SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1

                                       ๑. การบวช
๑.๑. ความหมายของการบวช
            คําว่า บวช ในภาษาไทย เป็ นคํานาม มาจากภาษาบาลีวา ป+วช ธาตุ ในความหมายว่า
                                                                 ่
งด,เว้ น,หลีก,เลียง,ห่างไกล ในทีนีประการที ๑ หมายถึง ห่างไกลจากกิเลสเครืองเศร้ าหมองมีกาม
คุณ ๕ เป็ นต้น ความหมายประการที ๒ หมายถึงบุคคลทีมีความเลือมใสในพุทธศาสนาเข้ ามาสู่
พระธรรมวินย ซึงแบ่งเป็ นประเภทหลักมี ๔ ประเภทคือ
                   ั
            ๑. ภิกษุ        ๒. ภิกษุณี     ๓. สามเณร ๔. สามเณรี
ท่านผู้ร้ ูได้ ให้ ความหมายของการบวชไว้ ดงนี.-
                                         ั
            สมเด็จพระมหาสมณเจ้ า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้ ทรงให้ ความหมายไว้ วา “คนพวก
                                                                                  ่
หนึงพอใจจะประพฤติธรรม ด้ วยเข้ าใจว่า การเกิดของตนจะไม่ไร้ เปล่า จะยังประโยชน์ใหญ่ให้
สําเร็จแก่มหาชน ยอมละยศศักดิ และความสุขส่วนตัวเข้ าสูพระศาสนาเทียวสังสอนมหาชน” ๑
                                                         ่
            พระธรรมปิ ฎก (ประยุทธ ปยุตโต) ได้ ให้ ความหมายไว้ วา การบวช (แปลว่า เว้ นความชัว
                                                               ่
ทุกอย่าง) หมายถึงการบวชทัวไป, การบวชอันเป็ นบุรพประโยคแห่งอุปสมบท, การบวชเป็ น
สามเณร (เดิมทีเดียว) คําว่า บรรพชา หมายความว่า บวชเป็ นภิกษุ เช่น เสด็จออกบรรพชา
อัครสาวกบรรพชา เป็ นต้ น ในสมัยต่อมาจนถึงปัจจุบนนี คําว่าบรรพชา หมายถึง บวชเป็ น
                                                       ั
สามเณร ถ้ าบวชเป็ นภิกษุ ใช้ คําว่าอุปสมบท โดยเฉพาะเมือใช้ ควบกันว่า บรรพชาอุปสมบท๒
            พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ ให้ ความหมายว่า “การถือเพศเป็ นภิกษุหรือ
นักพรตอืน ๆ ๓
๑.๒. คําที่มีความหมายถึงการบวช
         ๑). บรรพชา เป็ นคํานามเช่นเดียวกับการบวช ในสมัยพุทธกาลเป็ นคําทีใช้ กบการบวช
                                                                                    ั
ทัวๆไป สันนิษฐานว่าเป็ นคําทีใช้ ก่อนกว่าคําอืน เช่นใช้ ในสมัยทีเจ้ าชายสิทธัตถะเสด็จออกบวช
ครังแรก ใช้ คําว่า เสด็จออกบรรพชา หรือคําว่า พระสารีบตรบรรพชา พระยสะบรรพชา เป็ นต้ น
                                                         ุ
มิได้ หมายถึงการบวชอย่างใดอย่างหนึง

____________________
        ๑
         สมเด็จพระมหาสมณเจ้ า กรมพระยาวชรญาณวโรรส, สารานุกรมพระพุทธศาสนา (กรุงเทพฯ: โรง
พิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. ๒๕๓๙). น. ๘๒.
        ๒
            พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครังที ๖
(กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓). น. ๑๓๒.
        ๓
            ราชบัณฑิตยสถาน.   พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน       (กรุงเทพฯ:นานมีบ๊ คส์พบลิเคชันส์,
                                                                                  ุ ั
๒๕๔๒). น. ๖๑๐.
2


         การใช้ คําว่า ปพพชิ (บวชเอง) หรือ ปพพาเชสิ (เป็ นผู้บวชให้ คือเป็ นพระอุปัชฌาย์) ทีใช้
ในอรรถกถาต่าง ๆ โดยเฉพาะในธัมมปทัฏฐกถา ซึงเป็ นอรรถกถาของธรรมบท ขุททกนิกาย ใน
พระสุตตันตปิ ฎก ทีดาษดืนชีให้ เห็นว่า เป็ นการใช้ ทีหมายถึงการบวชทัวไป หากคําว่า บรรพชา
เป็ นคํานามจะมีรูปเป็ น บรรพชิต ซึงหมายถึงนักบวชหรือนักพรต
         ในปัจจุบน ดังทีได้ กล่าวไปแล้ วว่า คําว่า บรรพชา ใช้ หมายถึงการบวชเป็ นสามเณร เป็ น
                   ั
เบืองต้ นของการบวชเป็ นพระภิกษุ
         ๒). อุปสมบท หมายถึง การให้ กลบุตรบวชเป็ นพระภิกษุ หรือให้ กลธิดาบวชเป็ นภิกษุณี ,
                                           ุ                              ุ
         การบวชเป็ นภิกษุ หรือภิกษุณี ๔
คําว่า อุปสมบท นี มีความหมายแตกต่างจากคําว่า อุปสัมปทา ซึงจะกล่าวต่อไป
         ๓). อุปสัมปทา หมายถึง การบวช, การบวชเป็ นภิกษุ หรือภิกษุณี ๕
         ๔). อุปสัมปทาเปกข์ หมายถึง บุคคลผู้เพ่งอุปสมบท คือผู้มงจะบวชเป็ นภิกษุ, ผู้ขอบวช
                                                                    ุ่
      ๖
นาค
         ๕). อุปัชฌาย์ หมายถึง ผู้เพ่งโทษน้ อยใหญ่ คือผู้รับรองกุลบุตรเข้ ารับการอุปสมบทในท่า
         มกล่างภิกษุสงฆ์ เป็ นพระเถระผู้เป็ นประธานในการบวชกุลบุตรเป็ นทังผู้นําเข้ าหมู่ และ
         เป็ นผู้ปกครองดูแลรับผิดชอบทําหน้ าทีฝึ กสอนอบรมให้ การศึกษาต่อไป ส่วนอุปัชฌาย์ใน
         ฝ่ ายภิกษุณี เรียกว่า ปวัตตินี ๗

                                 ๒. วิธีบรรพชาอุปสมบท
       วิธีบรรพชาอุปสมบท ทีพระพุทธองค์ทรงอนุญาตไว้ เรียกว่า อุปสัมปทา คือการบวชเป็ น
ภิกษุ หรือภิกษุณีมี วิธีอปสมบทนีมีทงหมด ๘ อย่าง แต่เฉพาะทีใช้ เป็ นหลักมี ๓ อย่าง คือ
                         ุ         ั
           ๑). เอหิภกขุอุปสัมปทา
                      ิ               การอุปสมบทด้วยพระวาจาว่า “จงเป็นภิกษุมาเถิด”
          เป็นวิธทพระพุทธเจ้าทรงบวชให้เอง
                  ี ี
          ๒). ติสรณคมนูปสัมปทาหรือสรณคมนุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยถึงไตรสรณะ
          เป็นวิธททรงอนุญาตให้พระสาวกทําในยุคต้นพุทธกาล เมือคณะสงฆ์ยงไม่ใหญ่นก
                 ี ี                                                        ั         ั
          เมือทรงอนุญาตวิธท ี ๓ แล้ว วิธท ี ๒ นีก็เปลียนใช้สาหรับบรรพชาสามเณร
                            ี           ี                   ํ


____________________
         ๔
            พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์, น. ๔๓๐.
        ๕
           เรืองเดียวกัน. น. ๔๓๑.
        ๖
          เรืองเดียวกัน.
        ๗
          เรืองเดียวกัน. น. ๔๓๒.
3

         ๓). ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม เป็นวิธททรง   ี ี
         อนุญาตให้สงฆ์ทา ในเมือคณะสงฆ์เป็นหมูใหญ่ขนแล้ว และเป็นวิธทใช้สบมาจนทุก
                        ํ                       ่      ึ            ี ี ื
         วันนี; วิธอุปสมบทอีก ๕ อย่างทีเหลือเป็นวิธททรงประทานเป็นการพิเศษจําเพาะ
                   ี                               ี ี
         บุคคลบ้าง ขาดตอนหมดไปแล้วบ้าง ได้แก่ (จัดทําเรียงใหม่ เอาข้อ ๓. เป็นข้อ ๘.
         ท้ายสุด)
         ๓). โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา การอุปสมบทด้ วยการรับโอวาท เป็ นวิธีทีทรงอนุญาต
        แก่พระมหากัสสปะ
         ๔). ปั ญหาพยากรณูปสัมปทา การอุปสมบทด้ วยการตอบปัญหาของพระพุทธองค์
เป็ น
             วิธีทีทรงอนุญาตแก่โสปาณสามเณร
            ๕). ครุธรรมปฏิคคหณูปสัมปทา( หรืออัฎฐครุกรรมปฏิคคหณูปสัมปทา) การ
            อุปสมบทด้ วยการรับครุฑรรม ๘ ประการ เป็ นวิธีทีทรงอนุญาตแก่พระนางมหาปชาบดี
            โคตรมี
            ๖). ทูเตนะ อุปสัมปทา การอุปสมบทด้ วยทูต เป็ นวิธีทีทรงอนุญาตแก่นางคณิกา
            (หญิงโสเภณี) ชืออัฑฒกาสี
            ๗). อัฎฐวาจิกาอุปสัมปทา การอุปสมบทมีวาจา ๘ คือ ทําด้ วยญัตติจตุตถกรรม ๒
            ครังจากสงฆ์ทงสองฝ่ าย คือจากภิกษุณีสงฆ์ครังหนึง จากภิกษุสงฆ์ครังหนึง ได้ แก่ การ
                          ั
            อุปสมบทของภิกษุณี
            ๘). ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา (ข้ อ ๓ เดิม) ๘


                       ๓. การอุปสมบทและเกณฑการรับกุลบุตร
                            เพื่ออุปสมบทในสมัยพุทธกาล
๓.๑ ที่มาของแนวคิดเรืองการบรรพชาอุปสมบท
                     ่
        แนวคิดเรืองการอุปสมบทและเกณฑ์การรับกุลบุตรเพืออุปสมบทในสมัยพุทธกาล   จะ
ปรากฏอยู่ใน มหาขันธกะ มหาวรรค พระวินยปิ ฎก และพระวินยปิ ฎกเกือบทังหมด โดยจะแสดง
                                     ั                  ั
เรืองราวต่างๆ ดังนีคือ


____________________
        ๘
            เรืองเดียวกัน. น. ๔๓๑.
4

        ๑) การบรรพชาอุปสมบท
        ๒) วิธีบรรพชาอุปสมบท
        ๓) ข้ อห้ าม ข้ อบังคับ ข้ ออนุญาต การบรรพชาอุปสมบท
        ๔) คุณสมบัติของผุ้จะบรรพชาอุปสมบท
        ๕) ข้ อปฏิบติของพระอุปัชฌาย์
                        ั
        ๖) พระวินยและข้ อปฎิบติทีผู้บรรพชาอุปสมบทต้ องปฎิบติ
                      ั             ั                            ั
        ๗) ภิกษุผ้ เู ป็ นต้ นบัญญัติแห่งข้ อบังคับการบรรพชาอุปสมบททังหมด
        ๘) ตัวอย่างผู้ทีได้ รับการบรรพชาอุปสมบททัง ๘ วิธี
        แต่ในงานวิจยนีจะนํามาแสดงวิเคราะห์เป็ นบางเรืองพอเป็ นสังเขปเท่านัน
                          ั                                                       ซึงผู้สนใจ
ศึกษาเพิมเติม สามารถค้นคว้ าได้ จะหลักฐานทีปรากฏในพระวินยปิ ฎก และพระสัตตันตปิ ฎก
                                                                   ั
ช่วงแรก โดยเฉพาะในพระสุตตันตปิ ฎกและอรรถกถาจะเป็ นการแสดงถึงเรืองราวของผู้ทีได้ รับการ
อุปสมบทด้ วยวิธีนนๆ ผู้ทีได้ รับการอุปสมบทเป็ นพระสงฆ์รูปแรกในพุทธศาสนา คือ ท่าน
                   ั
พระอัญญาโกณฑัญญะ ซึงเป็ นหนึงในปั ญจวัคคีย์ ได้ ฟังธรรมคือธัมมจักกัปปวัตตนสูตรจากพระ
พุทธองค์แล้ ว ได้ ดวงตาเห็นธรรม จึงได้ รับการอุปสมบทด้ วยวิธีเอหิภิกขุอปสัมปทา ในวันขึน ๑๕
                                                                       ุ
คําเดือน ๘ ซึงภายหลังเราเรียกว่า วันอาสาฬหปูณณมีบชา นันเองู
๓.๒ เกณฑการรับกุลบุตรเพือบรรพชาอุปสมบทในสมัยพุทธกาล
                         ่
          ในสมัยทีพระพุทธเจ้ าตรัสรู้ใหม่ๆ คณะสงฆ์ยงไม่ใหญ่โตนักนัน การพิจารณากุลบุตรเพือ
                                                    ั
บรรพชาอุปสมบทนัน พระพุทธเจ้ าจะพิจารณาด้ วยพระองค์เอง โดยยึดหลัดการบําเพ็ญบารมีมา
ในอดีตชาติของบุคคลนันๆ เช่น พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้ บําเพ็ญบารมีมาถึง ๑๐๐,๐๐๐ กัป
แล้ วปราถนาจะตรัสรู้ธรรมก่อนใครในยุคของพระพุทธเจ้ าพระนามว่าปทุมตตระ ความปราถนานัน
                                                                    ุ
จึงมาสําเร็จในยุคของพระพุทธเจ้ าพระองค์ปัจจุบน เป็ นต้น ๙
                                                ั
          หรือหากกุลบุตรใดไม่ได้ บําเพ็ญบารมีมาเพียงพอต่อการอุปสมบท เช่น ไม่ได้ ถวายทานมี
บาตรและจีวรเป็ นต้ น แม้ ได้ บรรลุพระอรหัตก็ไม่สามารถจะอุปสมบทได้ เช่น กุลบุตรพาหิยะทารุจี
ริยะและ ปุกกุสาติ ได้ ฟังธรรมแล้ วบรรลุพระอรหัตก็ปรินิพพานในวันนัน ต่อมาเมือพระพุทธเจ้ า
พร้ อมด้ วยพระสาวกชุดแรกประกาศพระศาสนาไป ทําให้ คําสอนของพระองค์แพร่หลายกว้ างขวาง
ออกไป มีกลบุตรจํานวนมากขอบรรพชาอุปสมบท
             ุ

____________________
        ๙
         บรรจบ บรรณรุจิ. “การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรืองอสีติมหาสาวกกับการบรรลุธรรม” วิทยานิพนงธ์
ปริญญามหาบัณฑิต คณะอักษณศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (กรุงเทพฯ. ๒๕๓๒). น. ๒๔.
5

            แต่ถึงกระนัน พระองค์ก็ยงมิได้ทรงตังกฎเกณฑ์การบรรพชาอุปสมบทเอาไว้ สาเหตุ
                                       ั
เนืองจากว่า ถ้ าหากทรงตังกฎไว้ ก่อน กุลบุตรจะพากันเกรงกลัวและเหนือยหน่ายต่อการบรรพชา
อุปสมบท จะชักชวนกันเป็ นอุบาสกอุบาสิกาทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาเสียเป็ นส่วนใหญ่ และทํา
ให้ ไม่มีผ้ บรรพชาอุปสมบท ดังทีในอรรถกถาสมันตปาสาทิกาแสดงเอาไว้ วา
            ู                                                            ่
              “หากพระศาสดาพึงบัญญัติสิกขาบทไว้ ก่อน ก็จะถูกติเตียน เพราะสัตว์โลกไม่ร้ ูเรียวแรง
              หรือกําลังของพระองค์ และสิกขาบททีบัญญัติไว้ กจะเป็ นการไม่สมควร และไม่เป็ นไป
                                                           ็
              ตามทีพระองค์ทรงกําหนดหมายเอาไว้ ฯ เพราะเหตุนน พระองค์จึงตรัสว่า “ดูก่อนสารี-
                                                               ั
              บุตร เราจะไม่บญญัติสิกขาบทไว้ ก่อน ตราบใดทีความผิดยังไม่ปรากฎแก่สาวก
                            ั
              ทังหลาย””ฯ ๑๐
            จากหลักฐานดังกล่าวชีให้ เห็นว่า        พระพุทธองค์มิได้ทรงตังกฏเกณฑ์ของการบรพชา
อุปสมบทไว้ แม้ แต่ข้อเดียว แต่ทรงบัญญัติภายหลัง เมือมีเรืองราวอันเป็ นมูลเหตุเกิดขึน ทําให้ สรุป
ได้ วา ข้ อบัญญัตทงทีเป็ นข้ อห้ ามและข้ ออนุญาตต่างๆ ล้ วนแต่มสาวกเคยกระทําผิดและเป็ นต้ น
     ่                ิ ั                                          ี
บัญญัติมาก่อนทังนัน อันเป็ นเหตุให้ ทรงบัญญัตกฏเกณฑ์ของการบรพชาอุปสมบทจนถึงปั จจุบน
                                                 ิ                                           ั
๓.๓ องคแหงพระอุปชฌาย
            สําหรับองคแหงพระอุปชฌายนน ถือวามีความสําคัญทีควรจะนํามาแสดง เพราะพระ
                                         ั้                     ่
อุปชฌายเปนผูมบทบาทมากที่สุดในการคัดเลือกกุลบุตรที่จะเขามาสูพระธรรมวินัย
                 ี                                                              ดังจะนํา
คุณสมบัติตางๆ เกียวกับพระอุปชฌายที่พระพุทธองคตรัสไวมาแสดงเพื่อใหเปนแนวทางสังเกต
                     ่            
ตอไป ดูกอนภิกษุทงหลาย ภิกษุไมพึงใหอุปสมบทดวยคณะ ซึ่งมีพวกหยอน ๑๐ รูปในให
                       ั้
อุปสมบท ตองอาบัติทุกกฎ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตใหอุปสมบทดวยคณะมีพวก ๑๐ ๑๑
            ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุมีพรรษาหยอน ๑๐ ไมพึงใหอุปสมบท รูปใดใหอุปสมบท
ตองอาบัติทุกกฎ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตใหภิกษุมีพรรษาได ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐
ใหอุปสมบท ๑๒
            ดูกอนภิกษุทั้งหลาย     ภิกษุผูโงเขลาไมเฉียบแหลมไมพึงใหอุปสมบท รูปใดให
อุปสมบท ตองอาบัติทุกกฎ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตใหภิกษุผูสามารถมีพรรษาได ๑๐
หรือมีพรรษาเกิน ๑๐ ใหอุปสมบท ๑๓

____________________
         ๑๐
            วิ. อ. ๑/๒๒๒.
          ๑๑
               วิ. ม. ๔/๙๘/๑๗๔.
          ๑๒
               เรื่องเดียวกัน. ๔/๙๐/๑๗๖.
          ๑๓
               เรื่องเดียวกัน. น. ๑๗๘.
6

            จากองคแหงพระอุปชฌายที่นํามาแสดงขางตนแสดงใหเห็นวา บุคคลผูที่ทําหนาเปน
                                
พระอุปชฌายนน จะตองเปนผูมีความรูความสามารถและสติปญญาเฉลียวฉลาด ในอันที่จะทํา
                ั้
หนาที่พจารณาตัดสิน ตรวจสอบ และคัดเลือกอยางละเอียดถี่ถวนกอนทีจะตัดสินใจวา กุลบุตร
         ิ                                                                  ่
นั้น ๆ มีคุณสมบัติครบถวนหรือไม ในการทีจะเขามาสูพระธรรมวินัย ไมบกพรองเสียหายในดาน
                                               ่
ใดดานหนึ่ง        หรือจะเรียกวาเปนผูมีวิสยทัศนกวางไกลทันโลกทันเหตุการณนั่นเอง
                                             ั                                              ซึ่งพระ
อุปชฌายนนถือวาเปรียบเสมือนผูพิพากษาซึ่งมีหนาที่พจารณาตัดสิน และชีถูกชี้ผดอีกดวย เมื่อ
            ั้                                           ิ                    ้   ิ
พระอุปชฌายเปนผูมคุณสมบัติครบถวนดังกลาว จึงจะสามารถทําหนาที่ของตนไดอยางดี ไมเกิด
                       ี
ปญหาตาง ๆ ตามมาอีกในภายหลัง
            แตอยางไรก็ตาม แมวาพระพุทธองคจะทรงวางกฎกติกาไวแลวหลังจากเกิดเเรื่องขึ้น
เกี่ยวกับการรับกุลบุตร แตความบกพรองผิดพลาดก็เกิดมีตามมาเปนระยะ ๆ เกิดเปนปญหาแก
คณะสงฆสะสมเรื่อยมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน                ดังจะเห็นไดจากกุลบุตรทีเ่ ขามาบวชเปน
พระภิกษุในสมัยปจจุบน มีกิริยาอาการแปลก ๆ มากมาย เชน มีรูปรางที่อวนเกินไปบาง ผอม
                         ั
เกินไปบาง ดําเกินไปบาง เตี้ยเกินไปบาง สูงเกินไปบาง มีรางกายพิกลพิการ คือ ตาบอด หู
หนวก แขนขาด มือขาด เทาขาดบาง เปนโรครายแรงนารังเกียจบาง และเมื่อบวชเขามาแลว
ประพฤติตนไมเหมาะไมควร เชน การแสดงกิริยาอาการแอยางคฤหัสถ คือทําตัวเหมือนชาวบาน
ไมสมกับความเปนสมณภาวะ หรือแสดงออกในอาการทาทางที่ไมควร เชน เปนพระเกย, พระตุด                
,พระกะเทย เปนตน และในประเด็นนี้จะนํามากลาววิเคราะหในภายหลัง ซึ่งสิ่งตาง ๆ ที่กลาวมา
นี้แมจะไมไดยกตัวอยางมาประกอบ แตก็คงจะสังเกตไดไมยากในสมัยปจจุบน และกุลบุตรผูเขา
                                                                                ั
มาสูพระธรรมวินัยเหลานั้น ยอมจะทําแตความเสื่อมเสียโดยมาก เพราะพฤติกรรมนัน ๆ ไมนํามา ้
ซึ่งความเลื่อมใสแกผูพบเห็นเลย และในกรณีดังกลาวนี้ ถาพระอุปชฌายและพระสงฆทั้งมวลให
ความเอาใจใสอยางเครงครัดตอกฎเกณฑตาง ๆ แมในการคิดเลือกเพื่อรับกุลบุตรเขามาบวชนั้น
ก็จะไดแตเฉพาะบุคคลที่มีคุณสมบัตเิ พียบพรอมดีงาม มีกิริยาอาการนํามาซึ่งความเลื่อมใสแกผู
พบเห็น เพราะวาคุณสมบัตตาง ๆ นั้นเมื่อพิจารณากันแลวจะเห็นไดวา มีความพอดีพองามไป
                              ิ
หมดทุกอยาง เชน ไมสูงหรือต่ําจนเกินไป ไมอวนหรือผมมจนเกินไป มีอวัยวะครบถวน ไมมี
โรคติดตอรายแรง มีสติปญญาสมบูรณซึ่งสามารถที่จะพัฒนาตนเองไปสูแนวทางทีตนคาดหวังได
                                                                                     ่
ตามตองการ แตเพราะการณตาง ๆ ไมเปนไปตามพุทธประสงคนั่นเอง จึงเปนตนเหตุของปญหา
ตาง ๆ มากมายขึ้นในวงการคณะสงฆ จนเกิดเปนปญหาที่เรื้อรังพอกพูนมากขึ้นเรื่อย ๆ จนยากที่
จะเยียวยาแกไข แตถาคณะสงฆโดยเฉพาะพระผูใหญที่มีหนาที่รับผิดชอบใหความเอาใจใสดูแล
                                                      
และแกไขปญหากันอยางจริงจังแลว แมปญหาความยุงยากตาง ๆ จะยังคงมีอยูแตกจะคอย ๆ      ็
หมดไปไดในที่สุด ทั้งนี้ขนอยูกบพระสงฆทุกฝาย รวมถึงหนวยงานตาง ๆ ที่มีหนาที่รับผิดชอบ
                           ึ้     ั
จะตองชวยกันแกไขปญหาตาง ๆ ทีเ่ กิดขึน  ้
7

                   ๔. ขอหามการบรรพชาอุปสมบทในสมัยพุทธกาล
           สําหรับข้ อห้ ามการบรรพชาอุปสมบทในสมัยพุทธกาลนัน ยังคงใช้ สืบเนืองกันมาจนถึง
ปั จจุบน มีหลักฐานต่างๆจากพระไตรปิ ฎกซึงนํามาเสนอพอสังเขปดังนี.-
       ั
            “ภิกษุทงหลาย ภิกษุไม่พึงยังกุลบุตรทีมารดาบิดาไม่ได้ อนุญาตให้ อปสมบท รูปใดให้
                       ั                                                              ุ
อุปสมบท ต้ องอาบัติทกกฏ ฯ” ๑๔            ุ
            “ดูกรภิกษุทงหลาย ภิกษุผ้มิได้ รับการขอร้ อง ไม่พึงอุปสมบทให้ รูปใด อุปสมบทให้
                                     ั         ู
            ต้ องอาบัติทกกฏ. ดูกรภิกษุทงหลาย เราอนุญาตให้ ภิกษุผ้ ถกขอร้ องอุปสมบทให้ .
                                       ุ           ั                        ูู
            ดูกรภิกษุทงหลาย ก็แลอุปสัมปทาเปกขะพึงขออย่างนี อุปสัมปทาเปกขะนัน พึงเข้ าไป
                                 ั
            หาสงฆ์ ห่มผ้ าเฉวียงบ่า ไหว้ เท้ าภิกษุทงหลาย นังกระหย่ง ประคองอัญชลี แล้ วกล่าวคํา
                                                         ั
            ขออุปสมบทอย่างนีว่า ข้ าพเจ้ าขออุปสมบทต่อสงฆ์ เจ้ าข้ า ขอสงฆ์โปรดเอ็นดูยก
            ข้ าพเจ้ าขึนเถิด เจ้ าข้ า. พึงขอแม้ ครังทีสอง ... พึงขอแม้ ครังทีสาม ฯ” ๑๕
           “ดูกรภิกษุทงหลาย กุลบุตรผู้ถกโรค ๕ ชนิด กระทบ เข้ าแล้ ว ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้
                         ั                           ู
บวช ต้ องอาบัติทกกฏ ฯ” ๑๖
                     ุ
           “ดูกรภิกษุทงหลาย โจรทีขึนชือโด่งดัง ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้ บวช ต้ องอาบัติ ทุก
                           ั
กฏ ฯ” ๑๗
           “ดูกรภิกษุทงหลาย โจรผูหนีเรือนจํา ภิกษุไม่ พึงให้บวช รูปใดให้บวช ต้องอาบัตทุก
                                   ั       ้                                                 ิ
      ๑๘
กฏ”
           “ดูกรภิกษุทงหลาย บุรุษผู้ถกลงอาญาเฆียน ด้ วยหวาย ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้ บวช
                             ั                   ู
ต้ องอาบัติทกกฏ” ๑๙
                ุ
           “ดูกรภิกษุทงหลาย บุรุษผู้ถกลงอาญาสัก หมายโทษ ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้ บวช ต้ อง
                               ั             ู
                  ๒๐
อาบัติทกกฏ”
         ุ


____________________
              ๑๔
                   เรืองเดียวกัน. ๔/๑๑๙/๒๘๓.
              ๑๕
                  เรื่องเดียวกัน. ๔/๘๖/๑๖๙.
              ๑๖
                 เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๑/๒๓๙.
              ๑๗
                   เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๓/๒๔๗.
              ๑๘
                   เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๔/๒๔๗.
              ๑๙
                   เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๖/๒๓๙.
              ๒๐
                   เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๗/๒๓๙.
8

           “ดูกรภิกษุทงหลาย คนมีหนี ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้ บวช ต้ องอาบัติทกกฏ”๒๑
                         ั                                                               ุ
           “ดูกรภิกษุทงหลาย คนเป็ นทาส ภิกษุไม่พึงบวช รูปใดให้ บวช ต้ องอาบัติทกกฏ.” ๒๒
                           ั                                                               ุ
           “ดูกรภิกษุทงหลาย ภิกษุร้ ูอยู่ ไม่พึงให้ บุคคลมีอายุหย่อน ๒๐ ปี อุปสมบท รูปใดให้
                             ั
อุปสมบท ต้ องปรับตามธรรม.” ๒๓
            “ดูกรภิกษุทงหลาย เด็กชายมีอายุหย่อน ๑๕ ปี ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้ บวช ต้ อง
                                       ั
อาบัติทกกฏ ฯ” ๒๔
       ุ
           “ดูกรภิกษุทงหลาย เราอนุญาตให้ บวชเด็กชาย มีอายุหย่อน ๑๕ ปี แต่สามารถไล่กาได้ ฯ๒๕
                               ั
           “ดูกรภิกษุทงหลาย ภิกษุไม่พงให้บณเฑาะว์ทยังไม่อุปสมบท ให้อุปสบท ทีอุปสมบท
                                     ั         ึ  ั             ี
                      ๒๖
แล้ว ให้สกเสีย ฯ”
            ึ
           “ภิกษุทงหลาย โจรทีถูกออกหมายจับ ไม่พึงให้ อปสมบท รูปใดให้ อปสมบท ต้ องอาบัติ ทุก
                    ั                                             ุ             ุ
กฏ ฯ ๒๗
           “ดูกรภิกษุทงหลาย ภิกษุผ้ มิได้ รับการขอร้ อง ไม่พึงอุปสมบทให้ รูปใด อุปสมบทให้ ต้ อง
                                   ั         ู
อาบัติทกกฏ ฯ ดูกรภิกษุทงหลาย เราอนุญาตให้ ภิกษุผ้ ถกขอร้ องอุปสมบทให้ ”.๒๘
         ุ                                 ั                 ูู
              “ก็แล ภิกษุทงหลาย ภิกษุพึงถามอย่างนึว่า อาพาธเหล่านีคือโรคเรือน ฝี โรคกลาก โรค
                                         ั
              มองคร่อ ลมบ้ าหมู ของเจ้ ามีอยู่หรือ เจ้ าเป็ นมนุษย์หรือ เป็ นชายหรือ เป็ นไทหรือ ไม่มี
              หนีสินหรือ มิใช่ราชภัฏหรือ มารดาบิดาอนุญาตแล้ วหรือ มีปีครบ ๒๐ แล้ วหรือ บาตร
              จีวรของเจ้ ามีครบแล้ วหรือ เจ้ าชืออะไร อุปัชฌาย์ของเจ้ าชืออะไร ฯ” ๒๙
           “ดูกรภิกษุทงหลาย ราชภัฎ ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใด ให้ บวช ต้ องอาบัติทกกฏ.” ๓๐
                                 ั                                                     ุ

____________________
        ๒๑
             เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๘/๒๕๔.
        ๒๒
             เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๙/๒๕๙.
        ๒๓
             เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๑๑/๒๖๑.
        ๒๔
             เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๑๒/๒๖๕.
        ๒๕
             เรื่องเดียวกัน. น. ๒๖๖.
        ๒๖
             เรื่องเดียวกัน. ๔/๒๕/๓๐๘.
        ๒๗
             เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๕/๒๔๙.
        ๒๘
             เรื่องเดียวกัน. ๔/๘๖/๑๖๙.
        ๒๙
             เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๔๒/๓๕๕.
        ๓๐
             เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๒/๒๔๕.
9

             “ดูกรภิกษุทงหลาย ภิกษุไม่พึงบรรพชาคนมือด้ วน ฯลฯ รูปใดบรรพชาให้ ต้ องอาบัติ
                        ั
ทุกกฏ.” ๓๑
          “ภิกษุทงหลาย อุปสัมบันคืออุภโตพยัญชนก ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ทีอุปสมบทแล้ ว
                   ั
ต้ องให้ สกเสีย” ๓๒
          ึ
            “ภิกษุทงหลาย กุลบุตรทําร้ ายพระศาสดาจนห้ อพระโลหิต ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ที
                           ั
อุปสมบทแล้ ว พึงให้ สกเสีย ฯ” ๓๓ ึ
            “ภิกษุทงหลาย กุลบุตรฆ่าพระอรหันต์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ทีอุปสมบทแล้ ว พึงให้ สก
                             ั                                                                ึ
เสีย ฯ” ๓๔
            “ภิกษุทงหลาย กุลบุตรฆ่าบิดา ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ทีอุปสมบทแล้ ว พึงให้ สกเสีย ฯ๓๕
                     ั                                                                 ึ
            “ภิกษุทงหลาย สัตว์ดิรัจฉานภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ทีอุปสมบทแล้ ว พึงให้ สกเสีย ฯ๓๖
                       ั                                                           ึ
            “ภิกษุทงหลาย คนฆ่ามารดาภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ถ้ าอุปสมบทแล้ ว ควรให้ สกเสีย ฯ๓๗
                         ั                                                           ึ
                                                                                ๓๘
            “ภิกษุทงหลาย เราอนุญาตใหอุปสมบทกุลบุตร ผูมอายุ 20 นับในท้อง ฯ
                               ั                         ้ ี
             “ดูก่อนภิกษุทงหลาย อนุปสัมบัน คือ บัณเฑาะก์ ภิกษุไม่พงให้ อุปสมบท ทีอุปสมบทแล้ วต้ องให้ สก
                          ั                                       ึ                                    ึ
        ๓๙
เสีย”

____________________
             ๓๑
                  เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๓๕/๓๓๘ – ๓๔๐.
             ๓๒
                  เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๓๒/๓๓๓.
             ๓๓
                  เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๓๑/๓๓๐.
             ๓๔
                  เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๓๐/๓๒๗.
             ๓๕
                  เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๒๙/๓๒๖.
             ๓๖
                  เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๒๗/๓๒๖.
             ๓๗
                  เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๒๘/๓๒๖.
             ๓๘
                  เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๑๔๑/๓๕๔
             ๓๙
                  เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๒๕/๓๐๘.
10

           จากขอหามในการบรรพชาแปสมบทในสมัยพุทธกาลนั้น เปนกฎกติกาทีพระพุทธองคทรง   ่
ตั้งไวเปนเกณฑใหถือปฏิบัติอยางเครงครัด โดยมีบทลงโทษทีเ่ รียกวาอาบัติแกผูฝาฝนไมปฏิบัติ
ตามโดยเฉพาะพระอุปชฌาย แตเมื่อกลาวโดยหลักการแลว พระพุทธเจาไดมอบอํานาจความ
                            
เปนใหญในการตัดสินใจในเรื่อง ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นนันแกสงฆ ไมวาเรื่องใด ๆ ก็ตาม รวมถึงเรื่องการ
                                                     ้
รับบุคคลทีจะเขามาบวชดวย
              ่
           และจะสังเกตเห็นไดวา ขอหามการใหบรรพชาอุปสมบทที่มีมาแตครั้งพุทธกาลนั้น แมจะ
ยังคงถือปฏิบัติมาตามลําดับก็ตามที แตเปนการยึดถือปฏิบัติในลักษณะตามรูปแบบ หรือที่
เรียกวาเนนใหเปนพิธีกรรมเทานั้นเอง แตไมไดใสใจในเนื้อหาความสําคัญสักเทาใด เชน การ
สวดถามอันตรายิกธรรม ๑๓ ขอ ซึ่งเปนวิธีการสอบถามเพื่อหาความเปนจริงเกียวกับคุณสมบัติ    ่
ของผูที่จะขอบวชวามีครบหรือไม เชน เปนโรคเรื้อน ฝ โรคกลาก โรคมองครอ ลมบาหมู
หรือไม หรือเปนมนุษยหรือไม เปนชายหรือไม เปนไทหรือไม เปนหนี้สินหรือไม เปนขาราชการ
คือติดราชการอยูหรือไม มารดาบิดาอนุญาตหรือยัง มีอายุครบ ๒๐ ปหรือยัง มีบาตรและจีวร
ครบหรือไม มีชื่อวาอะไร และอุปชฌายชื่ออะไร ดังนี้ เปนการสอบถามเพื่อสัมภาษณหาความ
จริงเพื่อยืนยันความบริสุทธิใจนั่นเอง
                                  ์
           แตในทางปฏิบัติในยุคสมัยปจจุบนเปนเพียงการทําตามระเบียบพิธีที่วางไวเทานั้น เพราะ
                                               ั
ในการสอบถามอันตรายิกธรรม (อันตรายที่จะเกิดมีตอผูจะบวช) เปนการกลาวเปนภาษาบาลี
ซึ่งไมไดแปลเปนภาษาไทยใหมีความเขาใจ เมื่อกลาวเฉพาะภาษาบาลีก็ทําใหผูขอบวชเองไมมี
ความเขาใจ หรือแมแตผถามเองก็ไมมีความเขาใจดวยซ้ําไป ในบางกรณีเมื่อผูขอบวชตอบ
                                    ู
คําถามผิด เชน เมื่อถูกถามวา “มนุสฺโสสิ” แตผูขอบวชตอบวา “นตฺถิ ภนฺเต” ซึ่งเปนคําตอบที่
ไมถูกตอง ผูสอบถามก็มักจะบอกใหตอบใหมวา “อาม ภนฺเต” ดังนี้เปนตน และมีรายละเอียด
อีกหลายเรื่องทีถือปฏิบัติกนมาโดยถือหรือเนนใหเปนเฉพาะพิธีเทานัน ไมไดเนนเพื่อใหผูบวชไดมี
                   ่            ั                                         ้
ความรูความความเขาใจอยางถูกตอง
           สาเหตุในเรื่องดังกลาวนี้ อาจเปนเพราะ
           ๑. ขาดการเอาใจใสจากพระอุปชฌายเอง
           ๒. พระอุปชฌายขาดคุณสมบัติ ไมมีความรูความสามารถเพียงพอ
           ๓. พระสงฆขาดการเอาใจใสดูแลอยางจริงจัง
           ๔. ยึดถือปฏิบัตเิ นนเฉพาะพิธกรรมมากเกินไป ไมเนนเนื้อหาสาระ
                                            ี
           ๕. มุงไปที่ลาภสักการะเปนสวนใหญ
           ที่กลาวมานี้ผูวิจย ไมไดกลาวถึงเหตุการณ ที่เกิดขึ้น ณ จุดใดจุดหนึงเทานั้น แตกลาวถึง
                              ั                                                  ่
โดยมองเปนภาพรวม คือโดยสวนมากทีเ่ ห็นปรากฏในยุคสมัยปจจุบัน แตมิใชวาจะเกิดขึ้นกับทุก
ที่ทุกแหง ที่ ๆ ยึดถือพระธรรมวินัยเปนสําคัญก็ยังมีปรากฏใหเห็นพอสมควร
11

                   ๕. เกณฑการรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในยุคปจจุบัน
๕.๑ ขอแตกตางของการอุปสมบททั้ง 2 ยุค
         ในปัจจุบนั         ผู้ทีมีบทบาทสําคัญทีสุดในการรับกุลบุตรเพืออุปสมบทเป็ นพระภิกษุใน
พระพุทธศาสนา คือ พระอุปัชฌาย์ แต่ท่านเหล่านันยังคงยึดถือธรรมเนียมปฏิบติตามพระธรรม
                                                                             ั
วินยอย่างเคร่งครัด เพราะถือว่าพิธีอปสมบทกุลบุตรเพือเป็ นพระภิกษุนน เป็ นพิธีกรรมทีสําคัญ
   ั                                   ุ                              ั
ทีสุดอย่างหนึง
         แต่เนืองจากจุดมุงหมายของการบวชในสมัยพุทธกาลกับในปั จจุบนมีข้อแตกต่างกัน คือ
                         ่                                              ั
สาเหตุทีกุลบุตรในสมัยพุทธกาลทังยุคต้ น ยุคกลาง และหลังจากพุทธปรินิพพานไม่นาน ออกบวช
เพราะเลือมใสในพระพุทธศาสนา เพือศึกษาพระธรรมวินยและสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา
                                                       ั
         ส่วนกุลบุตรในปัจจุบน อุปสมบทโดยมีสาเหตุหลักดังนีคือ.-
                               ั
         ๑) เพือศึกษาพระธรรมวินย และศึกษาวิชาการทังทางคดีโลก คดีธรรม
                                     ั
         ๒) เพือทดแทนคุณบุพการีตามความเชือทีสืบทอดกันมา
         ๓) เพือประพฤติปฏิบติตามประเพณีตามความเชือทีสืบทอดกันมา
                                 ั
         ๔) เพือดําเนินชีวิตในช่วงบันปลาย
         อีกประการหนึงทีการอุปสมบททัง ๒ ยุค แตกต่างกันคือ ระยะเวลาของการบวช การบวช
ในสมัยพุทธกาลนัน ส่วนใหญ่จะเป็ นการบวชแบบถวายชีวิตในพระศาสนา (สาสเน อุรํ ทตฺวา)
ส่วนการบวชในปัจจุบน เนืองจากสถานการณ์ทางสังคม ประเพณี วัฒนธรรมเปลียนไป ทําให้ ผ้ ู
                     ั
ขออุปสมบทกลายเป็ นผู้กําหนดระยะเวลาของการบวชของตน ด้ วยตนเอง

                           ๖. การอุปสมบทในยุคปจจุบัน
      กฏเกณฑ์บางข้ อไม่สามารถนํามาเป็ นตัวกําหนดในสถานการณ์ปัจจุบน เช่นอันตรายิกธรรม
                                                                       ั
บางข้ อ คือ
      -โลหิตปบาท ทําร้ ายพระพุทธเจ้ าจนพระโลหิตห้ อขึนไป
                ุ
      -อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์
      -สังฆเภท ยุยงสงฆ์ให้ แตกกัน
      -ผู้ เป็ นอุภโตพยัญชนก (คน ๒ เพศ)
      ส่วนข้ อปฏิบติทีพระอุปัชฌาย์ในปัจจุบนยังคงยึดถืออย่างเคร่งครัด คือ อันตรายิกธรรมทีใช้
                     ั                    ั
ถามในเวลาอุปสมบท คือ.-
         กุฏฺ ฐํ          โรคเรือน
         คณฺโฑ            ฝี
12

          กิลาโส               โรคกลาก
          โสโส                 โรคมองคร่อ
          อปมาโร               ลมบ้ าหมู
          มนุสฺโส              เป็ นมนุษย์
          ปุริโส               เป็ นชาย
          ภุชิสฺโส             เป็ นไท
          อนโณ                 ไม่มีหนีสิน
          น ราชภโฏ             มิใช่ราชภัฏ
          อนุ ฺญาโต มาตาปิ ตูหิ               มารดาบิดาอนุญาตแล้ ว
          ปริปณฺณวีสติวสฺโส
                  ุ                           มีปีครบ ๒๐ แล้ ว
          ปริปณฺณํ ปตฺตจีวรํ
                    ุ                         บาตรจีวรมีครบแล้ ว๔๐
      และสืบเนืองจากสาเหตุข้างต้ น               ทําให้ กฎเกณฑ์ในการรับกุลบุตรเพืออุปสมบทบางข้ อ
ถูกลดความสําคัญหรือได้ รับการยกเว้ น เช่น.-
      -บุคคลผู้มีอาการไม่ครบ ๓๒
      -บุคคลผู้เป็ นราชภัฏ(ข้ าราชการ) เพราะสามารถลาอุปสมบทได้ โดยมีกําหนดระยะเวลา
      -บุคคลผู้มีหนี
      -บุคคลผู้เป็ นโจรทีถูกออกหมายจับ เพราะไม่สามารถตรวจสอบได้ โดยละเอียด
      -บุคคลผู้เป็ นบัณเฑาะว์
      -ผู้ เป็ นโรคเรื อน
      -ผู้ เป็ นฝี
      -ผู้ เป็ นกลาก
      -ฯลฯ
กรรอุปสมบทในสมัยปจจุบัน ดังไดกลาวมาแลววา สวนมากจะยังคงยึดถือปฏิบัติตามพิธีคือเนน
ไปในทางพิธกรรมเสียเปนสวนมาก จึงทําใหเกิดมีปญหาตาง ๆ มากมายขึ้นในสังคมสงฆ เชน
                ี                                        
กรณีที่มกะเทยหรือสาวประเภทสองเรียกรองสิทธิในการบวชพระ หรือผูที่มีลกษณะโนมเอียงไป
        ี                                                                       ั
ทางเพศหญิงและไดเขามาบวชในพระพุทธศาสนาก็มีปรากฏใหเห็นกันอยางดาษดื่น โดยเฉพาะ
ในวัดเขตเมืองหลวง และบุคคลดังกลาวเมื่อบวชเขามาแลว มักจะประพฤติตัวไมเหมาะสมแก
สมณสารูป              คือไมไดคํานึงถึงเพศความเปนพระ       และเมื่อมีการเกาะกลุมรวมตัวกันไดก็จะ
แสดงออกดวยกิริยาอาการแปลกประหลาด ทําใหเสื่อมเสียแกวงการคณะสงฆอยางยิ่ง เพราะ
เปนภาพที่ไมนาดูนามองแกผูพบเห็น และบุคคลเหลานี้เมื่อกลาวตามพระวินัยนัน ไมมีคุณสมบัติ
                                                                                   ้
ที่จะบวชไดดวยเลย หรือเมื่อรูภายหลังวาเปนกะเทยหรือบัณเฑาะก ก็ตองรีบใหสกดวยซ้ําไป
                                                                                    ึ
13

แตเนื่องจากปจจุบน เปนเพราะการขาดการเอาใจใสดแลและละเลยของคณะสงฆ หรือไมได
                       ั                                     ู
แกปญหาอยางจริงจัง จึงทําใหเกิดปญหาเกี่ยวกับเรื่องนี้ขึ้นมากมาย จนยากที่จะแกไขเยียวยา
ดังมีเรื่องปรากฏตามสื่อตาง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องพระเณรที่เปนตุดเกยมากมาย ซึ่งผูวจัยไดนํามา
                                                                                        ิ
ประกอบไวเพื่อใหเปนกรณีศึกษาแกผที่มีหนาทีเ่ กี่ยวของในเรื่องนี้ดวย
                                          ู                                  และผูวิจัยไดวิเคราะห
                                                                                    
สาเหตุและเสนอทางแกไขไวดวยคือ
               สาเหตุของปญหาคือ-
               ๑) ระบบการอุสมบทหยอนยาน
               ๒) พระอุปชฌายไมเอาใจใสอันเตวาสิก
               ๓) การปกครองของคณะสงฆในปจจุบน สวนมากเปนระบบอุปถัมภ
                                                      ั
               ๔) ระบบการปกครองคณะสงฆไมเขมแข็ง
               ๕) เจาอาวาสขาดการเอาใจใส
               ๖. พระเณรดวยกันเองไมวากลาวตักเตือน
แนวทางแกไข
                ๑) พระอุปชฌายและผูเ กี่ยวของตองเขมแข็งและเอาใจใสอยางจริงจัง
                ๒) ปรับระบบการปกครองคณะสงฆใหเขมแข็งกวาทีเ่ ปนอยู
                ๓) พระสงฆทกรูปตองรวมมือใหการเอาใจใสในการแกไขปญหา
                               ุ
                ๔) เจาอาวาสและผูที่เกี่ยวของตองมีความเขมงวดมากยิ่งขึน้
                ๕) เมื่อมีอธิกรณเกิดขึ้นคณะสงฆตองรีบเขาไปแกไขอยางทีนทวงที
                ๖) ไมปลอยใหปญหาตาง ๆ ทีเ่ กิดขึนเรื้อรัง จนยากที่จะเยียวยา
                                                  ้
ซึ่งตามทีกลวมานี้ เปนเพียงแนวทางหนึ่งเทานั้น ยังมีวิธการอีกหลายแนวทางที่จะทําใหเรื่องไมดี
             ่                                                   ี
ไมงามตาง ๆ ที่เกิดขึ้นใหสงบไดอยางเรียบรอย ซึงเปนหนาที่ของทุกฝายที่เกียวของจะตอง
                                                               ่                      ่
ชวยกันดูแลอยางจริงจัง
          และยังมีบางข้ อทีให้ ความสําคัญมากขึนเกียวกับเกณฑ์การับกุลบุตรทีทางคณะสงฆ์ได้ ถือ
ปฏิบติกนในปัจจุบน คือ บุคคลทีเป็ นโรคติดต่อร้ ายแรง โดยในปั จจุบนให้ ความสําคัญไปที โรค
         ั ั             ั                                                  ั
ภูมิค้ มกันบกพร่อง (AIDS) โดยผู้ทีขออุปสมบทจะต้ องเข้ ารับการตรวจเลือดและมีใบรับรองจาก
       ุ
แพทย์วาไม่เป็ นโรคดังกล่าวมาแสดงกับพระอุปัชฌาย์ด้วย
           ่


____________________
         ๔๐
              เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๔๒/๓๕๕.
14

                                                 สรุป
             หากจะเปรียบเทียบเกณฑ์การรับกุลบุตรเพืออุปสมบทในพระพุทธศาสนาในยุคพุทธกาล
และหลังพุทธกาล ย่อมมีข้อเหมือนกันและแตกต่างกัน วัฒนธรรมทางสังคมทีเปลียนไปทําให้ กฏ
ระเบียบข้ อบังคับต่างๆ ด้ อยลงไปบ้ าง ในปัจจุบนมหาเถรสมาคมหรือตัวพระอุปัชฌาย์เองก็ตงกฏ
                                                       ั                                     ั
ขึนมาอีกชันหนึงสําหรับผู้อปสมบทเพือปองกันอธิกรณ์อนจะเกิดขึนแก่คณะสงฆ์ แก่พระอาราม
                                ุ           ้               ั
และแก่ตวพระอุปัชฌาย์เอง ซึงถือว่าเป็ นกติกาอันชอบธรรม แต่คําสังสอนของพระพุทธเจ้ าเป็ นอ
             ั
กาลิโก ไม่จํากัดกาลเวลา ทําให้ พระเถระรุ่นหลังยังคงยึดถือธรรมเนียมปฏิบติในเรืองของการ
                                                                                  ั
อุปสมบทอย่างเคร่งครัด เพราะเป็ นพิธีกรรมทีสําคัญอย่างหนึง อุปัชฌาย์ผ้ เู คร่งครัด ย่อมยึดเอา
พระวินยโดยอุกฤษฏ์
           ั
             การบวชพระในพระพุทธศาสนา ถ้ าผู้บวชชวชด้ วยความเต็มใจและตังใจศึกษาพระธรรม
วินยทีพระพุทธเจ้ าทรงแสดงสังสอนไว้ แม้ จะเป็ นระยะเวลาสัน ๆ ๑๕ วัน หรือ ๑ พรรษา
    ั
คุณประโยชน์ของการชวชจะปรากฏให้ เห็นในภายหลัง เมือผู้บวชลาสึกไปดําเนินชีวิตตามปกติ
ด้ วยการน้ อมนําหลักธรรมมาเป็ นแนวทางปฏิบติตนเพือนําพาชีวิตไปสูความสุขตามกําลังภูมิธรรม
                                                   ั                   ่
ของตน ด้ วยเหตุนีบรรพชนไทยจึงยกย่องผู้ผานการบวชมาจึงเรียกว่าเป็ น “บัณฑิต” เป็ นผู้มี
                                                     ่
ความรู้ ซึงคําว่าบัณฑิตนีคงถูกเรียกแผลงมาเป็ นคําว่าฑิดในปัจจุบน    ั
             ดังทีกล่าวไปแล้ วว่า ในยุคต้ นพุทธกาลนัน ไม่มีกฏเกณฑ์ใดทังสินในการรับอุปสมบท แต่
เมือมีผ้ ทําผิด ทําให้ ผ้ อืนเดือดร้ อนมากขึน ข้ อห้ ามย่อมมากขึนตามไปด้ วย พระองค์จึงทรงบัญญัติ
         ู                ู
กฏการอุปสมบทไว้ เพือความอยู่ผาสุขของพระสงฆ์                       เพือความเรียบร้ อยดีงามแห่งสงฆ์
เช่นเดียวกับการบัญญัติพระวินยทัง ๒๒๗ ข้ อ เป็ นต้ น เมือกาลเวลาผ่านไปกฏต่างๆก็มีมากอย่าง
                                     ั
ทีปรากฏอยู่ในพระวินยและในรายงานฉบับนี.
                            ั
15

                                    บรรณานุกรม
หนังสือภาษาไทย

เทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พระ. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ . พิมพ์ครังที ๖.
    กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๒๓.

บรรจบ บรรณรุจิ. “การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรืองอสีติมหาสาวกกับการบรรลุธรรม” วิทยานิพนธ์-
    มหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒.

มหามกุฎราชวิทยาลัย. พระไตรปิ ฎกและอรรถกถาแปล ๙๑ เล่ม. พิมพ์ในวโรกาสฉลองกรุงรัตนโก-
    สินทร์ ๒๐๐ ปี . กรุงเทพฯ: เฉลิมชาญการพิมพ์, ๒๕๒๕.

___________ . ตติยสมันตปาสาทิกา แรรถกถาพระวินย. พิมพ์ครังที ๑๑. กรุงเทพฯ: โรง-
                                             ั
    พิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗.

มหาสมณเจ้ า. กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. พระ. สมเด็จ. สารานุกรมพระพุทธศาสนา. กรุงเทพ”:
    โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: นามมีบ๊ คส์พบลิเคชันส์, -
                                                               ุ ั
     เคชันส์ จํากัด, ๒๕๔๒.
16

                                       ภาคผนวก
                               เรื่องพระเณรที่เปนตุด-เกย
          จากข่าวทีเกย์ ตุ๊ด เข้ ามาบวชในพระพุทธศาสนามากขึน ทําให้ เป็ นทีลําบากใจของฝ่ าย
ปกครองสงฆ์ เพราะพระตุ๊ด พระเกย์ ทีเข้ ามา บวชแล้ ว ประพฤติดีก็มีอยู่ จนทําให้ ต้องมีการหา
ข้ อมูล เพือกําหนด กรอบความประพฤติของพระ ทีมีพฤติกรรม เบียงเบนทางเพศเหล่านี

จะหากรอบอย่างไร? หรือน่าจะยกออกนอกกรอบไปเลย! จึงจะถูกต้ องตามพระธรรมวินยมากกว่า        ั
คงต้ อง มาพิจารณาเนือหา จากข่าวของ หนังสือพิมพ์ "คม ชัด ลึก"ฉบับวันที ๑๓ ก.ค. ๔๖ ซึงได้
พาดหัวข่าว และ มีเนือข่าวดังนี เกย์ลามถึงเจ้ าวัด ตังคูขาเป็ นเลขาฯ "พระเกย์"โผล่อีก ชาวเมือง
                                                         ่
เชียงใหม่ร้องพฤติกรรมฉาว แฉเป็ นระดับพระชันผู้ใหญ่ตงแต่พระครู-เจ้ าอาวาส ยันพระหนุ่ม เผย
                                                           ั
บางรายตัง "คูขา" เป็ นเลขาฯ คนขับรถ เพือบังหน้ า ตกดึกแอบย่องเข้ าไปตุยกันในกุฏิ จนติดเอดส์
              ่                                                            ๋
ตาย หลังจาก "คม ชัด ลึก"ได้ รับการร้ องเรียนถึงพฤติกรรมพระเกย์ในวัดต่างๆ ทังจังหวัดลําพูน
และจังหวัดเชียงใหม่ จํานวนมาก ซึงพระดังกล่าว มีพฤติกรรม เบียงเบนทางเพศ และสร้ างความ
เสือมเสีย ให้ แก่พทธศาสนา จนกระทัง คณะกรรมการปกครองสงฆ์ จังหวัดเชียงใหม่ ได้ หา
                  ุ
มาตรการปองกัน โดยเตรียม จัดระเบียบพระสงฆ์ ให้ มความประพฤติ เหมาะสมกับสมณวิสย แต่
           ้                                         ี                                    ั
ยังไม่ทน ทีจะกําหนด มาตรการ เพือแก้ ปัญหา ดังกล่าว ล่าสุด ได้ มีผ้ รู้ องเรียน เกียวกับพฤติกรรม
       ั
ทีไม่เหมาะสม ของพระ-เณรทีมีพฤติกรรม เป็ นพระเกย์อกแล้ วี

สําหรับพฤติกรรมของพระเกย์รายนี ได้ ถกเปิ ดเผยจากชาวบ้ านในจังหวัดเชียงใหม่ ทีได้ ร้องเรียน
                                       ู
ความประพฤติ ของกลุม พระเกย์ ตามวัดต่างๆ ในจังหวัดเชียงใหม่ ซึงหลังจากตรวจสอบ "คม ชัด
                       ่
ลึก"ก็พบว่า พฤติกรรม ดังกล่าวมีจริง พระสงฆ์รูปหนึงทีมีพฤติกรรมเป็ นเกย์ก็ยอมรับว่า พระเกย์มี
จริง โดยส่วนใหญ่จะเป็ นพระทีมีอายุมากแล้ ว ซึงมีทง ระดับพระครู ไปจนถึงเจ้ าอาวาสหลายวัดใน
                                                  ั
จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนียังมีพระเกย์บางรูป ทีจ้ าง ให้ คขา มาเป็ นคนขับรถ หรือเลขาฯ ส่วนตัว
                                                         ู่
เพือเป็ นการบังหน้ า แต่พอตกดึก หรือตอนทีไม่มีใครอยู่ ก็แอบย่อง เข้ าไป มีเพศสัมพันธ์กนในกุฏิ
                                                                                      ั

นายชัยมงคล แก้ วมา คนขับรถประจําตัวเจ้ าอาวาสแห่งหนึงในจังหวัดเชียงใหม่ยอมรับว่า มีพระ
เกย์ ทีให้ คขา คนสนิท มาเป็ นเลขาฯ คอยช่วยงานและเป็ นคนขับรถให้ จริง ซึงเรืองดังกล่าวมีมา
            ู่
นานแล้ ว แต่ไม่มีใคร อยากเข้ าไป เกียวยุงด้ วย และพฤติกรรมพระเกย์ประเภทมีรกร่วมเพศ ก็สงผล
                                        ่                                 ั           ่
ให้ พระสงฆ์หลายรูป ติดเชือเอดส์ จนเสียชีวิต ไปแล้ วหลายรูป อย่างเช่น พระสงฆ์รูปหนึง ในวัด
ย่านถนน ราชภาคินย ในตัวเมือง เชียงใหม่ ทียังคง รักษาตัวอยู่ ด้ านนายวัลลภ นามวงศ์พรหม
                    ั
กรรมการปกครองสงฆ์ (ฝ่ ายฆราวาส) จังหวัดเชียงใหม่กล่าวว่า สําหรับ พระสงฆ์ และสามเณร ทีมี
พฤติกรรมเป็ นพระเกย์ หรือตุ๊ด พบว่ามีการรวมกลุมกัน โดยส่วนใหญ่ จะเป็ น สามเณร ตามวัด
                                                  ่
17

ต่างๆ ทีไปเรียนตามโรงเรียนพระปริยติธรรมโดยทราบว่ามีการตังชือกลุมว่า "เจ้ าหญิง" ด้ วย ซึงทํา
                                  ั                                 ่
ความเสือมเสีย ให้ แก่สมณเพศเป็ นอย่างยิง แต่ก็เข้ าใจว่า บางคนเป็ นเกย์-ตุ๊ด มาตังแต่เกิด ทําให้
แก้ ไขไม่ได้ "พระตุ๊ ดและพระเกย์ทีมีอยู่ในปั จจุบน มีหลายรูปทีมีความรู้ความสามารถ ประพฤติ
                                                 ั
ตนเป็ นประโยชน์ แก่พระพุทธศาสนา ไม่วาจะเป็ นพระนักเทศน์ชือดัง พระนักพัฒนา รวมถึงเป็ น
                                          ่
พระครู และพระอาจารย์ ทีคอย ให้ ความรู้ แก่พระนิสต จึงอยากจะให้ สงคม ช่วยพิจารณาให้ ดี
                                                      ิ                 ั
มิฉะนัน อาจทําให้ พระ ทีมีความประพฤติดี เสียกําลังใจได้" นายวัลลภกล่าว

ทางด้ านพระญาณสมโพธิ เจ้ าคณะ อ.เมืองเชียงใหม่ กล่าวว่า ขณะนีคณะกรรมการสงฆ์ ทังฝ่ าย
สงฆ์ และ ฝ่ ายฆราวาส กําลังรวบรวมข้ อมูลและมีการศึกษา เพือเตรียมทีจะมีการกําหนดกรอบ
ความประพฤติของพระ ทีมีพฤติกรรม เบียงเบนทางเพศเหล่านี ไม่วาจะเป็ นพระตุ๊ด หรือพระเกย์
                                                           ่
โดยจะมีการกําหนด ถึงระดับ ของความเหมาะสม ในการประพฤติตน ซึงหากเกินระดับทีมีการ
กําหนดไว้ ก็จะต้ องมีการกําหนดโทษต่อไป

ถ้ าพิจารณาผิวเผินก็อาจทําให้ คิดได้ วา การมีพระเกย์ พระตุ๊ดทีมีความรู้ ความสามารถ เป็ นทังพระ
                                      ่
ครู พระนักพัฒนา และพระนักเทศน์ชือดังน่าจะเป็ นผลดีตอพุทธศาสนา แต่หารู้ไม่วา บุคคลเหล่านี
                                                        ่                        ่
เป็ นอันตราย ต่อพุทธศาสนา อย่างยิง จัดอยูในหมวดบุคคลทีต้ องห้ ามเข้ ามาบวช อันได้ แก่พวกทํา
                                            ่
อนันตริยกรรมทังหลาย เช่น ฆ่าพ่อ ฆ่าแม่ ฆ่าพระอรหันต์ ทําร้ ายภิกษุณี และทําร้ ายพระพุทธเจ้ า
บุคคลเหล่านี แม้ จะได้ ผานการบวช มาแล้ ว หากรู้ในภายหลัง พระพุทธองค์กทรงให้ จบสึกเสีย
                          ่                                                    ็       ั
เพราะถือว่า เป็ นผู้ไม่สามารถเจริญงอกงาม ในธรรมวินย ของ พระพุทธองค์ได้ อีกแล้ ว
                                                      ั

ในกรณีพวกทีมีพฤติกรรมเบียงเบนทางเพศนัน ถือเป็ นความวิปริตผิดธรรมชาติอย่างยิง เพราะ
ปกติของ การเสพกามนัน เป็ นธรรมชาติของมนุษย์ทีต้ องการจะสืบต่อเผ่าพันธุ์ให้ ดํารงอยู่กนต่อไป
                                                                                          ั
แต่ความต้ องการ เสพกาม ระหว่างเพศเดียวกัน มันเป็ นเรืองของกิเลสสดๆ โดยตรง ทีต้ องการเสพ
รูป รส กลิน เสียง สัมผัส อย่างเดียว โดยไม่เกียวข้ องกับเรืองของการสืบต่อเผ่าพันธุ์ อันเป็ นเรือง
ของธรรมชาติแต่อย่างใด ในสมัยพุทธกาลเคยมีนาคซึงเป็ นสัตว์เดรัจฉานปลอมตัวมาบวช แต่เมือ
เผลอตัวหลับไป ในคืนวันหนึง จึงเผยเกล็ด เผยหงอน ให้ เพือนพระได้ เห็นเข้ า เมือพระพุทธเจ้ าทรง
ทราบเรืองราวทีเกิดขึน ก็ให้ พระนาค ซึงเป็ นเดรัจฉาน ห้ ามบวช สึกออกไปทันที ซึงในทํานอง
เดียวกับพระตุ๊ดพระเกย์ เมือใดทีแสดงอาการ ผิดปกติ ออกมาให้ ปรากฏ ด้ วยกิริยาท่าทาง
กระตุ้งกระติงก็ดี หรือการแสดงออก ซึงความกําหนัด ยินดีตอเพือนภิกษุ หรือ สามเณร ด้ วยกัน
                                                               ่
เมือชัดเจนว่าเป็ นตุ๊ด เป็ นเกย์แน่แล้ ว ก็ควรจัดการให้ สกทันที ไม่ควรต้ องไปพิจารณา หากรอบ ที
                                                         ึ
เหมาะสมให้ พระเกย์พระตุ๊ดปฏิบติ มิฉะนัน อาจทําให้ พระทังวัด เสียความบริสทธิ เพราะถูกตุ๊ด
                                   ั                                               ุ
ข่มขืน เลยพากันปาราชิก ไปหมดวัดเลยก็ได้             (เราคิดอะไร ฉบับที่ ๑๕๘ กันยายน ๒๕๔๖)
18

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรsolarcell2
 
Random 140802073902-phpapp02
Random 140802073902-phpapp02Random 140802073902-phpapp02
Random 140802073902-phpapp02Jupiter Jringni
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
บาลี 42 80
บาลี 42 80บาลี 42 80
บาลี 42 80Rose Banioki
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
บาลี 41 80
บาลี 41 80บาลี 41 80
บาลี 41 80Rose Banioki
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายPadvee Academy
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครูniralai
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapanaTongsamut vorasan
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 

Was ist angesagt? (19)

แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
 
Random 140802073902-phpapp02
Random 140802073902-phpapp02Random 140802073902-phpapp02
Random 140802073902-phpapp02
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
บาลี 42 80
บาลี 42 80บาลี 42 80
บาลี 42 80
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
บาลี 41 80
บาลี 41 80บาลี 41 80
บาลี 41 80
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 

Ähnlich wie เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา

พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...Tongsamut vorasan
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒Tongsamut vorasan
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒Wataustin Austin
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 

Ähnlich wie เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา (20)

พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 

Mehr von Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

Mehr von Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา

  • 1. 1 ๑. การบวช ๑.๑. ความหมายของการบวช คําว่า บวช ในภาษาไทย เป็ นคํานาม มาจากภาษาบาลีวา ป+วช ธาตุ ในความหมายว่า ่ งด,เว้ น,หลีก,เลียง,ห่างไกล ในทีนีประการที ๑ หมายถึง ห่างไกลจากกิเลสเครืองเศร้ าหมองมีกาม คุณ ๕ เป็ นต้น ความหมายประการที ๒ หมายถึงบุคคลทีมีความเลือมใสในพุทธศาสนาเข้ ามาสู่ พระธรรมวินย ซึงแบ่งเป็ นประเภทหลักมี ๔ ประเภทคือ ั ๑. ภิกษุ ๒. ภิกษุณี ๓. สามเณร ๔. สามเณรี ท่านผู้ร้ ูได้ ให้ ความหมายของการบวชไว้ ดงนี.- ั สมเด็จพระมหาสมณเจ้ า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้ ทรงให้ ความหมายไว้ วา “คนพวก ่ หนึงพอใจจะประพฤติธรรม ด้ วยเข้ าใจว่า การเกิดของตนจะไม่ไร้ เปล่า จะยังประโยชน์ใหญ่ให้ สําเร็จแก่มหาชน ยอมละยศศักดิ และความสุขส่วนตัวเข้ าสูพระศาสนาเทียวสังสอนมหาชน” ๑ ่ พระธรรมปิ ฎก (ประยุทธ ปยุตโต) ได้ ให้ ความหมายไว้ วา การบวช (แปลว่า เว้ นความชัว ่ ทุกอย่าง) หมายถึงการบวชทัวไป, การบวชอันเป็ นบุรพประโยคแห่งอุปสมบท, การบวชเป็ น สามเณร (เดิมทีเดียว) คําว่า บรรพชา หมายความว่า บวชเป็ นภิกษุ เช่น เสด็จออกบรรพชา อัครสาวกบรรพชา เป็ นต้ น ในสมัยต่อมาจนถึงปัจจุบนนี คําว่าบรรพชา หมายถึง บวชเป็ น ั สามเณร ถ้ าบวชเป็ นภิกษุ ใช้ คําว่าอุปสมบท โดยเฉพาะเมือใช้ ควบกันว่า บรรพชาอุปสมบท๒ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ ให้ ความหมายว่า “การถือเพศเป็ นภิกษุหรือ นักพรตอืน ๆ ๓ ๑.๒. คําที่มีความหมายถึงการบวช ๑). บรรพชา เป็ นคํานามเช่นเดียวกับการบวช ในสมัยพุทธกาลเป็ นคําทีใช้ กบการบวช ั ทัวๆไป สันนิษฐานว่าเป็ นคําทีใช้ ก่อนกว่าคําอืน เช่นใช้ ในสมัยทีเจ้ าชายสิทธัตถะเสด็จออกบวช ครังแรก ใช้ คําว่า เสด็จออกบรรพชา หรือคําว่า พระสารีบตรบรรพชา พระยสะบรรพชา เป็ นต้ น ุ มิได้ หมายถึงการบวชอย่างใดอย่างหนึง ____________________ ๑ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ า กรมพระยาวชรญาณวโรรส, สารานุกรมพระพุทธศาสนา (กรุงเทพฯ: โรง พิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. ๒๕๓๙). น. ๘๒. ๒ พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครังที ๖ (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓). น. ๑๓๒. ๓ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (กรุงเทพฯ:นานมีบ๊ คส์พบลิเคชันส์, ุ ั ๒๕๔๒). น. ๖๑๐.
  • 2. 2 การใช้ คําว่า ปพพชิ (บวชเอง) หรือ ปพพาเชสิ (เป็ นผู้บวชให้ คือเป็ นพระอุปัชฌาย์) ทีใช้ ในอรรถกถาต่าง ๆ โดยเฉพาะในธัมมปทัฏฐกถา ซึงเป็ นอรรถกถาของธรรมบท ขุททกนิกาย ใน พระสุตตันตปิ ฎก ทีดาษดืนชีให้ เห็นว่า เป็ นการใช้ ทีหมายถึงการบวชทัวไป หากคําว่า บรรพชา เป็ นคํานามจะมีรูปเป็ น บรรพชิต ซึงหมายถึงนักบวชหรือนักพรต ในปัจจุบน ดังทีได้ กล่าวไปแล้ วว่า คําว่า บรรพชา ใช้ หมายถึงการบวชเป็ นสามเณร เป็ น ั เบืองต้ นของการบวชเป็ นพระภิกษุ ๒). อุปสมบท หมายถึง การให้ กลบุตรบวชเป็ นพระภิกษุ หรือให้ กลธิดาบวชเป็ นภิกษุณี , ุ ุ การบวชเป็ นภิกษุ หรือภิกษุณี ๔ คําว่า อุปสมบท นี มีความหมายแตกต่างจากคําว่า อุปสัมปทา ซึงจะกล่าวต่อไป ๓). อุปสัมปทา หมายถึง การบวช, การบวชเป็ นภิกษุ หรือภิกษุณี ๕ ๔). อุปสัมปทาเปกข์ หมายถึง บุคคลผู้เพ่งอุปสมบท คือผู้มงจะบวชเป็ นภิกษุ, ผู้ขอบวช ุ่ ๖ นาค ๕). อุปัชฌาย์ หมายถึง ผู้เพ่งโทษน้ อยใหญ่ คือผู้รับรองกุลบุตรเข้ ารับการอุปสมบทในท่า มกล่างภิกษุสงฆ์ เป็ นพระเถระผู้เป็ นประธานในการบวชกุลบุตรเป็ นทังผู้นําเข้ าหมู่ และ เป็ นผู้ปกครองดูแลรับผิดชอบทําหน้ าทีฝึ กสอนอบรมให้ การศึกษาต่อไป ส่วนอุปัชฌาย์ใน ฝ่ ายภิกษุณี เรียกว่า ปวัตตินี ๗ ๒. วิธีบรรพชาอุปสมบท วิธีบรรพชาอุปสมบท ทีพระพุทธองค์ทรงอนุญาตไว้ เรียกว่า อุปสัมปทา คือการบวชเป็ น ภิกษุ หรือภิกษุณีมี วิธีอปสมบทนีมีทงหมด ๘ อย่าง แต่เฉพาะทีใช้ เป็ นหลักมี ๓ อย่าง คือ ุ ั ๑). เอหิภกขุอุปสัมปทา ิ การอุปสมบทด้วยพระวาจาว่า “จงเป็นภิกษุมาเถิด” เป็นวิธทพระพุทธเจ้าทรงบวชให้เอง ี ี ๒). ติสรณคมนูปสัมปทาหรือสรณคมนุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยถึงไตรสรณะ เป็นวิธททรงอนุญาตให้พระสาวกทําในยุคต้นพุทธกาล เมือคณะสงฆ์ยงไม่ใหญ่นก ี ี ั ั เมือทรงอนุญาตวิธท ี ๓ แล้ว วิธท ี ๒ นีก็เปลียนใช้สาหรับบรรพชาสามเณร ี ี ํ ____________________ ๔ พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์, น. ๔๓๐. ๕ เรืองเดียวกัน. น. ๔๓๑. ๖ เรืองเดียวกัน. ๗ เรืองเดียวกัน. น. ๔๓๒.
  • 3. 3 ๓). ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม เป็นวิธททรง ี ี อนุญาตให้สงฆ์ทา ในเมือคณะสงฆ์เป็นหมูใหญ่ขนแล้ว และเป็นวิธทใช้สบมาจนทุก ํ ่ ึ ี ี ื วันนี; วิธอุปสมบทอีก ๕ อย่างทีเหลือเป็นวิธททรงประทานเป็นการพิเศษจําเพาะ ี ี ี บุคคลบ้าง ขาดตอนหมดไปแล้วบ้าง ได้แก่ (จัดทําเรียงใหม่ เอาข้อ ๓. เป็นข้อ ๘. ท้ายสุด) ๓). โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา การอุปสมบทด้ วยการรับโอวาท เป็ นวิธีทีทรงอนุญาต แก่พระมหากัสสปะ ๔). ปั ญหาพยากรณูปสัมปทา การอุปสมบทด้ วยการตอบปัญหาของพระพุทธองค์ เป็ น วิธีทีทรงอนุญาตแก่โสปาณสามเณร ๕). ครุธรรมปฏิคคหณูปสัมปทา( หรืออัฎฐครุกรรมปฏิคคหณูปสัมปทา) การ อุปสมบทด้ วยการรับครุฑรรม ๘ ประการ เป็ นวิธีทีทรงอนุญาตแก่พระนางมหาปชาบดี โคตรมี ๖). ทูเตนะ อุปสัมปทา การอุปสมบทด้ วยทูต เป็ นวิธีทีทรงอนุญาตแก่นางคณิกา (หญิงโสเภณี) ชืออัฑฒกาสี ๗). อัฎฐวาจิกาอุปสัมปทา การอุปสมบทมีวาจา ๘ คือ ทําด้ วยญัตติจตุตถกรรม ๒ ครังจากสงฆ์ทงสองฝ่ าย คือจากภิกษุณีสงฆ์ครังหนึง จากภิกษุสงฆ์ครังหนึง ได้ แก่ การ ั อุปสมบทของภิกษุณี ๘). ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา (ข้ อ ๓ เดิม) ๘ ๓. การอุปสมบทและเกณฑการรับกุลบุตร เพื่ออุปสมบทในสมัยพุทธกาล ๓.๑ ที่มาของแนวคิดเรืองการบรรพชาอุปสมบท ่ แนวคิดเรืองการอุปสมบทและเกณฑ์การรับกุลบุตรเพืออุปสมบทในสมัยพุทธกาล จะ ปรากฏอยู่ใน มหาขันธกะ มหาวรรค พระวินยปิ ฎก และพระวินยปิ ฎกเกือบทังหมด โดยจะแสดง ั ั เรืองราวต่างๆ ดังนีคือ ____________________ ๘ เรืองเดียวกัน. น. ๔๓๑.
  • 4. 4 ๑) การบรรพชาอุปสมบท ๒) วิธีบรรพชาอุปสมบท ๓) ข้ อห้ าม ข้ อบังคับ ข้ ออนุญาต การบรรพชาอุปสมบท ๔) คุณสมบัติของผุ้จะบรรพชาอุปสมบท ๕) ข้ อปฏิบติของพระอุปัชฌาย์ ั ๖) พระวินยและข้ อปฎิบติทีผู้บรรพชาอุปสมบทต้ องปฎิบติ ั ั ั ๗) ภิกษุผ้ เู ป็ นต้ นบัญญัติแห่งข้ อบังคับการบรรพชาอุปสมบททังหมด ๘) ตัวอย่างผู้ทีได้ รับการบรรพชาอุปสมบททัง ๘ วิธี แต่ในงานวิจยนีจะนํามาแสดงวิเคราะห์เป็ นบางเรืองพอเป็ นสังเขปเท่านัน ั ซึงผู้สนใจ ศึกษาเพิมเติม สามารถค้นคว้ าได้ จะหลักฐานทีปรากฏในพระวินยปิ ฎก และพระสัตตันตปิ ฎก ั ช่วงแรก โดยเฉพาะในพระสุตตันตปิ ฎกและอรรถกถาจะเป็ นการแสดงถึงเรืองราวของผู้ทีได้ รับการ อุปสมบทด้ วยวิธีนนๆ ผู้ทีได้ รับการอุปสมบทเป็ นพระสงฆ์รูปแรกในพุทธศาสนา คือ ท่าน ั พระอัญญาโกณฑัญญะ ซึงเป็ นหนึงในปั ญจวัคคีย์ ได้ ฟังธรรมคือธัมมจักกัปปวัตตนสูตรจากพระ พุทธองค์แล้ ว ได้ ดวงตาเห็นธรรม จึงได้ รับการอุปสมบทด้ วยวิธีเอหิภิกขุอปสัมปทา ในวันขึน ๑๕ ุ คําเดือน ๘ ซึงภายหลังเราเรียกว่า วันอาสาฬหปูณณมีบชา นันเองู ๓.๒ เกณฑการรับกุลบุตรเพือบรรพชาอุปสมบทในสมัยพุทธกาล ่ ในสมัยทีพระพุทธเจ้ าตรัสรู้ใหม่ๆ คณะสงฆ์ยงไม่ใหญ่โตนักนัน การพิจารณากุลบุตรเพือ ั บรรพชาอุปสมบทนัน พระพุทธเจ้ าจะพิจารณาด้ วยพระองค์เอง โดยยึดหลัดการบําเพ็ญบารมีมา ในอดีตชาติของบุคคลนันๆ เช่น พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้ บําเพ็ญบารมีมาถึง ๑๐๐,๐๐๐ กัป แล้ วปราถนาจะตรัสรู้ธรรมก่อนใครในยุคของพระพุทธเจ้ าพระนามว่าปทุมตตระ ความปราถนานัน ุ จึงมาสําเร็จในยุคของพระพุทธเจ้ าพระองค์ปัจจุบน เป็ นต้น ๙ ั หรือหากกุลบุตรใดไม่ได้ บําเพ็ญบารมีมาเพียงพอต่อการอุปสมบท เช่น ไม่ได้ ถวายทานมี บาตรและจีวรเป็ นต้ น แม้ ได้ บรรลุพระอรหัตก็ไม่สามารถจะอุปสมบทได้ เช่น กุลบุตรพาหิยะทารุจี ริยะและ ปุกกุสาติ ได้ ฟังธรรมแล้ วบรรลุพระอรหัตก็ปรินิพพานในวันนัน ต่อมาเมือพระพุทธเจ้ า พร้ อมด้ วยพระสาวกชุดแรกประกาศพระศาสนาไป ทําให้ คําสอนของพระองค์แพร่หลายกว้ างขวาง ออกไป มีกลบุตรจํานวนมากขอบรรพชาอุปสมบท ุ ____________________ ๙ บรรจบ บรรณรุจิ. “การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรืองอสีติมหาสาวกกับการบรรลุธรรม” วิทยานิพนงธ์ ปริญญามหาบัณฑิต คณะอักษณศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (กรุงเทพฯ. ๒๕๓๒). น. ๒๔.
  • 5. 5 แต่ถึงกระนัน พระองค์ก็ยงมิได้ทรงตังกฎเกณฑ์การบรรพชาอุปสมบทเอาไว้ สาเหตุ ั เนืองจากว่า ถ้ าหากทรงตังกฎไว้ ก่อน กุลบุตรจะพากันเกรงกลัวและเหนือยหน่ายต่อการบรรพชา อุปสมบท จะชักชวนกันเป็ นอุบาสกอุบาสิกาทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาเสียเป็ นส่วนใหญ่ และทํา ให้ ไม่มีผ้ บรรพชาอุปสมบท ดังทีในอรรถกถาสมันตปาสาทิกาแสดงเอาไว้ วา ู ่ “หากพระศาสดาพึงบัญญัติสิกขาบทไว้ ก่อน ก็จะถูกติเตียน เพราะสัตว์โลกไม่ร้ ูเรียวแรง หรือกําลังของพระองค์ และสิกขาบททีบัญญัติไว้ กจะเป็ นการไม่สมควร และไม่เป็ นไป ็ ตามทีพระองค์ทรงกําหนดหมายเอาไว้ ฯ เพราะเหตุนน พระองค์จึงตรัสว่า “ดูก่อนสารี- ั บุตร เราจะไม่บญญัติสิกขาบทไว้ ก่อน ตราบใดทีความผิดยังไม่ปรากฎแก่สาวก ั ทังหลาย””ฯ ๑๐ จากหลักฐานดังกล่าวชีให้ เห็นว่า พระพุทธองค์มิได้ทรงตังกฏเกณฑ์ของการบรพชา อุปสมบทไว้ แม้ แต่ข้อเดียว แต่ทรงบัญญัติภายหลัง เมือมีเรืองราวอันเป็ นมูลเหตุเกิดขึน ทําให้ สรุป ได้ วา ข้ อบัญญัตทงทีเป็ นข้ อห้ ามและข้ ออนุญาตต่างๆ ล้ วนแต่มสาวกเคยกระทําผิดและเป็ นต้ น ่ ิ ั ี บัญญัติมาก่อนทังนัน อันเป็ นเหตุให้ ทรงบัญญัตกฏเกณฑ์ของการบรพชาอุปสมบทจนถึงปั จจุบน ิ ั ๓.๓ องคแหงพระอุปชฌาย สําหรับองคแหงพระอุปชฌายนน ถือวามีความสําคัญทีควรจะนํามาแสดง เพราะพระ ั้ ่ อุปชฌายเปนผูมบทบาทมากที่สุดในการคัดเลือกกุลบุตรที่จะเขามาสูพระธรรมวินัย ี ดังจะนํา คุณสมบัติตางๆ เกียวกับพระอุปชฌายที่พระพุทธองคตรัสไวมาแสดงเพื่อใหเปนแนวทางสังเกต ่  ตอไป ดูกอนภิกษุทงหลาย ภิกษุไมพึงใหอุปสมบทดวยคณะ ซึ่งมีพวกหยอน ๑๐ รูปในให ั้ อุปสมบท ตองอาบัติทุกกฎ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตใหอุปสมบทดวยคณะมีพวก ๑๐ ๑๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุมีพรรษาหยอน ๑๐ ไมพึงใหอุปสมบท รูปใดใหอุปสมบท ตองอาบัติทุกกฎ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตใหภิกษุมีพรรษาได ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐ ใหอุปสมบท ๑๒ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูโงเขลาไมเฉียบแหลมไมพึงใหอุปสมบท รูปใดให อุปสมบท ตองอาบัติทุกกฎ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตใหภิกษุผูสามารถมีพรรษาได ๑๐ หรือมีพรรษาเกิน ๑๐ ใหอุปสมบท ๑๓ ____________________ ๑๐ วิ. อ. ๑/๒๒๒. ๑๑ วิ. ม. ๔/๙๘/๑๗๔. ๑๒ เรื่องเดียวกัน. ๔/๙๐/๑๗๖. ๑๓ เรื่องเดียวกัน. น. ๑๗๘.
  • 6. 6 จากองคแหงพระอุปชฌายที่นํามาแสดงขางตนแสดงใหเห็นวา บุคคลผูที่ทําหนาเปน  พระอุปชฌายนน จะตองเปนผูมีความรูความสามารถและสติปญญาเฉลียวฉลาด ในอันที่จะทํา ั้ หนาที่พจารณาตัดสิน ตรวจสอบ และคัดเลือกอยางละเอียดถี่ถวนกอนทีจะตัดสินใจวา กุลบุตร ิ ่ นั้น ๆ มีคุณสมบัติครบถวนหรือไม ในการทีจะเขามาสูพระธรรมวินัย ไมบกพรองเสียหายในดาน ่ ใดดานหนึ่ง หรือจะเรียกวาเปนผูมีวิสยทัศนกวางไกลทันโลกทันเหตุการณนั่นเอง ั ซึ่งพระ อุปชฌายนนถือวาเปรียบเสมือนผูพิพากษาซึ่งมีหนาที่พจารณาตัดสิน และชีถูกชี้ผดอีกดวย เมื่อ ั้ ิ ้ ิ พระอุปชฌายเปนผูมคุณสมบัติครบถวนดังกลาว จึงจะสามารถทําหนาที่ของตนไดอยางดี ไมเกิด ี ปญหาตาง ๆ ตามมาอีกในภายหลัง แตอยางไรก็ตาม แมวาพระพุทธองคจะทรงวางกฎกติกาไวแลวหลังจากเกิดเเรื่องขึ้น เกี่ยวกับการรับกุลบุตร แตความบกพรองผิดพลาดก็เกิดมีตามมาเปนระยะ ๆ เกิดเปนปญหาแก คณะสงฆสะสมเรื่อยมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ดังจะเห็นไดจากกุลบุตรทีเ่ ขามาบวชเปน พระภิกษุในสมัยปจจุบน มีกิริยาอาการแปลก ๆ มากมาย เชน มีรูปรางที่อวนเกินไปบาง ผอม ั เกินไปบาง ดําเกินไปบาง เตี้ยเกินไปบาง สูงเกินไปบาง มีรางกายพิกลพิการ คือ ตาบอด หู หนวก แขนขาด มือขาด เทาขาดบาง เปนโรครายแรงนารังเกียจบาง และเมื่อบวชเขามาแลว ประพฤติตนไมเหมาะไมควร เชน การแสดงกิริยาอาการแอยางคฤหัสถ คือทําตัวเหมือนชาวบาน ไมสมกับความเปนสมณภาวะ หรือแสดงออกในอาการทาทางที่ไมควร เชน เปนพระเกย, พระตุด  ,พระกะเทย เปนตน และในประเด็นนี้จะนํามากลาววิเคราะหในภายหลัง ซึ่งสิ่งตาง ๆ ที่กลาวมา นี้แมจะไมไดยกตัวอยางมาประกอบ แตก็คงจะสังเกตไดไมยากในสมัยปจจุบน และกุลบุตรผูเขา ั มาสูพระธรรมวินัยเหลานั้น ยอมจะทําแตความเสื่อมเสียโดยมาก เพราะพฤติกรรมนัน ๆ ไมนํามา ้ ซึ่งความเลื่อมใสแกผูพบเห็นเลย และในกรณีดังกลาวนี้ ถาพระอุปชฌายและพระสงฆทั้งมวลให ความเอาใจใสอยางเครงครัดตอกฎเกณฑตาง ๆ แมในการคิดเลือกเพื่อรับกุลบุตรเขามาบวชนั้น ก็จะไดแตเฉพาะบุคคลที่มีคุณสมบัตเิ พียบพรอมดีงาม มีกิริยาอาการนํามาซึ่งความเลื่อมใสแกผู พบเห็น เพราะวาคุณสมบัตตาง ๆ นั้นเมื่อพิจารณากันแลวจะเห็นไดวา มีความพอดีพองามไป ิ หมดทุกอยาง เชน ไมสูงหรือต่ําจนเกินไป ไมอวนหรือผมมจนเกินไป มีอวัยวะครบถวน ไมมี โรคติดตอรายแรง มีสติปญญาสมบูรณซึ่งสามารถที่จะพัฒนาตนเองไปสูแนวทางทีตนคาดหวังได  ่ ตามตองการ แตเพราะการณตาง ๆ ไมเปนไปตามพุทธประสงคนั่นเอง จึงเปนตนเหตุของปญหา ตาง ๆ มากมายขึ้นในวงการคณะสงฆ จนเกิดเปนปญหาที่เรื้อรังพอกพูนมากขึ้นเรื่อย ๆ จนยากที่ จะเยียวยาแกไข แตถาคณะสงฆโดยเฉพาะพระผูใหญที่มีหนาที่รับผิดชอบใหความเอาใจใสดูแล  และแกไขปญหากันอยางจริงจังแลว แมปญหาความยุงยากตาง ๆ จะยังคงมีอยูแตกจะคอย ๆ ็ หมดไปไดในที่สุด ทั้งนี้ขนอยูกบพระสงฆทุกฝาย รวมถึงหนวยงานตาง ๆ ที่มีหนาที่รับผิดชอบ ึ้ ั จะตองชวยกันแกไขปญหาตาง ๆ ทีเ่ กิดขึน ้
  • 7. 7 ๔. ขอหามการบรรพชาอุปสมบทในสมัยพุทธกาล สําหรับข้ อห้ ามการบรรพชาอุปสมบทในสมัยพุทธกาลนัน ยังคงใช้ สืบเนืองกันมาจนถึง ปั จจุบน มีหลักฐานต่างๆจากพระไตรปิ ฎกซึงนํามาเสนอพอสังเขปดังนี.- ั “ภิกษุทงหลาย ภิกษุไม่พึงยังกุลบุตรทีมารดาบิดาไม่ได้ อนุญาตให้ อปสมบท รูปใดให้ ั ุ อุปสมบท ต้ องอาบัติทกกฏ ฯ” ๑๔ ุ “ดูกรภิกษุทงหลาย ภิกษุผ้มิได้ รับการขอร้ อง ไม่พึงอุปสมบทให้ รูปใด อุปสมบทให้ ั ู ต้ องอาบัติทกกฏ. ดูกรภิกษุทงหลาย เราอนุญาตให้ ภิกษุผ้ ถกขอร้ องอุปสมบทให้ . ุ ั ูู ดูกรภิกษุทงหลาย ก็แลอุปสัมปทาเปกขะพึงขออย่างนี อุปสัมปทาเปกขะนัน พึงเข้ าไป ั หาสงฆ์ ห่มผ้ าเฉวียงบ่า ไหว้ เท้ าภิกษุทงหลาย นังกระหย่ง ประคองอัญชลี แล้ วกล่าวคํา ั ขออุปสมบทอย่างนีว่า ข้ าพเจ้ าขออุปสมบทต่อสงฆ์ เจ้ าข้ า ขอสงฆ์โปรดเอ็นดูยก ข้ าพเจ้ าขึนเถิด เจ้ าข้ า. พึงขอแม้ ครังทีสอง ... พึงขอแม้ ครังทีสาม ฯ” ๑๕ “ดูกรภิกษุทงหลาย กุลบุตรผู้ถกโรค ๕ ชนิด กระทบ เข้ าแล้ ว ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้ ั ู บวช ต้ องอาบัติทกกฏ ฯ” ๑๖ ุ “ดูกรภิกษุทงหลาย โจรทีขึนชือโด่งดัง ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้ บวช ต้ องอาบัติ ทุก ั กฏ ฯ” ๑๗ “ดูกรภิกษุทงหลาย โจรผูหนีเรือนจํา ภิกษุไม่ พึงให้บวช รูปใดให้บวช ต้องอาบัตทุก ั ้ ิ ๑๘ กฏ” “ดูกรภิกษุทงหลาย บุรุษผู้ถกลงอาญาเฆียน ด้ วยหวาย ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้ บวช ั ู ต้ องอาบัติทกกฏ” ๑๙ ุ “ดูกรภิกษุทงหลาย บุรุษผู้ถกลงอาญาสัก หมายโทษ ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้ บวช ต้ อง ั ู ๒๐ อาบัติทกกฏ” ุ ____________________ ๑๔ เรืองเดียวกัน. ๔/๑๑๙/๒๘๓. ๑๕ เรื่องเดียวกัน. ๔/๘๖/๑๖๙. ๑๖ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๑/๒๓๙. ๑๗ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๓/๒๔๗. ๑๘ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๔/๒๔๗. ๑๙ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๖/๒๓๙. ๒๐ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๗/๒๓๙.
  • 8. 8 “ดูกรภิกษุทงหลาย คนมีหนี ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้ บวช ต้ องอาบัติทกกฏ”๒๑ ั ุ “ดูกรภิกษุทงหลาย คนเป็ นทาส ภิกษุไม่พึงบวช รูปใดให้ บวช ต้ องอาบัติทกกฏ.” ๒๒ ั ุ “ดูกรภิกษุทงหลาย ภิกษุร้ ูอยู่ ไม่พึงให้ บุคคลมีอายุหย่อน ๒๐ ปี อุปสมบท รูปใดให้ ั อุปสมบท ต้ องปรับตามธรรม.” ๒๓ “ดูกรภิกษุทงหลาย เด็กชายมีอายุหย่อน ๑๕ ปี ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใดให้ บวช ต้ อง ั อาบัติทกกฏ ฯ” ๒๔ ุ “ดูกรภิกษุทงหลาย เราอนุญาตให้ บวชเด็กชาย มีอายุหย่อน ๑๕ ปี แต่สามารถไล่กาได้ ฯ๒๕ ั “ดูกรภิกษุทงหลาย ภิกษุไม่พงให้บณเฑาะว์ทยังไม่อุปสมบท ให้อุปสบท ทีอุปสมบท ั ึ ั ี ๒๖ แล้ว ให้สกเสีย ฯ” ึ “ภิกษุทงหลาย โจรทีถูกออกหมายจับ ไม่พึงให้ อปสมบท รูปใดให้ อปสมบท ต้ องอาบัติ ทุก ั ุ ุ กฏ ฯ ๒๗ “ดูกรภิกษุทงหลาย ภิกษุผ้ มิได้ รับการขอร้ อง ไม่พึงอุปสมบทให้ รูปใด อุปสมบทให้ ต้ อง ั ู อาบัติทกกฏ ฯ ดูกรภิกษุทงหลาย เราอนุญาตให้ ภิกษุผ้ ถกขอร้ องอุปสมบทให้ ”.๒๘ ุ ั ูู “ก็แล ภิกษุทงหลาย ภิกษุพึงถามอย่างนึว่า อาพาธเหล่านีคือโรคเรือน ฝี โรคกลาก โรค ั มองคร่อ ลมบ้ าหมู ของเจ้ ามีอยู่หรือ เจ้ าเป็ นมนุษย์หรือ เป็ นชายหรือ เป็ นไทหรือ ไม่มี หนีสินหรือ มิใช่ราชภัฏหรือ มารดาบิดาอนุญาตแล้ วหรือ มีปีครบ ๒๐ แล้ วหรือ บาตร จีวรของเจ้ ามีครบแล้ วหรือ เจ้ าชืออะไร อุปัชฌาย์ของเจ้ าชืออะไร ฯ” ๒๙ “ดูกรภิกษุทงหลาย ราชภัฎ ภิกษุไม่พึงให้ บวช รูปใด ให้ บวช ต้ องอาบัติทกกฏ.” ๓๐ ั ุ ____________________ ๒๑ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๘/๒๕๔. ๒๒ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๙/๒๕๙. ๒๓ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๑๑/๒๖๑. ๒๔ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๑๒/๒๖๕. ๒๕ เรื่องเดียวกัน. น. ๒๖๖. ๒๖ เรื่องเดียวกัน. ๔/๒๕/๓๐๘. ๒๗ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๕/๒๔๙. ๒๘ เรื่องเดียวกัน. ๔/๘๖/๑๖๙. ๒๙ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๔๒/๓๕๕. ๓๐ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๐๒/๒๔๕.
  • 9. 9 “ดูกรภิกษุทงหลาย ภิกษุไม่พึงบรรพชาคนมือด้ วน ฯลฯ รูปใดบรรพชาให้ ต้ องอาบัติ ั ทุกกฏ.” ๓๑ “ภิกษุทงหลาย อุปสัมบันคืออุภโตพยัญชนก ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ทีอุปสมบทแล้ ว ั ต้ องให้ สกเสีย” ๓๒ ึ “ภิกษุทงหลาย กุลบุตรทําร้ ายพระศาสดาจนห้ อพระโลหิต ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ที ั อุปสมบทแล้ ว พึงให้ สกเสีย ฯ” ๓๓ ึ “ภิกษุทงหลาย กุลบุตรฆ่าพระอรหันต์ ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ทีอุปสมบทแล้ ว พึงให้ สก ั ึ เสีย ฯ” ๓๔ “ภิกษุทงหลาย กุลบุตรฆ่าบิดา ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ทีอุปสมบทแล้ ว พึงให้ สกเสีย ฯ๓๕ ั ึ “ภิกษุทงหลาย สัตว์ดิรัจฉานภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ทีอุปสมบทแล้ ว พึงให้ สกเสีย ฯ๓๖ ั ึ “ภิกษุทงหลาย คนฆ่ามารดาภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ ถ้ าอุปสมบทแล้ ว ควรให้ สกเสีย ฯ๓๗ ั ึ ๓๘ “ภิกษุทงหลาย เราอนุญาตใหอุปสมบทกุลบุตร ผูมอายุ 20 นับในท้อง ฯ ั ้ ี “ดูก่อนภิกษุทงหลาย อนุปสัมบัน คือ บัณเฑาะก์ ภิกษุไม่พงให้ อุปสมบท ทีอุปสมบทแล้ วต้ องให้ สก ั ึ ึ ๓๙ เสีย” ____________________ ๓๑ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๓๕/๓๓๘ – ๓๔๐. ๓๒ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๓๒/๓๓๓. ๓๓ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๓๑/๓๓๐. ๓๔ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๓๐/๓๒๗. ๓๕ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๒๙/๓๒๖. ๓๖ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๒๗/๓๒๖. ๓๗ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๒๘/๓๒๖. ๓๘ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๑๔๑/๓๕๔ ๓๙ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๒๕/๓๐๘.
  • 10. 10 จากขอหามในการบรรพชาแปสมบทในสมัยพุทธกาลนั้น เปนกฎกติกาทีพระพุทธองคทรง ่ ตั้งไวเปนเกณฑใหถือปฏิบัติอยางเครงครัด โดยมีบทลงโทษทีเ่ รียกวาอาบัติแกผูฝาฝนไมปฏิบัติ ตามโดยเฉพาะพระอุปชฌาย แตเมื่อกลาวโดยหลักการแลว พระพุทธเจาไดมอบอํานาจความ  เปนใหญในการตัดสินใจในเรื่อง ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นนันแกสงฆ ไมวาเรื่องใด ๆ ก็ตาม รวมถึงเรื่องการ ้ รับบุคคลทีจะเขามาบวชดวย ่ และจะสังเกตเห็นไดวา ขอหามการใหบรรพชาอุปสมบทที่มีมาแตครั้งพุทธกาลนั้น แมจะ ยังคงถือปฏิบัติมาตามลําดับก็ตามที แตเปนการยึดถือปฏิบัติในลักษณะตามรูปแบบ หรือที่ เรียกวาเนนใหเปนพิธีกรรมเทานั้นเอง แตไมไดใสใจในเนื้อหาความสําคัญสักเทาใด เชน การ สวดถามอันตรายิกธรรม ๑๓ ขอ ซึ่งเปนวิธีการสอบถามเพื่อหาความเปนจริงเกียวกับคุณสมบัติ ่ ของผูที่จะขอบวชวามีครบหรือไม เชน เปนโรคเรื้อน ฝ โรคกลาก โรคมองครอ ลมบาหมู หรือไม หรือเปนมนุษยหรือไม เปนชายหรือไม เปนไทหรือไม เปนหนี้สินหรือไม เปนขาราชการ คือติดราชการอยูหรือไม มารดาบิดาอนุญาตหรือยัง มีอายุครบ ๒๐ ปหรือยัง มีบาตรและจีวร ครบหรือไม มีชื่อวาอะไร และอุปชฌายชื่ออะไร ดังนี้ เปนการสอบถามเพื่อสัมภาษณหาความ จริงเพื่อยืนยันความบริสุทธิใจนั่นเอง ์ แตในทางปฏิบัติในยุคสมัยปจจุบนเปนเพียงการทําตามระเบียบพิธีที่วางไวเทานั้น เพราะ ั ในการสอบถามอันตรายิกธรรม (อันตรายที่จะเกิดมีตอผูจะบวช) เปนการกลาวเปนภาษาบาลี ซึ่งไมไดแปลเปนภาษาไทยใหมีความเขาใจ เมื่อกลาวเฉพาะภาษาบาลีก็ทําใหผูขอบวชเองไมมี ความเขาใจ หรือแมแตผถามเองก็ไมมีความเขาใจดวยซ้ําไป ในบางกรณีเมื่อผูขอบวชตอบ ู คําถามผิด เชน เมื่อถูกถามวา “มนุสฺโสสิ” แตผูขอบวชตอบวา “นตฺถิ ภนฺเต” ซึ่งเปนคําตอบที่ ไมถูกตอง ผูสอบถามก็มักจะบอกใหตอบใหมวา “อาม ภนฺเต” ดังนี้เปนตน และมีรายละเอียด อีกหลายเรื่องทีถือปฏิบัติกนมาโดยถือหรือเนนใหเปนเฉพาะพิธีเทานัน ไมไดเนนเพื่อใหผูบวชไดมี ่ ั ้ ความรูความความเขาใจอยางถูกตอง สาเหตุในเรื่องดังกลาวนี้ อาจเปนเพราะ ๑. ขาดการเอาใจใสจากพระอุปชฌายเอง ๒. พระอุปชฌายขาดคุณสมบัติ ไมมีความรูความสามารถเพียงพอ ๓. พระสงฆขาดการเอาใจใสดูแลอยางจริงจัง ๔. ยึดถือปฏิบัตเิ นนเฉพาะพิธกรรมมากเกินไป ไมเนนเนื้อหาสาระ ี ๕. มุงไปที่ลาภสักการะเปนสวนใหญ ที่กลาวมานี้ผูวิจย ไมไดกลาวถึงเหตุการณ ที่เกิดขึ้น ณ จุดใดจุดหนึงเทานั้น แตกลาวถึง ั ่ โดยมองเปนภาพรวม คือโดยสวนมากทีเ่ ห็นปรากฏในยุคสมัยปจจุบัน แตมิใชวาจะเกิดขึ้นกับทุก ที่ทุกแหง ที่ ๆ ยึดถือพระธรรมวินัยเปนสําคัญก็ยังมีปรากฏใหเห็นพอสมควร
  • 11. 11 ๕. เกณฑการรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในยุคปจจุบัน ๕.๑ ขอแตกตางของการอุปสมบททั้ง 2 ยุค ในปัจจุบนั ผู้ทีมีบทบาทสําคัญทีสุดในการรับกุลบุตรเพืออุปสมบทเป็ นพระภิกษุใน พระพุทธศาสนา คือ พระอุปัชฌาย์ แต่ท่านเหล่านันยังคงยึดถือธรรมเนียมปฏิบติตามพระธรรม ั วินยอย่างเคร่งครัด เพราะถือว่าพิธีอปสมบทกุลบุตรเพือเป็ นพระภิกษุนน เป็ นพิธีกรรมทีสําคัญ ั ุ ั ทีสุดอย่างหนึง แต่เนืองจากจุดมุงหมายของการบวชในสมัยพุทธกาลกับในปั จจุบนมีข้อแตกต่างกัน คือ ่ ั สาเหตุทีกุลบุตรในสมัยพุทธกาลทังยุคต้ น ยุคกลาง และหลังจากพุทธปรินิพพานไม่นาน ออกบวช เพราะเลือมใสในพระพุทธศาสนา เพือศึกษาพระธรรมวินยและสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา ั ส่วนกุลบุตรในปัจจุบน อุปสมบทโดยมีสาเหตุหลักดังนีคือ.- ั ๑) เพือศึกษาพระธรรมวินย และศึกษาวิชาการทังทางคดีโลก คดีธรรม ั ๒) เพือทดแทนคุณบุพการีตามความเชือทีสืบทอดกันมา ๓) เพือประพฤติปฏิบติตามประเพณีตามความเชือทีสืบทอดกันมา ั ๔) เพือดําเนินชีวิตในช่วงบันปลาย อีกประการหนึงทีการอุปสมบททัง ๒ ยุค แตกต่างกันคือ ระยะเวลาของการบวช การบวช ในสมัยพุทธกาลนัน ส่วนใหญ่จะเป็ นการบวชแบบถวายชีวิตในพระศาสนา (สาสเน อุรํ ทตฺวา) ส่วนการบวชในปัจจุบน เนืองจากสถานการณ์ทางสังคม ประเพณี วัฒนธรรมเปลียนไป ทําให้ ผ้ ู ั ขออุปสมบทกลายเป็ นผู้กําหนดระยะเวลาของการบวชของตน ด้ วยตนเอง ๖. การอุปสมบทในยุคปจจุบัน กฏเกณฑ์บางข้ อไม่สามารถนํามาเป็ นตัวกําหนดในสถานการณ์ปัจจุบน เช่นอันตรายิกธรรม ั บางข้ อ คือ -โลหิตปบาท ทําร้ ายพระพุทธเจ้ าจนพระโลหิตห้ อขึนไป ุ -อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์ -สังฆเภท ยุยงสงฆ์ให้ แตกกัน -ผู้ เป็ นอุภโตพยัญชนก (คน ๒ เพศ) ส่วนข้ อปฏิบติทีพระอุปัชฌาย์ในปัจจุบนยังคงยึดถืออย่างเคร่งครัด คือ อันตรายิกธรรมทีใช้ ั ั ถามในเวลาอุปสมบท คือ.- กุฏฺ ฐํ โรคเรือน คณฺโฑ ฝี
  • 12. 12 กิลาโส โรคกลาก โสโส โรคมองคร่อ อปมาโร ลมบ้ าหมู มนุสฺโส เป็ นมนุษย์ ปุริโส เป็ นชาย ภุชิสฺโส เป็ นไท อนโณ ไม่มีหนีสิน น ราชภโฏ มิใช่ราชภัฏ อนุ ฺญาโต มาตาปิ ตูหิ มารดาบิดาอนุญาตแล้ ว ปริปณฺณวีสติวสฺโส ุ มีปีครบ ๒๐ แล้ ว ปริปณฺณํ ปตฺตจีวรํ ุ บาตรจีวรมีครบแล้ ว๔๐ และสืบเนืองจากสาเหตุข้างต้ น ทําให้ กฎเกณฑ์ในการรับกุลบุตรเพืออุปสมบทบางข้ อ ถูกลดความสําคัญหรือได้ รับการยกเว้ น เช่น.- -บุคคลผู้มีอาการไม่ครบ ๓๒ -บุคคลผู้เป็ นราชภัฏ(ข้ าราชการ) เพราะสามารถลาอุปสมบทได้ โดยมีกําหนดระยะเวลา -บุคคลผู้มีหนี -บุคคลผู้เป็ นโจรทีถูกออกหมายจับ เพราะไม่สามารถตรวจสอบได้ โดยละเอียด -บุคคลผู้เป็ นบัณเฑาะว์ -ผู้ เป็ นโรคเรื อน -ผู้ เป็ นฝี -ผู้ เป็ นกลาก -ฯลฯ กรรอุปสมบทในสมัยปจจุบัน ดังไดกลาวมาแลววา สวนมากจะยังคงยึดถือปฏิบัติตามพิธีคือเนน ไปในทางพิธกรรมเสียเปนสวนมาก จึงทําใหเกิดมีปญหาตาง ๆ มากมายขึ้นในสังคมสงฆ เชน ี  กรณีที่มกะเทยหรือสาวประเภทสองเรียกรองสิทธิในการบวชพระ หรือผูที่มีลกษณะโนมเอียงไป ี ั ทางเพศหญิงและไดเขามาบวชในพระพุทธศาสนาก็มีปรากฏใหเห็นกันอยางดาษดื่น โดยเฉพาะ ในวัดเขตเมืองหลวง และบุคคลดังกลาวเมื่อบวชเขามาแลว มักจะประพฤติตัวไมเหมาะสมแก สมณสารูป คือไมไดคํานึงถึงเพศความเปนพระ และเมื่อมีการเกาะกลุมรวมตัวกันไดก็จะ แสดงออกดวยกิริยาอาการแปลกประหลาด ทําใหเสื่อมเสียแกวงการคณะสงฆอยางยิ่ง เพราะ เปนภาพที่ไมนาดูนามองแกผูพบเห็น และบุคคลเหลานี้เมื่อกลาวตามพระวินัยนัน ไมมีคุณสมบัติ ้ ที่จะบวชไดดวยเลย หรือเมื่อรูภายหลังวาเปนกะเทยหรือบัณเฑาะก ก็ตองรีบใหสกดวยซ้ําไป  ึ
  • 13. 13 แตเนื่องจากปจจุบน เปนเพราะการขาดการเอาใจใสดแลและละเลยของคณะสงฆ หรือไมได ั ู แกปญหาอยางจริงจัง จึงทําใหเกิดปญหาเกี่ยวกับเรื่องนี้ขึ้นมากมาย จนยากที่จะแกไขเยียวยา ดังมีเรื่องปรากฏตามสื่อตาง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องพระเณรที่เปนตุดเกยมากมาย ซึ่งผูวจัยไดนํามา ิ ประกอบไวเพื่อใหเปนกรณีศึกษาแกผที่มีหนาทีเ่ กี่ยวของในเรื่องนี้ดวย ู และผูวิจัยไดวิเคราะห  สาเหตุและเสนอทางแกไขไวดวยคือ สาเหตุของปญหาคือ- ๑) ระบบการอุสมบทหยอนยาน ๒) พระอุปชฌายไมเอาใจใสอันเตวาสิก ๓) การปกครองของคณะสงฆในปจจุบน สวนมากเปนระบบอุปถัมภ ั ๔) ระบบการปกครองคณะสงฆไมเขมแข็ง ๕) เจาอาวาสขาดการเอาใจใส ๖. พระเณรดวยกันเองไมวากลาวตักเตือน แนวทางแกไข ๑) พระอุปชฌายและผูเ กี่ยวของตองเขมแข็งและเอาใจใสอยางจริงจัง ๒) ปรับระบบการปกครองคณะสงฆใหเขมแข็งกวาทีเ่ ปนอยู ๓) พระสงฆทกรูปตองรวมมือใหการเอาใจใสในการแกไขปญหา ุ ๔) เจาอาวาสและผูที่เกี่ยวของตองมีความเขมงวดมากยิ่งขึน้ ๕) เมื่อมีอธิกรณเกิดขึ้นคณะสงฆตองรีบเขาไปแกไขอยางทีนทวงที ๖) ไมปลอยใหปญหาตาง ๆ ทีเ่ กิดขึนเรื้อรัง จนยากที่จะเยียวยา  ้ ซึ่งตามทีกลวมานี้ เปนเพียงแนวทางหนึ่งเทานั้น ยังมีวิธการอีกหลายแนวทางที่จะทําใหเรื่องไมดี ่ ี ไมงามตาง ๆ ที่เกิดขึ้นใหสงบไดอยางเรียบรอย ซึงเปนหนาที่ของทุกฝายที่เกียวของจะตอง ่ ่ ชวยกันดูแลอยางจริงจัง และยังมีบางข้ อทีให้ ความสําคัญมากขึนเกียวกับเกณฑ์การับกุลบุตรทีทางคณะสงฆ์ได้ ถือ ปฏิบติกนในปัจจุบน คือ บุคคลทีเป็ นโรคติดต่อร้ ายแรง โดยในปั จจุบนให้ ความสําคัญไปที โรค ั ั ั ั ภูมิค้ มกันบกพร่อง (AIDS) โดยผู้ทีขออุปสมบทจะต้ องเข้ ารับการตรวจเลือดและมีใบรับรองจาก ุ แพทย์วาไม่เป็ นโรคดังกล่าวมาแสดงกับพระอุปัชฌาย์ด้วย ่ ____________________ ๔๐ เรื่องเดียวกัน. ๔/๑๔๒/๓๕๕.
  • 14. 14 สรุป หากจะเปรียบเทียบเกณฑ์การรับกุลบุตรเพืออุปสมบทในพระพุทธศาสนาในยุคพุทธกาล และหลังพุทธกาล ย่อมมีข้อเหมือนกันและแตกต่างกัน วัฒนธรรมทางสังคมทีเปลียนไปทําให้ กฏ ระเบียบข้ อบังคับต่างๆ ด้ อยลงไปบ้ าง ในปัจจุบนมหาเถรสมาคมหรือตัวพระอุปัชฌาย์เองก็ตงกฏ ั ั ขึนมาอีกชันหนึงสําหรับผู้อปสมบทเพือปองกันอธิกรณ์อนจะเกิดขึนแก่คณะสงฆ์ แก่พระอาราม ุ ้ ั และแก่ตวพระอุปัชฌาย์เอง ซึงถือว่าเป็ นกติกาอันชอบธรรม แต่คําสังสอนของพระพุทธเจ้ าเป็ นอ ั กาลิโก ไม่จํากัดกาลเวลา ทําให้ พระเถระรุ่นหลังยังคงยึดถือธรรมเนียมปฏิบติในเรืองของการ ั อุปสมบทอย่างเคร่งครัด เพราะเป็ นพิธีกรรมทีสําคัญอย่างหนึง อุปัชฌาย์ผ้ เู คร่งครัด ย่อมยึดเอา พระวินยโดยอุกฤษฏ์ ั การบวชพระในพระพุทธศาสนา ถ้ าผู้บวชชวชด้ วยความเต็มใจและตังใจศึกษาพระธรรม วินยทีพระพุทธเจ้ าทรงแสดงสังสอนไว้ แม้ จะเป็ นระยะเวลาสัน ๆ ๑๕ วัน หรือ ๑ พรรษา ั คุณประโยชน์ของการชวชจะปรากฏให้ เห็นในภายหลัง เมือผู้บวชลาสึกไปดําเนินชีวิตตามปกติ ด้ วยการน้ อมนําหลักธรรมมาเป็ นแนวทางปฏิบติตนเพือนําพาชีวิตไปสูความสุขตามกําลังภูมิธรรม ั ่ ของตน ด้ วยเหตุนีบรรพชนไทยจึงยกย่องผู้ผานการบวชมาจึงเรียกว่าเป็ น “บัณฑิต” เป็ นผู้มี ่ ความรู้ ซึงคําว่าบัณฑิตนีคงถูกเรียกแผลงมาเป็ นคําว่าฑิดในปัจจุบน ั ดังทีกล่าวไปแล้ วว่า ในยุคต้ นพุทธกาลนัน ไม่มีกฏเกณฑ์ใดทังสินในการรับอุปสมบท แต่ เมือมีผ้ ทําผิด ทําให้ ผ้ อืนเดือดร้ อนมากขึน ข้ อห้ ามย่อมมากขึนตามไปด้ วย พระองค์จึงทรงบัญญัติ ู ู กฏการอุปสมบทไว้ เพือความอยู่ผาสุขของพระสงฆ์ เพือความเรียบร้ อยดีงามแห่งสงฆ์ เช่นเดียวกับการบัญญัติพระวินยทัง ๒๒๗ ข้ อ เป็ นต้ น เมือกาลเวลาผ่านไปกฏต่างๆก็มีมากอย่าง ั ทีปรากฏอยู่ในพระวินยและในรายงานฉบับนี. ั
  • 15. 15 บรรณานุกรม หนังสือภาษาไทย เทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พระ. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ . พิมพ์ครังที ๖. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๒๓. บรรจบ บรรณรุจิ. “การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรืองอสีติมหาสาวกกับการบรรลุธรรม” วิทยานิพนธ์- มหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒. มหามกุฎราชวิทยาลัย. พระไตรปิ ฎกและอรรถกถาแปล ๙๑ เล่ม. พิมพ์ในวโรกาสฉลองกรุงรัตนโก- สินทร์ ๒๐๐ ปี . กรุงเทพฯ: เฉลิมชาญการพิมพ์, ๒๕๒๕. ___________ . ตติยสมันตปาสาทิกา แรรถกถาพระวินย. พิมพ์ครังที ๑๑. กรุงเทพฯ: โรง- ั พิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗. มหาสมณเจ้ า. กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. พระ. สมเด็จ. สารานุกรมพระพุทธศาสนา. กรุงเทพ”: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: นามมีบ๊ คส์พบลิเคชันส์, - ุ ั เคชันส์ จํากัด, ๒๕๔๒.
  • 16. 16 ภาคผนวก เรื่องพระเณรที่เปนตุด-เกย จากข่าวทีเกย์ ตุ๊ด เข้ ามาบวชในพระพุทธศาสนามากขึน ทําให้ เป็ นทีลําบากใจของฝ่ าย ปกครองสงฆ์ เพราะพระตุ๊ด พระเกย์ ทีเข้ ามา บวชแล้ ว ประพฤติดีก็มีอยู่ จนทําให้ ต้องมีการหา ข้ อมูล เพือกําหนด กรอบความประพฤติของพระ ทีมีพฤติกรรม เบียงเบนทางเพศเหล่านี จะหากรอบอย่างไร? หรือน่าจะยกออกนอกกรอบไปเลย! จึงจะถูกต้ องตามพระธรรมวินยมากกว่า ั คงต้ อง มาพิจารณาเนือหา จากข่าวของ หนังสือพิมพ์ "คม ชัด ลึก"ฉบับวันที ๑๓ ก.ค. ๔๖ ซึงได้ พาดหัวข่าว และ มีเนือข่าวดังนี เกย์ลามถึงเจ้ าวัด ตังคูขาเป็ นเลขาฯ "พระเกย์"โผล่อีก ชาวเมือง ่ เชียงใหม่ร้องพฤติกรรมฉาว แฉเป็ นระดับพระชันผู้ใหญ่ตงแต่พระครู-เจ้ าอาวาส ยันพระหนุ่ม เผย ั บางรายตัง "คูขา" เป็ นเลขาฯ คนขับรถ เพือบังหน้ า ตกดึกแอบย่องเข้ าไปตุยกันในกุฏิ จนติดเอดส์ ่ ๋ ตาย หลังจาก "คม ชัด ลึก"ได้ รับการร้ องเรียนถึงพฤติกรรมพระเกย์ในวัดต่างๆ ทังจังหวัดลําพูน และจังหวัดเชียงใหม่ จํานวนมาก ซึงพระดังกล่าว มีพฤติกรรม เบียงเบนทางเพศ และสร้ างความ เสือมเสีย ให้ แก่พทธศาสนา จนกระทัง คณะกรรมการปกครองสงฆ์ จังหวัดเชียงใหม่ ได้ หา ุ มาตรการปองกัน โดยเตรียม จัดระเบียบพระสงฆ์ ให้ มความประพฤติ เหมาะสมกับสมณวิสย แต่ ้ ี ั ยังไม่ทน ทีจะกําหนด มาตรการ เพือแก้ ปัญหา ดังกล่าว ล่าสุด ได้ มีผ้ รู้ องเรียน เกียวกับพฤติกรรม ั ทีไม่เหมาะสม ของพระ-เณรทีมีพฤติกรรม เป็ นพระเกย์อกแล้ วี สําหรับพฤติกรรมของพระเกย์รายนี ได้ ถกเปิ ดเผยจากชาวบ้ านในจังหวัดเชียงใหม่ ทีได้ ร้องเรียน ู ความประพฤติ ของกลุม พระเกย์ ตามวัดต่างๆ ในจังหวัดเชียงใหม่ ซึงหลังจากตรวจสอบ "คม ชัด ่ ลึก"ก็พบว่า พฤติกรรม ดังกล่าวมีจริง พระสงฆ์รูปหนึงทีมีพฤติกรรมเป็ นเกย์ก็ยอมรับว่า พระเกย์มี จริง โดยส่วนใหญ่จะเป็ นพระทีมีอายุมากแล้ ว ซึงมีทง ระดับพระครู ไปจนถึงเจ้ าอาวาสหลายวัดใน ั จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนียังมีพระเกย์บางรูป ทีจ้ าง ให้ คขา มาเป็ นคนขับรถ หรือเลขาฯ ส่วนตัว ู่ เพือเป็ นการบังหน้ า แต่พอตกดึก หรือตอนทีไม่มีใครอยู่ ก็แอบย่อง เข้ าไป มีเพศสัมพันธ์กนในกุฏิ ั นายชัยมงคล แก้ วมา คนขับรถประจําตัวเจ้ าอาวาสแห่งหนึงในจังหวัดเชียงใหม่ยอมรับว่า มีพระ เกย์ ทีให้ คขา คนสนิท มาเป็ นเลขาฯ คอยช่วยงานและเป็ นคนขับรถให้ จริง ซึงเรืองดังกล่าวมีมา ู่ นานแล้ ว แต่ไม่มีใคร อยากเข้ าไป เกียวยุงด้ วย และพฤติกรรมพระเกย์ประเภทมีรกร่วมเพศ ก็สงผล ่ ั ่ ให้ พระสงฆ์หลายรูป ติดเชือเอดส์ จนเสียชีวิต ไปแล้ วหลายรูป อย่างเช่น พระสงฆ์รูปหนึง ในวัด ย่านถนน ราชภาคินย ในตัวเมือง เชียงใหม่ ทียังคง รักษาตัวอยู่ ด้ านนายวัลลภ นามวงศ์พรหม ั กรรมการปกครองสงฆ์ (ฝ่ ายฆราวาส) จังหวัดเชียงใหม่กล่าวว่า สําหรับ พระสงฆ์ และสามเณร ทีมี พฤติกรรมเป็ นพระเกย์ หรือตุ๊ด พบว่ามีการรวมกลุมกัน โดยส่วนใหญ่ จะเป็ น สามเณร ตามวัด ่
  • 17. 17 ต่างๆ ทีไปเรียนตามโรงเรียนพระปริยติธรรมโดยทราบว่ามีการตังชือกลุมว่า "เจ้ าหญิง" ด้ วย ซึงทํา ั ่ ความเสือมเสีย ให้ แก่สมณเพศเป็ นอย่างยิง แต่ก็เข้ าใจว่า บางคนเป็ นเกย์-ตุ๊ด มาตังแต่เกิด ทําให้ แก้ ไขไม่ได้ "พระตุ๊ ดและพระเกย์ทีมีอยู่ในปั จจุบน มีหลายรูปทีมีความรู้ความสามารถ ประพฤติ ั ตนเป็ นประโยชน์ แก่พระพุทธศาสนา ไม่วาจะเป็ นพระนักเทศน์ชือดัง พระนักพัฒนา รวมถึงเป็ น ่ พระครู และพระอาจารย์ ทีคอย ให้ ความรู้ แก่พระนิสต จึงอยากจะให้ สงคม ช่วยพิจารณาให้ ดี ิ ั มิฉะนัน อาจทําให้ พระ ทีมีความประพฤติดี เสียกําลังใจได้" นายวัลลภกล่าว ทางด้ านพระญาณสมโพธิ เจ้ าคณะ อ.เมืองเชียงใหม่ กล่าวว่า ขณะนีคณะกรรมการสงฆ์ ทังฝ่ าย สงฆ์ และ ฝ่ ายฆราวาส กําลังรวบรวมข้ อมูลและมีการศึกษา เพือเตรียมทีจะมีการกําหนดกรอบ ความประพฤติของพระ ทีมีพฤติกรรม เบียงเบนทางเพศเหล่านี ไม่วาจะเป็ นพระตุ๊ด หรือพระเกย์ ่ โดยจะมีการกําหนด ถึงระดับ ของความเหมาะสม ในการประพฤติตน ซึงหากเกินระดับทีมีการ กําหนดไว้ ก็จะต้ องมีการกําหนดโทษต่อไป ถ้ าพิจารณาผิวเผินก็อาจทําให้ คิดได้ วา การมีพระเกย์ พระตุ๊ดทีมีความรู้ ความสามารถ เป็ นทังพระ ่ ครู พระนักพัฒนา และพระนักเทศน์ชือดังน่าจะเป็ นผลดีตอพุทธศาสนา แต่หารู้ไม่วา บุคคลเหล่านี ่ ่ เป็ นอันตราย ต่อพุทธศาสนา อย่างยิง จัดอยูในหมวดบุคคลทีต้ องห้ ามเข้ ามาบวช อันได้ แก่พวกทํา ่ อนันตริยกรรมทังหลาย เช่น ฆ่าพ่อ ฆ่าแม่ ฆ่าพระอรหันต์ ทําร้ ายภิกษุณี และทําร้ ายพระพุทธเจ้ า บุคคลเหล่านี แม้ จะได้ ผานการบวช มาแล้ ว หากรู้ในภายหลัง พระพุทธองค์กทรงให้ จบสึกเสีย ่ ็ ั เพราะถือว่า เป็ นผู้ไม่สามารถเจริญงอกงาม ในธรรมวินย ของ พระพุทธองค์ได้ อีกแล้ ว ั ในกรณีพวกทีมีพฤติกรรมเบียงเบนทางเพศนัน ถือเป็ นความวิปริตผิดธรรมชาติอย่างยิง เพราะ ปกติของ การเสพกามนัน เป็ นธรรมชาติของมนุษย์ทีต้ องการจะสืบต่อเผ่าพันธุ์ให้ ดํารงอยู่กนต่อไป ั แต่ความต้ องการ เสพกาม ระหว่างเพศเดียวกัน มันเป็ นเรืองของกิเลสสดๆ โดยตรง ทีต้ องการเสพ รูป รส กลิน เสียง สัมผัส อย่างเดียว โดยไม่เกียวข้ องกับเรืองของการสืบต่อเผ่าพันธุ์ อันเป็ นเรือง ของธรรมชาติแต่อย่างใด ในสมัยพุทธกาลเคยมีนาคซึงเป็ นสัตว์เดรัจฉานปลอมตัวมาบวช แต่เมือ เผลอตัวหลับไป ในคืนวันหนึง จึงเผยเกล็ด เผยหงอน ให้ เพือนพระได้ เห็นเข้ า เมือพระพุทธเจ้ าทรง ทราบเรืองราวทีเกิดขึน ก็ให้ พระนาค ซึงเป็ นเดรัจฉาน ห้ ามบวช สึกออกไปทันที ซึงในทํานอง เดียวกับพระตุ๊ดพระเกย์ เมือใดทีแสดงอาการ ผิดปกติ ออกมาให้ ปรากฏ ด้ วยกิริยาท่าทาง กระตุ้งกระติงก็ดี หรือการแสดงออก ซึงความกําหนัด ยินดีตอเพือนภิกษุ หรือ สามเณร ด้ วยกัน ่ เมือชัดเจนว่าเป็ นตุ๊ด เป็ นเกย์แน่แล้ ว ก็ควรจัดการให้ สกทันที ไม่ควรต้ องไปพิจารณา หากรอบ ที ึ เหมาะสมให้ พระเกย์พระตุ๊ดปฏิบติ มิฉะนัน อาจทําให้ พระทังวัด เสียความบริสทธิ เพราะถูกตุ๊ด ั ุ ข่มขืน เลยพากันปาราชิก ไปหมดวัดเลยก็ได้ (เราคิดอะไร ฉบับที่ ๑๕๘ กันยายน ๒๕๔๖)
  • 18. 18