แดงแซมดำา สีขาว-แดงแซมเหลือง จึงมัก จะเรียกผ้านี้อีกอย่างว่า ผ้าลายราชวัตร หากมีตารางใหญ่ก็เรียกว่า ราชวัตรใหญ่
  • 8. ผ้า ทอนาหมืน สี ่  มีแหล่งทออยู่ทจังหวัดตรัง เป็น ี่ เอกลักษณ์อีกแบบหนึงของผ้าภาค ่ ใต้ ส่วนใหญ่เป็นผ้าทอ ยกดอกแต่ เส้นด้ายย้อมสีสดมาก การทอใช้ เครื่องทอขนาดใหญ่จึงได้ผ้าผืน กว้าง มีลายเชิงมีรูปแบบคล้ายกับ ผ้าจากอำาเภอหาดเสียว จังหวัด ้ สุโขทัย
  • 9.   โดยทั่ว ไปชาวบ้า นโดยทั่ว ไป  ทั้งผู้ที่นับถือศาสนา พุทธและศาสนาอิสลาม มีความนิยมเหมือนกัน คือ การนุ่ง ผ้าถุงหรือโสร่ง คนปัตตานีนิยมนุ่งผ้าถุงหรือโสร่งทั้งหญิง และชาย ผู้ชายนุ่งผ้าโสร่งลายตาหมากรุก ผู้หญิงนิยมนุ่ง ผ้าโสร่งปาเต๊ะ เสื้อก็สวมเสื้อที่หาซื้อได้ตามท้องตลาด ทัวไป ในความนิยมที่เหมือนกันก็จะมีความแตกต่างที่เห็น ่ ได้ชัด ระหว่างผู้ที่นับถือศาสนาพุทธและศาสนาอิสลาม คือ ผุ้หญิงมุสลิมเมื่ออกจากบ้านจะแต่งกายแบบมิดชิด ใช้เสื้อ แขนยาวและมีผ้าคลุมศรีษะ(กายกูบง) ผู้ชายเมื่ออกจาก บ้านจะนุ่งผ้าโสร่ง สวมเสื้อแขนยาวและจะมีผ้าโพก ศรีษะ(ผ้าตรือแบ หรือซือแบ) หากไม่ใช้ผ้าโพกศรีษะก็จะ ใช้หมวกที่เรียกว่า กาปีเยาะ หรือซอเก๊าะ
  • 11.
  • 12. วัฒนธรรมทางจารีต ประเพณี  ระชากรในภาคใต้ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยนับถือพระพุทธ ศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณีเหมือนคนไทย โดย ทัวไป นอกจากนีมีพิธการปลีกย่อยบางอย่างที่แตกต่างกัน ่ ้ ี บ้าง นอกจากไทยพุทธแล้ว บริเวณทางตอนใต้ของภาค โดยเฉพาะในเขตจังหวัดชายแดน ประชาชนในจังหวัด เหล่านี้เกือบร้อยละ ๖๐ นับถือศาสนาอิสลาม เมื่อมี ประชากรนับ ถือศาสนาอิสลามเป็นจำานวนมากรองไปจาก พระพุทธศาสนา ทางราชการจึงออกกฎหมายรับรอง และ ได้วางระเบียบ ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้นบถือ ั ศาสนาอิสลามด้วย เช่น มีกฎหมายว่าด้วยการทะเบียน มัสยิด และได้มีการตั้งคณะ กรรมการกลางอิสลามแห่ง ประเทศไทย และคณะกรรมการอิสลามประจำาจังหวัดที่มีผู้ นับถือศาสนาอิสลามจำานวนมาก เพื่อให้คำาปรึกษาแก่ทาง ราชการเกียวกับกิจกรรมต่าง ๆ ของศาสนาอิสลาม ่
  • 13. ชาวไทยในภาคใต้ได้อพยพย้ายถิ่นมาตั้งถินฐานอย่าง ่ ถาวรอยู่ตามจังหวัดต่าง ๆ เป็นเวลานาน รวมทั้งได้ ผสมกับ ชนพื้นเมือง จึงทำาให้มีผิวพรรณต่างไปจากคนภาคอืนบ้าง ่ รวมทั้งภาษาพูด และมีทะเลที่ตั้งห่างไกลจากเมือง หลวง การคมนาคมไม่สะดวก แยกกันมาหลายร้อยปี ภาษาจึง เปลี่ยนแปลงไปจากภาษาเดิม ซึ่งความจริงเพี้ยนไปตาม ท้องถิ่นแต่ยังเป็นภาษาไทยอยู่ มีสำาเนียง เสียงห้วน และพูด เร็วกว่าภาษาทางภาคเหนือ แต่จังหวัดที่มีประชากรพูดต่าง กันไปคนละภาษาเลยก็คือในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยมุสลิมนิยมใช้ภาษามลายู เมื่อพูดกัน นานเข้าก็ไม่สารมารถพูดและฟังภารษาไทยให้ เข้าใจได้ โดยเฉพาะผูที่อยู่ในชนบทห่างไกลและไม่ได้เข้า โรงเรียนสอนภาษา ไทย ในการติดต่อกับทางราชการจึง ต้องใช้ล่ามแปล
  • 14. ในดินแดนภาคใต้ของไทยนี้เป็นที่อยู่อาศัยของชาวไทย ซึ่งจำาแนกตามลักษณะเด่นได้ดังนี้                      - ชาวไทยพุทธ คนไทยในภาคใต้ตอนบน เป็นคนไทยพุทธ ซึ่งมีขนบธรรมเนียมประเพณีทาง พระพุทธศาสนา เช่นเดียวกับคนไทยส่วนใหญ่ของประเทศ ประเพณีที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ประเพณีชิงเปรตและประเพณี ชักพระ ของ จ.สุราษฎร์ธานี เป็นต้น                      ส่วนคนไทยเชื้อสายจีนมีประเพณีบางอย่างที่ แตกต่างออกไป เช่น มีเทศกาลถือศีลกินเจ ที่ จ.ภูเก็ต เป็นต้น                   
  • 15.    - ชาวไทยมุสลิม ในประเทศไทยมีจำานวนประมาณแสน คน ในจำานวนนี้ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัดชาย แดน ภาคใต้ ชาวไทยมุสลิมใช้ภาษาพื้นเมืองเรียกว่าภาษายาวี แต่สามารถพูดไทยได้ เพราะปัจจุบันมีโรงเรียนของเอกชน และศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนเปิดสอนวิชาสามัญและ วิชาศาสนา ซึ่งแต่เดิมผู้ปกครองนักเรียนไทยมุสลิม ต้องส่ง เด็ก ไปเรียนหาความรู้ทางศาสนากับโต๊ะครูในปอเนาะ ปัจจุบันชาวไทยมุสลิมได้ดำารงตำาแหน่งทางราชการที่ สำาคัญหลายตำาแหน่ง เช่น พัฒนากร นายอำาเภอ ครูใหญ่ เป็นต้น โดยทั่วไปชาวไทยมุสลิมมีนสัยรักสงบ เคารพผู้ ิ ปกครองบ้านเมือง รักประเทศ ชาติและมีความเอือเฟื้อเผื่อ ้ แผ่เหมือนกับคนไทยทั่วไป                     
  • 16. - ไทยใหม่หรือชาวเล บริเวณชายฝั่งและเกาะบางเกาะของ ภาคใต้ทางด้านทะเลอันดามันมีชาวพืนเมืองที่เรียก ว่า ้ ชาวเล หรือชาวนำ้า จำานวนเป็นหมื่นคน กลุ่มชาวเลมีสังคม ภาษาพูดและขนบธรรมเนียมที่เป็นลักษณะของกลุ่มโดย เฉพาะ สันนิษฐานว่าชาวเลเหล่านี้เป็นเผ่าพันธุเมลาเซียนที่ ์ เร่ร่อนทางทะเลมาจากหมู่เกาะเมลาเซียน ซึ่งความจริงแล้ว ชาวเลน่าจะ อาศัยอยู่ทางฝั่งตะวันออกของภาคใต้เพราะ อยู่ใกล้หมู่เกาะเมลาเซียนมากกว่า แต่ชาวเลกลับไปอาศัย อยู่มากทางชายฝั่ง ด้านตะวันตก ซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุที่ ชัดเจนของการเลือกถินฐานดังกล่าว ชุมชนชาวเลที่ใหญ่ ่ ทีสุดอยู่ที่เกาะหลีเป๊ะ ใน หมู่เกาะอาดัง หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต ่ เกาะสุรินทร์ จ.พังงา ปัจจุบันชาวเลที่ตั้งถิ่นฐานอยู่อย่าง ถาวรมีหลายแห่ง จึงต้องมี การทำาสำามะโนครัวและมีการตั้ง นามสกุลให้ เช่น ทะเลลึก ช้างนำ้า หาญทะเล เป็นต้น และ ได้เปลียนชื่อเรียกชาวเลเสียใหม่ ว่า ชาวไทยใหม่ ่                      - เงาะหรือชนเผ่าซาไก ชนเผ่านี้เป็นชนกลุ่ม
  • 17.
  • 18. วันลากพระ จะทำากันในวันออกพรรษา คือวันแรม ๑ คำ่า เดือน ๑๑ โดยตกลงนัดหมายลากพระไปยังจุดศูนย์รวม วัน รุงขึ้น แรม ๒ คำ่า เดือน ๑๑ จึงลากพระกลับวัด ่
  • 19. ความสำาคัญ :          เป็นประเพณีทำาบุญในวันออกพรรษา ปฏิบัติตาม ความเชื่อว่า เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำาพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพื่อโปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษาจึง เสด็จกลับมายังโลกมนุษย์ พุทธศาสนิกชนไปรับเสด็จ แล้ว อัญเชิญพระพุทธเจ้า ประทับบนบุษบกแล้วแห่แหน
  • 20. พิธีกรรม :          ๑. การแต่งนมพระ          นมพระ หมายถึงพนมพระเป็นพาหนะที่ใช้บรรทุก พระลาก นิยมทำา ๒ แบบ คือ ลากพระทางบก เรียกว่า นม พระ ลากพระทางนำ้า เรียกว่า "เรือพระ" นมพระสร้างเป็น ร้านม้า มีไม้สองท่อนรองรับข้างล่าง ทำาเป็นรูปพญานาค  มีล้อ ๔ ล้ออยู่ใต้ตัวพญานาค ร้านม้าใช้ไม้ไผ่สานทำาฝา ผนัง ตกแต่งลวดลาย ระบายสีสวย รอบ ๆ ประดับด้วยผ้าแพรสี ธงริ้ว ธงสามชาย ธงราว ธงยืนห้อย ระยาง ประดับต้นกล้วย ต้นอ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้สดทำา อุบะห้อยระย้า มีต้มห่อด้วยใบพ้อแขวนหน้านมพระ ตัว พญานาคประดับกระจกแวววาวสีสวย ข้าง ๆ นมพระแขวน โพน กลอง ระฆัง ฆ้อง ด้านหลังนมพระวางเก้าอี้ เป็นที่นั่ง ของพระสงฆ์ ยอดนมอยู่บนสุดของนมพระ ได้รับการแต่ง
  • 21. การอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ           พระลาก คือพระพุทธรูปยืน แต่ที่นิยมคือ พระพุทธ รูปปางอุ้มบาตร เมื่อถึงวันขึ้น ๑๕ คำ่า เดือน ๑๑ พุทธบริษัท จะสรงนำ้าพระลากเปลี่ยนจีวร แล้วอัญเชิญขึ้นประดิษฐาน บนนมพระแล้วพระสงฆ์จะเทศนาเรื่องการเสด็จไป ดาวดึงส์ของพระพุทธเจ้า ตอนเช้ามืดในวันแรม ๑ คำ่าเดือน ๑๑  ชาวบ้าน จะมาตักบาตรหน้านมพระ เรียกว่า ตักบาตร หน้าล้อ เสร็จแล้วจึงอัญเชิญ พระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ ในตอนนี้บางวัดจะทำา พิธีทางไสยศาสตร์ เพือให้การลากพระราบรื่น ปลอดภัย ่
  • 22.    ๓. การลากพระ           ใช้เชือกแบ่งผูกเป็น ๒ สาย เป็นสายผู้หญิงและสาย ผู้ชาย โดยใช้โพน (ปืด) ฆ้อง ระฆัง เป็นเครื่องตีให้จังหวะ เร้าใจในการลากพระ  คนลาก จะเบียดเสียดกันสนุกสนานและประสานเสียงร้องบทลาก พระเพื่อผ่อนแรง
  • 23. วัฒนธรรมทางด้านที่อยูอาศัย ่  การปลูกเรือน ต้องเลือกวันเวลาที่เหมาะสมตามคติ โหราศาสตร์และเลือกวัสดุก่อสร้างที่เป็นมงคล เลือกทิศทาง ทำาเลที่ไม่ขัดกัไม่นิยมปลูกบ้านขวางตะวัน เพราะเชื่อ ว่าการทำาดังนั้นเป็นการขวางโลก หาความเจริญไม่ได้ ความเชื่อนี้มีผลต่อการวางผังบ้าน คือจะนิยมสร้างเรือน ครัวและเรือนข้าวไว้ทางทิศตะวันตกหรือตะวันออกของ ชานเรือน โดยเว้นทิศเหนือและใต้ของเรือนหลังแรกไว้เพื่อ ปลูกเรือนหลังที่สอง บ้านหลังใหม่จะได้ไม่ขวางตะวัน อีก ทังการปลูกเรือนครัวและเรือนข้าวในตำาแหน่งแหล่งที่ดัง ้ กล่าว ยังเป็นการช่วยให้เรือนชานได้ร่มเงา อย่างน้อยก็ ครึ่งวัน ทำาให้นั่งพักผ่อนหรือทำางานสะดวกสบายยิ่งขึ้น บ คติความเชื่อ 
  • 24. ม่นิยมปลูกบ้านสองชั้น นอกจากความสูงที่เกรงว่าจะต้าน พายุลมแรงแล้ว การปลูกเรือนสองชั้นทำาให้ยากต่อการ หลีกเลี่ยงคติ “ ที่สูงที่ตำ่า” อันเป็นคารวธรรมของคนไทยที่ ไม่นิยมยืนเดินนั่งนอนบนระดับสูงกว่าผู้อาวุโส อีกทั้งใครมี เครื่องรางของขลังติดตัวอยู่ ถ้ามีสตรียืนเดินนั่งนอนอยู่บน ชั้นของเรือนก็จะไม่เป็นมงคล เชื่อว่าทำาให้เครื่องรางของ ขลังหมดความศักดิ์สิทธิ์ไป
  • 25. ไม่นิยมทำาพื้นระเบียงให้เสมอระดับพืนเรือน นอกจากคติ ้ ความเชื่อเรื่องอาวุโสและของขลังดังกล่าวแล้ว บ้านชาวใต้ นิยมลดระดับพื้นระเบียงตำ่ากว่าพืนเรือนนอน เมื่อมีบุตร ้ หลานมาเยี่ยมเยียนผู้เฒ่าผู้แก่ บุตรหลานจะได้นั่งที่ระเบียง พืนในระดับที่ตำ่ากว่า  ้
  • 26. วัฒนธรรมทางด้านการรับประทาน อาหาร   อาหารพื้นบ้านภาคใต้มีรสชาติโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะ สืบเนื่องจากดินแดนภาคใต้  เคยเป็นศูนย์กลางการเดินเรือค้าขายของพ่อค้าจากอินเดีย จีนและชวาในอดีต ทำาให้วฒนธรรม  ั ของชาวต่างชาติโดยเฉพาะอินเดียใต้ ซึ่งเป็นต้นตำารับใน การใช้เครื่องเทศปรุงอาหารได้เข้ามามีอิทธิพลอย่างมาก   
  • 27.
  • 28. อาหารพื้นบ้านภาคใต้ทั่วไป มีลกษณะผสมผสาน ั ระหว่างอาหารไทยพื้นบ้านกับอาหารอินเดียใต้ เช่น นำ้าบูดู ซึ่งได้มาจากการหมักปลาทะเลสดผสมกับเม็ดเกลือ และมี ความคล้ายคลึงกับอาหารมาเลเซีย อาหารของภาคใต้จึงมี รสเผ็ดมากกว่าภาคอื่น ๆ และด้วยสภาพภูมิศาสตร์อยู่ติด ทะเลทั้งสองด้าน มีอาหารทะเลอุดมสมบูรณ์ แต่สภาพ อากาศร้อนชื้น ฝนตกตลอดปี อาหารประเภทแกงและ เครื่องจิ้มจึงมีรสจัด ช่วยให้ร่างกายอบอุน ป้องกันการเจ็บ ่ ป่วยได้อีกด้วย  
  • 29. วัฒนธรรมทางด้านนาฏศิลป์และ ดนตรี  ภาคใต้ เป็นดินแดนที่ติดทะเลทังฝั่งตะวันตกและตะวันออก ้ ทางด้านใต้ติดกับมลายู ทำาให้รับวัฒนธรรมของมลายูมา บ้าง ขนบประเพณีวฒนธรรมและบุคลิกบางอย่างคล้ายคลึง ั กัน คือ พูดเร็ว อุปนิสัยว่องไว ตัดสินใจ รวดเร็ว เด็ดขาด การแต่งกาย การแสดง เพลง และดนตรีคล้ายคลึงกันมาก นาฏศิลป์ของชาวไทยภาคใต้ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ การแสดงพื้นบ้านและระบำาพื้นบ้าน การแสดงพื้นบ้าน สามารถแบ่งออกออกตามลักษณะของพื้นที่ ดังนี้
  • 30.  พืนที่ ภาคใต้ตอนบน ได้แก่ โนรา เพลงบอก เพลงเรือ คำา ้ ตัก เพลงชาน้อง  พืนที่ ภาคใต้บริเวณลุ่มนำาทะเลสาบสงขลา ได้แก่ โนรา ้ หนังตะลุง กาหลอ โต๊ะครึม(นายลิมนต์) เพลงเรือ  พืนที่ ชายฝั่งทะเลอันดามัน ลิเกป่า รองเง็งชาวเล รองเง็ง ้ ตันหยง กาบง กาหยง ดาระ  พืนที่ ภาคใต้ตอนล่าง รองเง็งปัตตานี ดิเกร์ฮูลู ซีละ มะ ้ โย่ง(บือดีกา) บานอ กรือโต๊ะ ตือตรี  ส่วนระบำาพื้นบ้าน ได้แก่ ตารีกีปัส ระบำาร่อนแร่ ระบำากรีด ยาง เป็นต้น