SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 38
Downloaden Sie, um offline zu lesen
2                     3      ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต




    ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม
                หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
2                                            3      ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

                             ชมรมกัลยาณธรรม
                                                                                                                     ม
                                                                                                                าณธรร
                             หนังสือดีล�ำดับที่ ๙๘


ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
                                                                                                  คำนำจากชมรมกลย
                                                                                                   ค น        ั
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

พิมพ์ครั้งที่ ๑			           พฤศจิกายน ๒๕๕๒
                                                                             ถ้าได้มีโอกาสศึกษาชีวประวัติของพระเถรานุเถระ บูรพาจารย์
จำ�นวนพิมพ์ 			              ๕,๐๐๐ เล่ม                               มาแล้วในจ�ำนวนมาก เราจะเห็นได้ประการหนึงว่า พระอริยสาวกทังหลาย
                                                                                                                 ่               ้
จัดพิมพ์โดย			               ชมรมกัลยาณธรรม                           ดังกล่าวมานี้ เต็มไปด้วยภูมิธรรม ภูมิปัญญา งดงามด้วยศีลาจริยาวัตร
				                         ๑๐๐ ถนนประโคนชัย ตำ�บลปากน้ำ�            คู่ควรแก่ความเลื่อมใสศรัทธาเหนือเกล้าเหนือเศียรแก่สานุชนทั้งหลาย
				                         อำ�เภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐
				                         โทรศัพท์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๖๓๕-๓๙๙๘     เป็นอย่างยิ่ง
ภาพปก/ภาพประกอบ	             เซมเบ้
จัดรูปเล่ม			                คนข้างหลัง                                      เราจะเห็นว่า  พระอริยสงฆ์  บูรพคณาจารย์ที่เราน้อมศรัทธา
แยกสี 				                   canna graphic โทร. ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑          ทั้งหลายนั้น หลายท่านมีพ่อแม่ครูบาอาจารย์ที่อบรมธรรมให้พวกท่าน
จัดพิมพ์โดย 			              บริษัท ขุมทองอุตสาหกรรมการพิมพ์ จำ�กัด
				                         ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓                            ทั้งหลาย ชื่อของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ นับเป็นพระอาจารย์
                                                                      สุดยอดพระนักกัมมัฎฐาน ที่มีลูกศิษย์ลูกหาทั่วประเทศ
                               สัพพทานัง ธัมมทานัง ชินาติ                    ท่านเป็นต้นแบบ เป็นยอดของพระอริยสงฆ์ในสายวิปัสสนา ที่
                        การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ทั้งปวง       พวกเราควรศึกษาเป็นแบบอย่างในแนวทางปฏิปทาอันสละชีวิตอุทิศเพื่อ
                                www.kanlayanatam.com
4   ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม              5     ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต

พระธรรมเป็นอย่างยิ่ง การบ�ำเพ็ญเพียรธรรมของท่านถือเป็นแบบอย่าง
อันอุกฤษฏ์และมุ่งมั่น ท่านสามารถหยั่งรู้ถึงกรรมและหยั่งรู้ถึงจิตใจ
ของเหล่าสรรพสัตว์น้อยใหญ่อย่างลึกซึ้ง ตลอดจนสามารถพูดคุยกับ
สิงสาราสัตว์ต่างๆ เป็นที่เข้าใจได้ ธรรมะหรือบทธรรมที่ออกมาจากปาก
ของท่าน ช่างจับจิตจับใจของสาธุชนเป็นอย่างยิ่ง                                                    สารบัญ
       ท่านคือ พระอริยสงฆ์ทยงใหญ่ทสดในยุคสมัยหนึง ทียากจะหาใคร
                              ี่ ิ่   ี่ ุ           ่ ่
เทียบเทียมได้ ท่านคือ เอกองค์บูรพาจารย์ ผู้มุ่งการบ�ำเพ็ญเพียรภาวนา             ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า                                           นมตฺถุ สุคตสฺส ปญฺจ ธมฺมขนฺธานิ                      ๗
       เนื่องในมงคลวาระ ครบรอบ ๖๐ ปี แห่งการละสังขาร ของท่าน                    ทาน ศีล ภาวนา                                       ๒๕
พระอาจารย์มน ภูรทตตเถระ ในพุทธศักราช ๒๕๕๒ ชมรมกัลยาณธรรม
              ั่ ิ ั
ขอจัดพิมพ์หนังสือขันธะวิมุติสะมังคีธรรมเล่มนี้ เพื่อแจกเป็นธรรมทาน              คนดีมีศีลธรรม                                       ๓๙
น้อมถวายแด่องค์บรพาจารย์ ด้วยความเคารพศรัทธาเหนือเศียรเกล้า หวัง
                  ู                                                             สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม                           ๔๗
อานิสงส์ในธรรมทานนี้ จักได้เกื้อกูลเหล่าสรรพสัตว์ผู้แสวงหาหนทาง                 อานิสงส์ของการรักษาศีล ๕                            ๕๕
พ้นทุกข์ ให้พบแสงสว่างแห่งปัญญา ตามรอยพระพุทธองค์และพระอริย
สงฆ์สาวกทั้งหลายทั่วกันเทอญ                                                     วิธีปฏิบัติของผู้เล่าเรียนมาก                       ๖๑
                                        ชมรมกัลยาณธรรม
                                                                                คติธรรมค�ำสอน                                       ๖๕
6                            7     ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต




          ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมะ
      นมตฺถุ สุคตสฺส ปญฺจ ธมฺมขนฺธานิ
         ข้าพเจ้าขอนอบน้อมซึ่งพระสุคต  บรมศาสดาศากยมุนี
    สัมมาสัมพุทธเจ้า แลพระนวโลกุตตรธรรม ๙ ประการ และอริยสงฆ์
    สาวกของพระพุทธเจ้านั้น

         บัดนี้ ข้าพเจ้าจักกล่าวซึ่งธรรมขันธ์  โดยสังเขปตามสติ
    ปัญญาฯ

          ยังมีท่านคนหนึ่งรักตัวคิดกลัวทุกข์  อยากได้สุขพ้นภัย
    เทียวผายผัน  เขาบอกว่าสุขมีทไหนก็อยากไป  แต่เทียวหมันไปมา
       ่                        ี่                 ่ ่
8   ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                             9     ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


อยู่ช้านาน  นิสัยท่านนั้นรักตัวกลัวตายมาก  อยากจะพ้นแท้ๆ                        ทุกข์ไม่ม  คือกายคตาสติภาวนา  ชมเล่นให้เย็นใจหายเดือดร้อน
                                                                                         ี
เรื่องแก่ตาย  วันหนึ่งท่านรู้จริงซึ่งสมุทัยพวกสังขาร  ท่านก็ปะ                  หนทางจรอริยวงศ์  จะไปหรือไม่ไปฉันไม่เกณฑ์  ไม่หลอกเล่น
ถ�้ำสนุกสุขไม่หาย  เปรียบเหมือนดังกายนี้เองฯ                                    บอกความให้ตามจริง

        ชะโงกดูถ�้ำสนุกทุกข์คลาย  แสนสบายรู้ตัวเรื่องกลัวนั้นเบา                      แล้วกล่าวปริศนาท้าให้ตอบ
ด�ำเนินไปเมินมาอยู่หน้าเขา  จะกลับไปป่าวร้องซึ่งพวกพ้องเล่า                           ปริศนานั้นว่า ระวิ่ง คือ อะไร
ก็ ก ลัวเขาเหมาว่าเป็นบ้าบอ   สู้อยู่ผู้เดียวหาเรื่ อ งเครื่ อ งสงบ                   ตอบว่า วิงเร็ว คือวิญญาณอาการใจ  เดินเป็นแถวตามแนว
                                                                                               ่
เป็นอันจบเรื่องคิดไม่ติดต่อ  ดีกว่าเที่ยวรุ่มร่ามท�ำสอพลอ  เดี๋ยว               กัน สัญญาตรงไม่สงสัย  ใจอยูในวิงไปมา สัญญาเหนียวภายนอก
                                                                                                               ่ ่
ถูกยอถูกติเป็นเรื่องเครื่องร�ำคาญฯ                                              หลอกลวงจิต  ท�ำให้คดวุนวายเทียวส่ายหา  หลอกเป็นธรรมต่างๆ
                                                                                                     ิ ่        ่
                                                                                อย่างมายา
      ยังมีบรษคนหนึง  คิดกลัวตายน�ำใจฝ่อ  มาหาแล้วพูดตรงๆ
            ุุ       ่              ้
น่าสงสาร  ถามว่าท่านพากเพียรมาก็ช้านาน  เห็นธรรมที่แท้จริง                            ถามว่า ขันธ์ห้า ใครพ้นจนทั้งปวง
แล้วหรือยังที่ใจหวัง  เอ๊ะ! ท�ำไมจึงรู้ใจฉัน  บุรุษผู้นั้นก็อยาก                      แก้วา ใจซิพนอยูคนเดียว  ไม่เกาะเกียวพัวพันติดสินพิษหวง
                                                                                          ่       ้ ่                   ่            ้
อยู่อาศัย  ท่านว่าดีดี ฉันอนุโมทนา  จะพาดูเขาใหญ่ถ�้ำสนุก                       หมดที่หลงอยู่เดียวดวง  สัญญาลวงไม่ได้หมายหลงตามไป
10   ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                                      11        ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


      ถามว่า ที่ว่าตาย ใครเขาตาย ที่ไหนกัน                                    ใจก็นั่งแท่นนิ่งทิ้งอาลัย
      แก้ว่า สังขารเขาตาย ท�ำลายผล
                                                                                       ถามว่า สระสี่เหลี่ยมเปี่ยมด้วยน�้ำ
      ถามว่า สิ่งใดก่อให้ต่อวน                                                         แก้วา ธรรมสินอยากจากสงสัย  ใสสะอาดหมดราคีไม่มภย
                                                                                           ่             ้                                                      ีั
      แก้ว่า กลสัญญาพาให้เวียน  เชื่อสัญญาจึงผิดคิดยินดี                      สัญญาในนั้นพราก สังขารขันธ์นั้นไม่กวน  ใจจึงเปี่ยมเต็มที่ไม่มี
ออกจากภพนีไปภพนันเทียวหันเหียน  เลยลืมจิตจ�ำปิดสนิทเนียน
             ้      ้ ่                                                       พร่อง  เงียบระงับดวงจิตไม่คดครวญ  เป็นของควรชมชืนทุกคืนวัน
                                                                                                                    ิ                              ่
ถึงจะเพียรหาธรรมก็ไม่เห็น                                                     แม้ ไ ด้ ส มบั ติ ทิ พ ย์ สั ก สิ บ แสน   หาแม้ น เหมื อ นรู ้ จ ริ ง ทิ้ ง สั ง ขาร
                                                                              หมดความอยากเป็นยิ่งสิ่งส�ำคัญ  จ�ำอยู่ส่วนจ�ำ ไม่ก�้ำเกิน ใจ
         ถามว่า ใครก�ำหนดใครหมายเป็นธรรม                                      ไม่เพลินทั้งสิ้นหายดิ้นรน
         แก้วา ใจก�ำหนดใจหมาย  เรืองหาเจ้าสัญญานันเอง  คือว่า
             ่                    ่              ้
ดีว่าชั่ว ผลัก ติด รัก ชัง                                                          เหมือนดังเอากระจกส่องเงาหน้า  แล้วอย่าคิดติดสัญญา
                                                                              เพราะสัญญานันเหมือนดังเงา  อย่าได้เมาไปตามเรืองเครืองสังขาร
                                                                                          ้                                 ่ ่
      ถามว่า กินหนเดียวไม่เที่ยวกิน                                           ใจขยับจับใจที่ไม่ปน  ไหวส่วนตนรู้แน่เพราะแปรไป  ใจไม่เที่ยง
      แก้ว่า สิ้นอยากดูไม่รู้หวัง  ในเรื่องเห็นต่อไปหายรุงรัง                 ของใจใช่ต้องว่า  รู้ขันธ์ห้าต่างชนิดเมื่อจิตไหว  แต่ก่อนนั้น
12 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                                   13       ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


หลงสัญญาว่าเป็นใจ  ส�ำคัญว่าในว่านอกจึงหลอกลวง  คราวนีใจ                    ้                 ถามว่า ห้าหน้าที่ มีครบกัน
เป็นใหญ่ไม่หมายพึ่ง  สัญญาหนึ่งสัญญาใดมิได้ห่วง  เกิดก็ตาม                                    ตอบว่า ขันธ์แบ่งแจกแยกห้าฐานเรื่องสังขาร  ต่างกองรับ
ดับก็ตามสิ่งทั้งปวง  ไม่ต้องหวงไม่ต้องกันหมู่สัญญา  เปรียบ                             หน้ า ที่ มี กิ จ การ    จะรั บ งานอื่ น ไม่ ไ ด้ เ ต็ ม ในตั ว    แม้ ล าภยศ
เหมื อ นขึ้ น ยอดเขาสู ง แท้ แ ลเห็ น ดิ น    แลเห็ น สิ้ น ทุ ก ตั ว สั ต ว์ ...      สรรเสริญ เจริญสุข นินทา ทุกข์ เสือมยศ หมดลาภทัว รวมลงตาม
                                                                                                                                ่                       ่
สูงยิงนักแลเห็นเรืองของตนแต่ตนมา  เป็นมรรคาทังนันเช่นบันได
     ่            ่               ้                        ้ ้                         สภาพตามเป็นจริง  ทังแปดสิงใจไม่หนไปพัวพัน  เพราะว่ารูปขันธ์
                                                                                                                   ้     ่         ั
                                                                                       ก็ท�ำแก่ไข้มิได้เว้น  นามก็มิได้พักเหมือนจักรยนต์  เพราะรับผล
       ถามว่า น�้ำขึ้นลงตรงสัจจังนั้นหรือ                                              ของกรรมทีทำมา  เรืองดีพาเพลิดเพลินเจริญใจ  เรืองชัวขุนวุนจิต
                                                                                                       ่�        ่                                    ่ ่ ่ ่
       ตอบว่า สังขารแปรแก้ไม่ได้  ธรรมดากรรมแต่งไม่แกล้งใคร                            คิดไม่หยุด  เหมือนไฟจุดจิตหมองไม่ผ่องใส  นึกขึ้นเองทั้งรัก
ขืนผลักไสจับต้องก็หมองมัว  ชั่วในจิต ไม่ต้องคิดขัดธรรมดา                               ทั้งโกรธไปโทษใคร
สภาวะสิ่ ง เป็ น จริ ง ดี ชั่ ว    ตามแต่ เ รื่ อ งของเรื่ อ งเปลื้ อ งแต่ ตั ว
ไม่พัวพันสังขารเป็นการเย็น  รู้จักจริงต้องทิ้งสังขารที่ผันแปร                                  อยากไม่แก่ไม่ตายได้หรือคน  เป็นของพ้นวิสัยจะได้เชย
เมื่อแลเห็น  เบื่อแล้วปล่อยได้คล่องไม่ต้องเกณฑ์  ธรรมก็เย็นใจ                          เช่นไม่อยากให้จิตเที่ยวคิดรู้  อยากให้อยู่เป็นหนึ่งหวังพึ่งเฉย
ระงับรับอาการ                                                                          จิตเป็นของผันแปรไม่แน่เลย  สัญญาเคยอยู่ได้บ้างเป็นครั้งคราว
                                                                                       ถ้ารู้เท่าธรรมดาทั้งห้าขันธ์  ใจนั้นก็ขาวสะอาดหมดมลทินสิ้น
14   ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                             15      ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


เรื่องราว  ถ้ารู้ได้อย่างนี้จึงดียิ่ง  เพราะเห็นจริงถอนหลุดสุดวิถี                            นั้นแล องค์ธรรมเอก วิเวกจริง  ธรรมเป็นหนึ่งไม่แปรผัน
ไม่ฝ่าฝืนธรรมดาตามเป็นจริง  จะจนจะมีตามเรื่องเครื่องนอกใน                              เลิศภพสงบยิ่ง  เป็นอารมณ์ของใจไม่ไหวติง  ระงับนิ่งเงียบสงัด
ดี ห รื อ ชั่ ว ต้ อ งดั บ เลื่ อ นลั บ ไป    ยึ ด สิ่ ง ใดไม่ ไ ด้ ต ามใจหมาย         ชัดกับใจ  ใจก็สร่างจากเมาหายเร่าร้อน  ความอยากถอนได้หมด
ใจไม่เทียง ของใจไหววิบวับ  สังเกตจับรูได้สบายยิง  เล็กบังใหญ่
          ่                                             ้           ่                  ปลดสงสัย  เรื่องพัวพันขันธ์ซาสิ้นไป  เครื่องหมุนในไตรจักร
รู้ไม่ทันขันธ์บังธรรมมิดผิดที่นี่ มัวดูขันธ์ธรรมไม่เห็นเป็นธุลีไป                      ก็หักลง  ความอยากใหญ่ยิ่งก็ทิ้งหลุด ความรักหยุดหายสนิท
ส่วนธรรมมีใหญ่กว่าขันธ์นั้นไม่แล                                                       สิ้นพิศวง  ร้อนทั้งปวงก็หายหมดดังใจจง

        ถามว่า มีไม่ม ไม่มีม นี้คืออะไร
                      ี      ี                                                                 เชิญโปรดชี้อีกอย่างหนทางใจ  สมุทัยของจิตที่ปิดธรรม
        ทีนตดหมด คิดแก้ไม่ไหว  เชิญชีให้ชดทังอรรถแปล  โปรด
           ี้ ิ                         ้ ั ้                                                  แก้ว่า สมุทัยกว้างใหญ่นัก  ย่อลงก็คือความรักบีบใจอาลัย
แก้เถิด ที่ว่าเกิดมีต่างๆ ทั้งเหตุผล  แล้วดับไม่มีชัดใช่สัตว์คน                        ขันธ์  ถ้าธรรมมีกับจิตเป็นนิจนิรันดร์  เป็นเลิกกันสมุทัยมิได้มี
นี้ข้อต้นมีไม่มีอย่างนี้ตรง  ข้อปลายไม่มีมีนี้เป็นธรรม  ที่ลึกล�้ำ                     จงจ�ำไว้อย่างนี้วิถีจิต  ไม่ต้องคิดเวียนวนจนป่นปี้  ธรรมไม่มี
ไตรภพจบประสงค์  ไม่มีสังขาร มีธรรมที่มั่นคง                                            อยู่เป็นนิตย์ติดยินดี  ใจตกที่สมุทัยอาลัยตัว
16   ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม   17   ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


        ว่าอย่างย่อทุกข์กับธรรมประจ�ำจิต  เอาจนคิดรู้เห็นจริง
จึงเย็นทัว  จะสุขทุกข์เท่าไรมิได้กลัว  สร่างจากเครืองมัวคือสมุทย
          ่                                            ่             ั
ไปที่ดี รู้เท่านี้ก็คลายหายความร้อน  พอพักผ่อนเสาะแสวงหา
ทางหนี  จิตรูธรรมลืมจิตทีตดธุล  ใจรูธรรมทีเ่ ป็นสุข ขันธ์ทกข์แท้
                ้           ่ิ ี ้                              ุ
แน่ประจ�ำ  ธรรมคงเป็นธรรม ขันธ์คงขันธ์เท่านันแล  ค�ำว่าเย็นสบาย
                                              ้
หายเดือดร้อน  หมายจิตถอนจากผิดที่ติดแก้  ส่วนสังขารขันธ์
ปราศจากสุ ข เป็ น ทุ ก ข์ แ ท้    เพราะต้ อ งแก่ ไ ข้ ต ายไม่ ว ายวั น
จิตรู้ธรรมที่ล�้ำเลิศจิตก็ถอน  จากผิดเครื่องเศร้าหมองของแสลง
ผิดเป็นโทษของใจอย่างร้ายแรง  เห็นธรรมแจ้ง ถอนผิดหมดพิษใจ
จิ ตเห็นธรรมดีล้นที่พ้นผิด   พบปะธรรมเปลื้ อ งเครื่ อ งกระสั น
มีสติอยู่ในตัวไม่พัวพัน  เรื่องรักขันธ์ขาดสิ้นหายยินดี  สิ้นธุลีทั้ง
ปวงหมดห่วงใย  ถึงจะคิดก็ไม่หามตามนิสย  เมือไม่หามกลับไม่ฟง
                                  ้        ั ่ ้                       ุ้
พ้นยุ่งไป  พึงรู้ได้บาปมีขึ้นเพราะขืนจริง ตอบว่า บาปเกิดได้
เพราะไม่รู้ถ้าปิดประตูเขลาได้สบายยิ่ง  ชั่วทั้งปวงเงียบหาย
18 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                                  19       ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


ไม่ไหวติง  ขันธ์ทุกสิ่งย่อมทุกข์ไม่สุขเลย                                      ก็มาชวน  ยกกระบวนทุกอย่างต่างๆ ไป

        แต่ก่อนข้าพเจ้ามืดเขลาเหมือนเข้าถ�้ำ  อยากเห็นธรรม                             เพราะยึดขันธ์ทั้งห้าว่าของตน  จึงไม่พ้นทุกข์ภัยไปได้นา
ยึดใจจะให้เฉย  ยึดความจ�ำว่าเป็นใจหมายจนเคย  เลยเพลิน                          ถ้ารู้โทษของตัวแล้วอย่าชาเฉย  ดูอาการสังขารที่ไม่เที่ยงร�่ำไป
เชยชม “จ�ำ” ธรรมมานาน  ความจ�ำผิดปิดไว้ไม่ให้เห็น  จึงหลง                      ให้ใจเคย  คงได้เชยชมธรรมะอันเอกวิเวกจิต  ไม่เทียงนันหมายใจ
                                                                                                                                      ่ ้
เล่นขันธ์ห้าน่าสงสาร ให้ยกตัวอวดตนพ้นประมาณ เที่ยวระราน                        ไหวจากจ�ำ  เห็นแล้วซ�ำดูๆ อยูทไหว  พออารมณ์นอกดับระงับไป
                                                                                                      ้        ่ ี่
ติคนอืนเป็นพืนไป  ไม่เป็นผล เทียวดูโทษคนอืนนันขืนใจ  เหมือน
      ่       ้                ่           ่ ้ ่                               หมดปรากฏธรรม  เห็นธรรมแล้วย่อมหายวุ่นวายจิต  จิตนั้น
ก่อไฟเผาตัวต้องมัวมอม                                                          ไม่ติดคู่จริงเท่านี้หมดประตู  รู้ไม่รู้อย่างนี้วิถีใจ  รู้เท่าที่ไม่เที่ยง
                                                                               จิตต้นพ้นริเริ่ม  คงจิตเดิมอย่างเที่ยงแท้  รู้ต้นจิตพ้นจากผิด
       ใครผิดถูกดีชวก็ตวเขา  ใจของเราเพียรระวังตังถนอม  อย่า
                    ั่ ั                           ้                           ทั้งปวงไม่ห่วง  ถ้าออกไปปลายจิตผิดทันที
ให้อกุศลวนมาตอม  ควรถึงพร้อมบุญกุศลผลสบาย  เห็นคนอื่น
เขาชั่วตัวก็ดี  เป็นราคียึดขันธ์ที่มั่นหมาย  ยึดขันธ์ต้องร้อนแท้                     ค�ำทีวามืดนันเพราะจิตคิดหวงดี  จิตหวงนีปลายจิตคิดออก
                                                                                           ่่ ้                                            ้
เพราะแก่ตาย  เลยซ�ำร้ายกิเลสกลุมเข้ารุมกวน  เต็มทังรักทังโกรธ
                      ้            ้                 ้ ้                       ไป  จิตต้นดีเมื่อธรรมะปรากฏหมดสงสัย  เห็นธรรมอันเลิศล�้ำ
โทษประจักษ์  ทั้งกลัวนักหนักจิตคิดโหยหวน  ซ�้ำอารมณ์กามห้า                     โลกา   เรื่ อ งคิ ด ค้ น วุ ่ น หามาแต่ ก ่ อ น  ก็ เ ลิ ก ถอนเปลื้ อ งปลด
20   ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                                        21        ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


ได้หมดสิน  ยังมีทกข์ตองหลับนอนกับกินไปตามเรือง  ใจเชืองชิด
             ้         ุ ้                              ่         ่                                 รู้อยู่เพราะหมายคู่ก็ไม่ใช่  จิตคงรู้จิตเองเพราะเพลงไหว
ต้ น จิ ต คิ ด ไม่ ค รวญ    ธรรมดาของจิ ต ก็ ต ้ อ งนึ ก คิ ด    พอรู ้ สึ ก           จิตรูไหวๆ ก็จิตติดกันไป  แยกไม่ได้ตามจริงสิงเดียวกัน  จิตเป็น
                                                                                               ้                                                    ่
จิตต้นพ้นโหยหวยเงียบสงัดจากเรืองเครืองรบกวน  ธรรมดาสังขาร
                                  ่ ่                                                  สองอาการเรียกว่าสัญญาพาพัวพัน  ไม่เทียงนันก็ตวเองไปเล็งใคร
                                                                                                                                              ่ ้ ั
ปรากฏหมดด้วยกัน  เสื่อมทั้งนั้นคงที่ไม่มีเลย                                           ใจรูเ้ สือมของตัวก็พนมัวมืด  ใจก็จดสินรสหมดสงสัย  ขาดค้นคว้า
                                                                                                  ่              ้                   ื ้
                                                                                       หาเรื่องเครื่องนอกใน  ความอาลัยทั้งปวงก็ร่วงโรย  ทั้งโกรธรัก
       ระวังใจเมื่อจ�ำท�ำละเอียด  มักจะเบียดให้จิตไปติดเฉย                             เครื่ อ งหนั ก ใจก็ ไ ปจาก    เรื่ อ งใจอยากก็ ห ยุ ด ได้ ห ายหวนโหย
ใจไม่เที่ยงของใจซ�้ำให้เคย  เมื่อถึงเอยหากรู้เองเพลงของใจ                              พ้นหนักใจทังหลายโอดโอย  เหมือนฝนโปรยใจ ใจเย็นเห็นด้วยใจ
                                                                                                            ้
เหมือนดังมายาที่หลอกลวง  ท่านว่าวิปัสสนูปกิเลสจ�ำแลงเพศ                                ใจเย็นเพราะไม่ต้องเที่ยวมองคน  รู้จิตต้นปัจจุบันพ้นหวั่นไหว
เหมื อ นดั ง จริ ง ที่ แ ท้ ไ ม่ จ ริ ง    รู ้ ขึ้ น เองหมายนามว่ า ความเห็ น         ดี ห รื อ ชั่ ว ทั้ ง ปวงไม่ ห ่ ว งใย     ต้ อ งดั บ ไปทั้ ง เรื่ อ งเครื่ อ งรุ ง รั ง
ไม่ใช่เช่นฟังเข้าใจชั้นไต่ถาม  ทั้งตรึกตรองแยกแยะแกะรูปนาม                             อยู ่ เ งี ย บๆ ต้ น จิ ต ไม่ คิ ด อ่ า น   ตามแต่ ก ารของจิ ต สิ้ น คิ ด หวั ง
ก็ใช่ความเห็นเองจงเล็งดู  รู้ขึ้นเองใช่เพลงคิด  รู้ต้นจิต จิตต้น                       ไม่ต้องวุ่นต้องวายหายระวัง  นอนหรือนั่งนึกพ้นอยู่ต้นจิต
พ้นโหยหวนต้นจิตรู้ตวแน่ว่าสังขาร  เรื่องแปรปรวนใช่กระบวนไป
                            ั
ดูหรือรู้อะไร                                                                                 ท่านชี้มรรคฟังหลักแหลม  ช่างต่อแต้มกว้างขวางสว่างไสว
                                                                                       ยังอีกอย่างทางใจไม่หลุดสมุทย  ขอจงโปรดชีให้พสดารเป็นการดี
                                                                                                                   ั             ้ ิ
22 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                                         23         ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


       ตอบว่ า   สมุ ทั ย   คื อ   อาลั ย รั ก    เพลิ น ยิ่ ง นั ก ท� ำ ภพใหม่       เรื่องอยากดีไม่หยุดคือตัวสมุทัย  เป็นโทษใหญ่กลัวจะไม่ดีนี้ก็แรง
ไม่หน่ายหนี  ว่าอย่างต�่ำกามคุณห้าเป็นราคี อย่างสูงชี้สมุทัย                          ดีแลไม่ดีนี้เป็นพิษของจิตนัก  เหมือนไข้หนักถูกต้องของแสลง
อาลัยฌาน ถ้าจับตามวิถี มีในจิตก็เรื่องคิดเพลินไปในสังขาร                              ก�ำเริบโรคด้วยพิษผิดส�ำแลง  ธรรมไม่แจ้งเพราะอยากดีนี้เป็น
เพลิ น ทั้ ง ปวงเคยมาเสี ย ช้ า นานกลั บ เป็ น การดี ไ ปให้ เ จริ ญ                   เดิม  ความอยากดีมีมากมักลากจิต  ให้เที่ยวคิดวุ่นไปจนใจเหิม
จิตไปในส่วนที่ผิด ก็เลยแตกกิ่งก้านฟุ้งซ่านใหญ่ เที่ยวเพลินไป                          สรรพชั่ ว มั ว หมองก็ ต ้ อ งเติ ม    ผิ ด ยิ่ ง เพิ่ ม ร�่ ำ ไปไกลจากธรรม
ในผิดไม่คิดเขิน สิ่งใดชอบอารมณ์ก็ชมเพลิน เพลินจนเกินลืมตัว                            ที่ จ ริ ง ชี้ ส มุ ทั ย นี้ ใ จฉั น คร้ า ม   ฟั ง เนื้ อ ความไปข้ า งนุ ง ทางยุ ่ ง ยิ่ ง
ไม่กลัวภัย                                                                            เมื่อชี้มรรคฟังใจไม่ไหวติง ระงับนิ่งใจสงบจบกันทีฯ
                                                                                                 อันนี้ชื่อว่าขันธวิมุติสะมังคีธรรมประจ�ำอยู่กับที่ไม่มีอาการ
      เพลินดูโทษคนอื่นดื่นด้วยชั่ว  โทษของตัวไม่เห็นเป็นไฉน                           ไปไม่มีอาการมา  สภาวธรรมที่เป็นจริงสิ่งเดียวเท่านี้  และไม่มี
โทษคนอืนเขามากสักเท่าไร  ไม่ทำให้เราตกนรกเลย  โทษของเรา
         ่                        �                                                   เรื่องจะแวะเวียน สิ้นเนื้อความแต่เพียงเท่านี้ฯ
เศร้าหมองไม่ตองมาก  ส่งวิบากไปตกนรกแสนสาหัส  หมันดูโทษ
              ้                                       ่                                          ผิดหรือถูกจงใช้ปัญญาตรองดูให้รู้เถิดฯ
ตนไว้ให้ใจเคย  เว้นเสียซึ่งโทษนั้น คงได้เชยชมสุขพ้นทุกข์ภัย
                                                                                                                                               พระภูริทัตโตฯ (มั่น)
        เมื่อเห็นโทษตนชัดรีบตัดทิ้ง  ท�ำอ้อยอิ่งคิดมากจากไม่ได้                                                                        วัดสระประทุมวัน เป็นผู้แต่งฯ
24                              25     ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต




                      ทาน ศีล ภาวนา

             ทาน คือ เครืองแสดงน�ำใจของมนุษย์ผมจตใจสูง มีเมตตา
                         ่        ้                ู้ ี ิ
     จิตต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์ด้วยการให้ การเสียสละแบ่งปัน มาก
     น้อยตามก�ำลังของวัตถุเครื่องสงเคราะห์ที่มีอยู่ จะเป็นวัตถุทาน
     ธรรมทานหรือวิทยาทาน เพือสงเคราะห์ผอนโดยไม่หวังสิงตอบแทน
                               ่             ู้ ื่        ่
     ใดๆ นอกจากกุศล คือ ความดีที่ได้จากทานนั้น เป็นสิ่งตอบแทน
     ที่เจ้าของทานได้รับอยู่โดยดีเท่านั้น อภัยทานควรให้แก่กันเมื่ออีก
     ฝ่ายหนึ่งผิดพลาดหรือล่วงเกิน
26 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                                   27       ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


        คนมีทานย่อมเป็นผู้สง่าผ่าเผยและเด่นในปวงชน เป็นที่                    ได้โดยปลอดภัย แม้โลกเจริญด้วยวัตถุจนกองสูงกว่าพระอาทิตย์
เคารพรักในหมู่ชน จะตกอยู่ทิศใดย่อมไม่อดอยากขาดแคลน                            แต่ความรุ่มร้อนแผดเผาจะทวีคูณยิ่งกว่าพระอาทิตย์ ถ้ามัวคิดว่า
จะมีสิ่งหรือผู้อุปถัมภ์จนได้ ไม่อับจนทนทุกข์ ผู้มีทานประดับตน                 วัตถุมีค่ามากกว่าศีลธรรม ศีลธรรมเป็นเพียงสมบัติของมนุษย์
ย่อมไม่เป็นคนล้าสมัย บุคคลทุกชั้นไม่รังเกียจ                                  พระพุ ท ธเจ้ า ผู ้ ค ้ น พบและน� ำ มาประดั บ โลกที่ ก� ำ ลั ง มื ด มิ ด ให้
                                                                              สว่างไสว ร่มเย็นด้วยอ�ำนาจศีลธรรมเป็นเครื่องปัดเป่า
       ผูมทานย่อมเป็นผูอบอุน หนุนโลกให้ชมเย็น การเสียสละจึง
         ้ี             ้ ่             ุ่
เป็นเครืองค�ำจุนหนุนโลก การสงเคราะห์กนท�ำให้โลกมีความหมาย
        ่ ้                          ั                                               ความคิดของมนุษย์ผู้มีกิเลส ผลิตอะไรออกมาท�ำให้โลก
ตลอดไป ไม่เป็นโลกที่ไร้ชาติขาดกระเจิง เหลือแต่ซากแผ่นดิน                      ร้อนจะบรรลัยอยู่แล้ว ยิ่งปล่อยให้ความคิดตามอ�ำนาจโดยไม่มี
ไม่แห้งแล้งแข่งกันทุกข์ตลอดไป                                                 ศีลธรรมช่วยเป็นยาชโลมไว้บ้าง จะผลิตยักษ์ใหญ่ทรงพิษขึ้นมา
                                                                              กว้าน กินมนุษย์จนไม่มีอะไรเหลืออยู่บ้างเลย ความคิดของคน
        ศีล คือ รั้วกั้นความเบียดเบียนและท�ำลายสมบัติร่างกาย                  สินกิเลสทีทรงคุณอย่างสูง คือพระพุทธเจ้า มีผลให้โลกได้รบความ
                                                                                ้       ่                                             ั
และจิตของกันและกัน ศีล คือ พืชแห่งความดีอันยอดเยี่ยมที่ควร                    ร่มเย็นซาบซึง กับความคิดทีเ่ ป็นกิเลสมีผลให้ตนเองและผูอนได้รบ
                                                                                          ้                                         ้ ื่ ั
มีประจ�ำชาติมนุษย์ ไม่ปล่อยให้สูญหายไป เพราะมนุษย์ไม่มีศีล                    ความเดือดร้อนจนคาดไม่ถึงผิดกันอยู่มาก  ควรหาทางแก้ไข
เป็นรั้วกั้น เป็นเครื่องประดับตัว จะไม่มีที่ให้ซุกหัวนอนหลับสนิท              ผ่อนหนักให้เบาลงก่อนจะหมดทางแก้ไข ศีลจึงเป็นเหมือนยาปราบ
28 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                            29      ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


โรค ทั้งโรคระบาดและเรื้อรัง                                                         การภาวนาจึงเป็นงานเพื่อผลในปัจจุบันและอนาคต การ
                                                                             งานทุกชนิด ที่ท�ำ ด้วยใจของผู้มีภาวนาจะส� ำ เร็จลงด้วยความ
        ภาวนา คือ การอบรมใจให้ฉลาดเทียงตรงต่อเหตุผลอรรถ
                                         ่                                   เรียบร้อย ท�ำด้วยความใคร่ครวญเล็งถึงประโยชน์ที่จะได้รับ เป็น
ธรรม รูจกวิธปฏิบตตอตัวเองและสิงทังหลาย ยึดการภาวนาเป็นรัว
         ้ั ี ัิ่                  ่ ้                        ้              ผู้มีหลักมีเหตุผล ถือหลักความถูกต้องเป็นเข็มทิศทางเดินของ
กั้นความคิดฟุ้งของใจให้อยู่ในเหตุผลอันจะเป็นทางแห่งความ                      กาย วาจา ใจ ไม่เปิดช่องให้ความอยากอันไม่มีขอบเขตเข้ามา
สงบสุข ใจทียงมิได้รบการอบรมจากภาวนา จึงเปรียบเหมือนสัตว์
              ่ั ั                                                           เกี่ยวข้องเพราะความอยากดั้งเดิมเป็นไปตามอ�ำนาจของกิเลส
ที่ยังมิได้รับการฝึกหัด ยังมิได้รับประโยชน์จากมันเท่าที่ควร จ�ำ              ตัณหา ซึ่งไม่เคยสนใจต่อความผิดถูก ดีชั่ว พาเราเสียไปจนนับ
ต้องฝึกหัดให้ท�ำประโยชน์ ถึงจะได้รับประโยชน์ตามควร                           ไม่ถ้วนประมาณไม่ถูก จะเอาโทษมันก็ไม่ได้ ยอมให้เสียไปอย่าง
                                                                             น่าเสียดาย ถ้าไม่มสติระลึกบ้างเลยแล้ว ของเก่าก็เสียไป ของใหม่
                                                                                                ี
       ใจจึงควรได้รับการอบรมให้รู้เรื่องของตัว จะเป็นผู้ควรแก่               ก็พลอยจมไปด้วยไม่มวนฟืนคืนตัว ฉะนัน การภาวนาจึงเป็นเครือง
                                                                                                   ีั ้           ้                    ่
งานทังหลาย ทังส่วนเล็กส่วนใหญ่ภายนอกภายใน ผูมภาวนาเป็น
     ้        ้                                  ้ี                          หักล้างความไม่มีเหตุผลของตนได้ดี วิธีภาวนานั้นล�ำบากอยู่บ้าง
หลักใจ จะท�ำอะไรชอบใช้ความคิดอ่านเสมอ ไม่เสี่ยงและไม่เกิด                    เพราะเป็นวิธีบังคับใจ
ความเสียหายแก่ตนและผู้เกี่ยวข้อง
30 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม   31   ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


        วิธีภาวนาก็คือวิธีสังเกตตัวเอง สังเกตจิตที่มีนิสัยหลุกหลิก
ไม่อยู่เป็นปกติสุข ด้วยมีสติตามระลึกรู้ความเคลื่อนไหวของจิต
โดยมีธรรมบทใดบทหนึงเป็นค�ำบริกรรม เพือเป็นยารักษาจิตใจให้
                         ่                  ่
ทรงตัวอยู่ได้ด้วยความสงบสุขในขณะภาวนา

      ที่ให้ผลดีก็มี อานาปาณสติ คือ ก�ำหนดจิตตามลมหายใจ
เข้าออกด้วยค�ำภาวนา พุทโธ พยายามบังคับใจให้อยู่กับอารมณ์
แห่งธรรมบททีนำมาบริกรรมขณะภาวนา พยายามท�ำอย่างนีเ้ สมอ
              ่�
ด้วยความไม่ลดละความเพียร จิตที่เคยท�ำบาปหาบทุกข์อยู่เสมอ
จะค่อยรูสกตัว และปล่อยวางไปเป็นล�ำดับ มีความสนใจหนักแน่น
         ้ึ
ในหน้าที่ของตนเป็นประจ�ำ จิตที่สงบตัวลงเป็นสมาธิ เป็นจิตที่
มีความสุขเย็นใจมากและจ�ำไม่ลืม ปลุกใจให้ตื่นตัวและตื่นใจได้
อย่างน่าประหลาด
32 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                                33      ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


     เมื่อพูดถึงการภาวนา บางท่านรู้สึกเหงาหงอยน้อยใจว่าตน                    จิตใจยังกล้าเอาตัวเข้าเสี่ยงแบกหามจนได้ มิหน�ำซ�้ำยังหอบเอา
มีวาสนาน้อยท�ำไม่ไหว เพราะกิจการยุ่งยากทั้งภายในบ้านและ                      มาคิดเป็นการบ้านอีกจนนอนไม่หลับ รับประทานไม่ได้ก็มี ค�ำว่า
นอกบ้าน ตลอดงานสังคมต่างๆ ที่ต้องเป็นธุระ จะมานั่งหลับตา                     หนักเกินไปยกไม่ไหวเกินก�ำลังใจจะคิดและต้านทานนั้นไม่มี
ภาวนาอยู่ เห็นจะไม่ทันอยู่ทันกินกับโลกเขา ท�ำให้ไม่อยากท�ำ
ประโยชน์ที่ควรได้ จึงเลยผ่านไป ควรพยายามแก้ไขเสียบัดนี้                              งานทางกายยังมีเวลาพักผ่อนนอนหลับ และยังรูประมาณว่า
                                                                                                                                  ้
                                                                             ควรหรือไม่ควรแก่กำลังของตนเพียงใด ส่วนงานทางใจไม่มเี วลาได้
                                                                                                �
         แท้จริงการภาวนา คือ วิธแก้ความยุงยากล�ำบากใจทุกประเภท
                                   ี      ่                                  พักผ่อนเอาเลย พักได้เล็กน้อยขณะนอนหลับเท่านัน แม้เช่นนันจิต
                                                                                                                          ้          ้
ทีเ่ ป็นภาระหนักให้เบาและหมดสินไป ได้อบายมาแก้ไขไล่ทกข์ออก
                                     ้      ุ           ุ                    ยังอุตส่าห์ท�ำงานด้วยการละเมอเพ้อฝันต่อไปอีก ไม่รจกประมาณ
                                                                                                                               ู้ ั
จากตัว การอบรมใจด้วยการภาวนาก็เป็นวิธหนึงแห่งการรักษาตัว
                                              ี ่                            ว่าเรื่องต่างๆ นั้นควรแก่ก�ำลังของใจเพียงใด เมื่อเกิดอะไรขึ้น
เป็นวิธีที่เกี่ยวกับจิตใจผู้เป็นหัวหน้างานทุกด้าน                            ทราบแต่ว่าทุกข์เหลือทน ไม่ทราบว่าทุกข์เพราะงานหนักและเรื่อง
                                                                             เผ็ดร้อนเหลือก�ำลังใจจะสู้ไหว
      จิตจ�ำต้องเป็นตัวการรับภาระแบกหาม โดยไม่คำนึงถึงความ
                                               �
หนักเบาว่าชนิดใดพอยกไหวไหม จิตต้องรับภาระทันที ดีชวผิดถูก
                                                    ั่                              ใจคือนักต่อสู้ ดีก็สู้ ชั่วก็สู้ สู้จนไม่รู้จักหยุดยั้งไตร่ตรอง
หนักเบา เศร้าโศกเพียงใด บางเรื่องแทบเอาชีวิตไปด้วย ขณะนั้น                   สู้จนไม่รู้จักตาย หากปล่อยไปโดยไม่มีธรรมเป็นเครื่องยับยั้ง คง
34 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                            35     ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


ไม่ได้รับความสุข แม้จะมีสมบัติก่ายกอง                                        ได้ซ่อมสุขภาพจิต คือนั่งพินิจพิจารณาดูสังขารภายใน คือ ความ
                                                                             คิดปรุงแต่งของจิตว่าคิดอะไรบ้าง ในวันและเวลาที่นั่งๆ มีสาระ
       ธรรม เป็นเครื่องปกครองสมบัติและปกครองใจ ถ้าขาด                        ประโยชน์ไหม คิดแส่หาเรื่อง หาโทษ ขนทุกข์มาเผาตนอยู่นั้น
ธรรมเพียงอย่างเดียว ความอยากของใจจะพยายามหาทรัพย์ ได้                        พอรู้ผิดถูกของตัวบ้างไหม พิจารณาสังขารภายนอกว่ามีความ
กองเท่าภูเขาก็ยงหาความสุขไม่เจอ ไม่มธรรมในใจเพียงอย่างเดียว
                   ั                 ี                                       เจริญขึ้นหรือเจริญลง สังขารร่างกายมีอะไรใหม่หรือมีความเก่า
จะอยู่ในโลกใด กองสมบัติใด ก็เป็นเพียงโลกเศษเดนและกอง                         แก่ชราหลุดลงไป พยายามเตรียมตัวเตรียมใจเสียแต่เวลาที่พอจะ
สมบัตเิ ดนเท่านัน ไม่มประโยชน์อะไรแก่จตใจแม้แต่นด ความทุกข์
                 ้           ี         ิ            ิ                        ท�ำได้ ตายแล้วจะเสียการ
ทรมาน ความอดทน ทนทานต่อสิงกระทบกระทังต่างๆ ไม่มอะไร
                                 ่             ่        ี
จะแข็งแกร่งเท่าใจ ถ้าได้รับความช่วยเหลือที่ถูกทาง ใจจะกลาย                          ให้ท่องอยู่ในใจเสมอว่า เรามีความแก่เจ็บตายอยู่ประจ�ำ
เป็นของประเสริฐ ให้เจ้าของได้ชมอย่างภูมใจต่อเรืองทังหลายทันที
                                           ิ     ่ ้                         ตัวทั่วหน้ากัน ป่าช้าอันเป็นที่เผาศพภายนอก และป่าช้าที่ฝังศพ
       จิตเป็นสมบัตสำคัญมากในตัวเรา ทีควรได้รบการเหลียวแล
                          ิ�                 ่    ั                          ภายในคือตัวเราเอง เป็นป่าช้าร้อยแปดพันเก้าแห่งศพที่น�ำมาฝัง
ด้วยวิธเี ก็บรักษาให้ด ควรสนใจรับผิดชอบต่อจิตอันเป็นสมบัตทมี
                          ี                               ิ ี่               ภายในหรือบรรจุอยู่ในตัวเราตลอดเวลา ทั้งศพใหม่ศพเก่าทุกวัน
ค่ายิงของตน วิธทควรกับจิตโดยเฉพาะก็คอ ภาวนา ฝึกหัดภาวนา
     ่               ี ี่                ื
ในโอกาสอันควร ควรตรวจดูจิตว่ามีอะไรบกพร่องและเสียไป จะ
36 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม                             37     ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


        พิจารณาธรรมสังเวช พิจารณาความตายเป็นอารมณ์ ย่อมมี                               ทาน ศีล ภาวนา ธรรมทัง ๓ นี เป็นรากแก้วของความเป็น
                                                                                                              ้      ้
ทางถอดถอนความเผลอเย่อหยิ่งในวันในชีวิตและวิทยฐานะต่างๆ                          มนุษย์ และเป็นรากเหง้าของพระศาสนา ผู้เกิดมาเป็นมนุษย์ต้อง
ออกได้ จะเห็นโทษแห่งความบกพร่องของตัว และพยายามแก้ไข                            เป็นผู้เคยสั่งสมธรรมเหล่านี้มาอยู่ในนิสัยของผู้จะมาสวมร่างเป็น
ได้เป็นล�ำดับมากกว่าจะไปเห็นโทษของคนอื่นแล้วมานินทาเขา                          มนุษย์ที่สมบูรณ์ด้วยมนุษย์สมบัติอย่างแท้จริง
ซึ่งเป็นความไม่ดีใส่ตน

       นี่ คื อ การภาวนา  คื อ วิ ธี เ ตือ นตน  สั่ ง สอนตน  ตรวจตรา
ดูความบกพร่องของตนว่าควรแก้ไขจุดใดตรงไหนบ้าง ใช้ความ
พิจารณาอยูทำนองนีเ้ รือยๆ ด้วยวิธสมาธิภาวนาบ้าง ด้วยการร�ำพึง
                ่�     ่                  ี
ในอิริยาบทต่างๆ บ้าง ใจจะสงบเย็นไม่ล�ำพองผยองตัว และ
ไม่เอาความทุกข์มาเผาลนตัวเอง เป็นผู้รู้จักประมาณในหน้าที่
การงานที่พอเหมาะพอดีแก่ตัวทั้งทางกายและทางใจ ไม่ลืมตัว
มัวสุมในสิงทีเ่ ป็นหายนะต่างๆ คุณสมบัตของผูภาวนานีมมากมาย
  ่           ่                                ิ ้           ้ี
ไม่อาจพรรณนาให้จบสิ้นได้
38                            39    ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต




                      คนดีมีศีลธรรม


            หาคนดีมศลธรรมในใจ หายากยิงกว่าเพชรนิลจินดา ได้คน
                    ีี                 ่
     เป็นคนดีเพียงคนเดียวย่อมมีคุณค่ามากกว่าเงินเป็นล้านๆ เพราะ
     เงินเป็นล้านๆ ไม่สามารถท�ำความร่มเย็นให้แก่โลกได้อย่างถึงใจ
     เหมือนได้คนดีมาท�ำประโยชน์
40 ท า น ศี ล ภ า ว น า                                   41      ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


       คนดีแม้เพียงคนเดียว ยังสามารถท�ำความเย็นให้แก่โลกได้       นิสัย ดี-ชั่ว สุข-ทุกข์ เพราะกฎของกรรมหรือกฎของตัวเองที่ท�ำ
มากมายและยั่งยืน เช่นพระพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งหลายเป็น            ขึ้น ไม่ใช่กฎของใครไปท�ำให้ ตัวท�ำเอาเอง
ตัวอย่าง คนดีแต่ละคนมีคุณค่ามากกว่าเงินเป็นก่ายกอง เป็น
คุณค่าแห่งความดีของตนที่จะท�ำต่อไปมากกว่าเงิน แม้จะจนก็                  ของดีมีอยู่กับตัวเราทุกคน ก็พากันปฏิบัติเอา ท�ำเอา เมื่อ
ยอมจน ขอแต่ให้ตัวดีและโลกมีความสุข                                เวลาตายแล้ววุนวาย หานิมนต์พระมากุสลามาติกา ไม่ใช่เกาถูกที่
                                                                                ่
       แต่คนโง่ชอบเงินมากกว่าคนดีและความดี ขอแต่ได้เงินแม้        คัน ต้องรีบแก้เสียแต่บดนี คือเร่งท�ำความดีแต่บดนี จะได้หายห่วง
                                                                                         ั ้                    ั ้
ตัวจะเป็นอย่างไรไม่สนใจคิดสนใจดู ถึงจะชั่วช้าลามกหรือแสน
โสมมเพียงไรไม่หลีกห่าง ขนาดยมบาลเกลียดกลัวไม่ยอมนับเข้า                  อะไรๆ ที่เป็นสมบัติของโลก มิใช่สมบัติอันแท้จริงของเรา
บัญชีผู้ต้องหา กลัวจะไปท�ำลายสัตว์นรกด้วยกันให้เดือนร้อน ขอ       ตัวจริงไม่มใครเหลียวแล สมบัตในโลกเราแสวงหามา หามาทุจริต
                                                                             ี                   ิ
แต่ได้เงินก็เป็นที่พอใจ ส่วนจะผิดถูกประการใดเขาไม่ยุ่งเกี่ยว      ก็เป็นไฟเผา เผาตัวท�ำให้ฉิบหายได้จริงๆ ข้อนี้ขึ้นอยู่กับความ
                                                                  ฉลาดและความโง่เขลาของผู้แสวงหาแต่ละราย ท่านผู้พ้นทุกข์ไป
      คนดีกับคนชั่ว สมบัติเงินทองกับธรรมะคือคุณความดี ผิด         ด้วยความอุตส่าห์สร้างความดีใส่ตนจนกลายเป็นสรณะของพวกเรา
กันอย่างนี้แล ใครมีหูมีตาก็คิดแก้ไขเสียแต่บัดนี้ อย่าให้สายเกิน   ท่านไม่เคยมีสมบัติเงินทองเครื่องหวงแหนเป็นคนร�ำรวย สวยงาม
                                                                                                                  ่
แก้ ฉะนั้น สัตว์โลกจึงต่างกันทั้งภพก�ำเนิด รูปร่างลักษณะ จริต     เฉพาะสมัย จึงพากันรักพากันห่วงจนไม่รู้จักเป็นรู้จักตาย ส�ำคัญ
42 ท า น ศี ล ภ า ว น า                                 43      ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


ตนว่าจะไม่ตายและพากันประมาทจนลืมตัว เพลิดเพลินตักตวง                   เมื่อมีผู้เตือนสติ ควรยึดมาเป็นธรรมค�ำสอน จะเป็นคนมี
เอาแต่สิ่งไม่เป็นท่าใส่ตนแทบหาบไม่ไหว                           ขอบเขตมีเหตุผล ไม่ทำตามความอยาก เมือพยายามฝ่าฝืนให้เป็น
                                                                                        �                ่
                                                                ไปตามทางของนักปราชญ์ได้ จะประสบผลคือความสุขในปัจจุบน        ั
        อย่าส�ำคัญตนว่าเก่งกาจสามารถฉลาดรู้กว่าเขาเลย ถึงกับ    ทันตา แม้จะมิได้เป็นเจ้าของเงินล้าน แต่มีทางได้รับความสุขจาก
สร้างความมืดมิดปิดตาทับถมตัวเองจนไม่มวนสร่างซา เมือถึงเวลา
                                        ีั          ่           สมบัติและความประพฤติดีของตน
จนตรอกอาจจนยิ่งกว่าสัตว์ ถ้าไม่เตรียมทราบไว้เสียแต่บัดนี้              คนฉลาดปกครองตนให้มีความสุขและปลอดภัย ไม่จ�ำเป็น
ซึ่งอยู่ในฐานะอันควร อาตมาขออภัยด้วยถ้าพูดหยาบคายไป             ต้องเทียวแสวงหาทรัพย์มากมาย หรือเทียวกอบโกยเงินเป็นล้านๆ
                                                                       ่                               ่
แต่คำพูดทีสงสอนคนให้ละชัวท�ำความดี จัดเป็นหยาบคายอยูแล้ว
      � ่ ั่                ่                            ่      มาเป็นเครื่องบ�ำรุงจึงมีความสุข ผู้มีสมบัติพอประมาณในทาง
โลกเราก็จะถึงคราวหมดสิ้นศาสนา เพราะไม่มีผู้ยอมรับความจริง       ที่ชอบมีความสุขมากกว่าผู้ได้มาในทางมิชอบเสียอีก เพราะนั่น
การท�ำบาปหยาบคายมีมาประจ�ำแทบทุกคน ทังให้ผลเป็นทุกข์ตน
                                           ้                    ไม่ใช่สมบัติของตนอย่างแท้จริง ทั้งๆ ที่อยู่ในกรรมสิทธิ์ แต่กฎ
ยังไม่อาจรู้ได้ และต�ำหนิมันบ้างพอมีทางคิดแก้ไข แต่กลับต�ำหนิ   ความจริงคือกรรม สาปแช่งไม่เห็นด้วย และให้ผลเป็นทุกข์ไม่สิ้น
ค�ำสั่งสอนหยาบคาย ก็นับเป็นโรคที่หมดหวัง                        สุด นักปราชญ์ทานจึงกลัวกันนักหนา แต่คนโง่อย่างพวกเราผูชอบ
                                                                                   ่                                     ้
                                                                สุกเอาเผากินและชอบเห็นแก่ตัว ไม่มีวันอิ่มพอ ไม่ประสบผลคือ
                                                                ความสุขดังใจหมาย
44   ท า น ศี ล ภ า ว น า        45   ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


       คนหิวอยูเ่ ป็นปกติสขไม่ได้ จึงวิงหาโน่นหานี เจออะไรก็คว้า
                           ุ              ่          ่
ติดมือมาโดยไม่ส�ำนึกว่าผิดหรือถูก ครั้นแล้วสิ่งคว้ามาก็มาเผา
ตัวเองให้ร้อนยิ่งกว่าไฟ คนที่หลงจึงต้องแสวงหา ถ้าไม่หลงก็ไม่
ต้องหา จะหาไปให้ล�ำบากท�ำไม อะไรๆ ก็มีอยู่กับตัวเองอย่าง
สมบูรณ์อยูแล้ว จะตืนเงาตะครุบเงาไปท�ำไม เพราะรูอยูแล้วว่าเงา
            ่         ่                                ้ ่
ไม่ใช่ตัวจริง ตัวจริงคือสัจจะทั้งสี่ที่มีอยู่ในกายในใจอย่างสมบูรณ์
แล้ว ความมั่งมีศรีสุขจะไม่บังเกิดแก่ผู้ทุจริตสร้างกรรมชั่ว มีมาก
เท่าไหร่ย่อมหมดไป พ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ที่สร้างบาปกรรมไว้
ผลกรรมนั้นย่อมตกอยู่กับลูกหลานรุ่นหลังให้มีอันเป็นไป ผู้ทุจริต
เบียดเบียนรังแกผู้อื่น จะหาความสุขความเจริญไม่ได้เลย
46                           47     ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต




                      สัตว์โลก
                ย่อมเป็นไปตามกรรม

           เราทั้งหลายต่างเกิดมาด้วยวาสนา มีบุญพอเป็นมนุษย์ได้
     อย่างเต็มภูมิ ดังที่ทราบอยู่แก่ใจ อย่าลืมตัวลืมวาสนา โดยลืม
     สร้างคุณงามความดีเสริมต่อ ภพชาติของเราที่เคยเป็นมนุษย์จะ
     เปลียนแปลงและกลับกลายหายไปเป็นชาติทตำทรามไม่ปรารถนา
         ่                                     ี่ �่
     จะกลายมาเป็นตัวเราเขาแล้วแก้ไม่ตก
48 สั ต ว์ โ ล ก ย่ อ ม เ ป็ น ไ ป ต า ม ก ร ร ม                             49     ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


         ความสูงศักดิ์ ความต�่ำทราม ความสุขทุกชั้นจนถึงบรมสุข                                กรรมเป็นของลึกลับและมีอ�ำนาจมาก ไม่มีผู้ใดหนีกฎแห่ง
และความทุกข์จนเข้าขั้นมหันตทุกข์เหล่านี้ มีได้กับทุกคนตลอด                            กรรมได้เลย ถ้าเราสามารถรูเ้ ห็นกรรมดี กรรมชัว ทีตนและผูอนท�ำ
                                                                                                                                  ่ ่        ้ ื่
สัตว์ ถ้าตนเองท�ำให้มี อย่าเข้าใจว่ามีได้เฉพาะผู้ก�ำลังเสวยอยู่                       ขึ้นเหมือนเห็นวัตถุต่างๆ จะไม่กล้าท�ำบาป แต่จะกระตือรือร้น
เท่านั้น โดยผู้อื่นไม่มี เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นสมบัติกลาง แต่กลับ                      ท�ำแต่ความดี ซึ่งเป็นของเย็นเหมือนน�้ำ ความเดือดร้อนในโลกก็
กลายมาเป็นสมบัตจำเพาะของผูผลิตผูทำเองได้ ท่านจึงสอนไม่ให้
                      ิ�            ้ ้�                                              จะลดน้อยลงเพราะต่างก็รักษาตัว กลัวบาปอันตราย
ดูถกเหยียดหยามกัน เราอาจมีเวลาเป็นเช่นนัน หรือยิงกว่านันก็ได้
     ู                                         ้        ่    ้
เมือถึงวาระเข้าจริงๆ ไม่มใครมีอำนาจหลีกเลียงได้ เพราะกรรมดี
   ่                         ี       �           ่                                           ท่านว่าดีชั่วมิได้เกิดขึ้นเอง แต่อาศัยการท�ำบ่อยก็ชินไป
กรรมชัวเรามีทางสร้างได้เช่นเดียวกับผูอน จึงมีทางเป็นได้เช่นเดียว
         ่                               ้ ื่                                         เอง เมื่อชินแล้วก็กลายเป็นนิสัย ถ้าเป็นฝ่ายชั่วก็แก้ไขยาก คอย
กับผู้อื่น และผู้อื่นก็มีทางเป็นได้เช่นเดียวกับที่เราเคยเป็น                          แต่จะไหลลงไปตามนิสัยที่เคยท�ำอยู่เสมอ ถ้าเป็นฝ่ายดีก็นับว่า
                                                                                      คล่องแคล่วกล้าขึ้นเป็นล�ำดับ เราเกิดเป็นมนุษย์มีความสูงศักดิ์
       ศาสนาเป็นหลักวิชาตรวจตราดูตัวเองและผู้อื่นได้อย่าง                             มากอย่าน�ำเรื่องของสัตว์มาประพฤติ มนุษย์เราจะต�่ำลงกว่าสัตว์
แม่นย�ำ ไม่มีวิชาใดในโลกเสมอเหมือน สิงดีชวที่มีและเกิดอยู่กับ
                                          ่ ั่                                        และจะเลวกว่าสัตว์อีกมากมาย อย่าพากันท�ำ ให้พากันละบาป
ตนทุกระยะมีใจเป็นตัวการ พาให้สร้างกรรมประเภทต่างๆ จนเห็น                              บ�ำเพ็ญบุญท�ำแต่คุณความดี อย่าให้เสียชีวิตเปล่าที่มีวาสนาเกิด
ได้ชัดว่ากรรมมีอยู่กับผู้ท�ำ มีใจเป็นเหตุของกรรมทั้งมวล                               มาเป็นมนุษย์
50 สั ต ว์ โ ล ก ย่ อ ม เ ป็ น ไ ป ต า ม ก ร ร ม                                51      ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


         การท�ำความเข้าใจเรื่องของกรรมเป็นการศึกษาธรรมะเพื่อ                                  กรรม คือ การกระท�ำดีชั่วทางกาย วาจา ใจ ต่างหาก
เตรียมพร้อมทีจะรับภาวะของตัวเราเอง ซึงจะต้องเป็นไปตามกรรม
               ่                        ่                                             ผลจริงคือความสุขทุกข์ที่ได้รับกันอยู่ทั่วโลก กระทั่งสัตว์ผู้ไม่รู้จัก
ที่ได้ท�ำไว้ ตามพุทธภาษิตที่มีว่า “กรรม จ�ำแนกสัตว์ให้ทรามและ                         กรรม รูแต่กระท�ำคือหากินหาอยู ทางศาสนาเรียกว่ากรรมของสัตว์
                                                                                               ้                     ่
ประณีตต่างกัน”                                                                        ของบุคคล และผลกรรมของสัตว์ของบุคคล ควรมีเมตตาสงสาร
                                                                                      ในสัตว์ทงหลายซึงมีความเกิดแก่เจ็บตายเช่นเดียวกับเรา ไม่มอะไร
                                                                                                 ั้    ่                                            ี
       ผู้สงสัยกรรม หรือไม่เชื่อกรรมว่ามีผล คือ ลืมตนจนกลาย                           ยิ่งหย่อนกว่ากัน
เป็นผู้มืดบอดอย่างช่วยไม่ได้ แม้เขาจะเกิดและได้รับการเลี้ยงดู
จากพ่อแม่มาเป็นอย่างดีเหมือนโลกทั้งหลายก็ตาม เขาก็มอง                                         ความยิ่งหย่อนแห่งวาสนาบารมีนั้นมีได้ทั้งคนและสัตว์
ไม่เห็นคุณของพ่อแม่ว่าได้ให้ก�ำเนิดและเลี้ยงดูตนมาอย่างไรบ้าง                         สัตว์บางตัวมีวาสนาบารมีและอัธยาศัยดีกว่ามนุษย์บางคน แต่เขา
แต่เขาจะมองเห็นเฉพาะร่างกายเขาที่เป็นคนหนึ่งก�ำลังรกโลก                               ตกอยูในภาวะความเป็นสัตว์กจ�ำต้องทนรับเสวยไป สัตว์เดรัจฉาน
                                                                                            ่                        ็
อยู่โดยเจ้าตัวไม่รู้เท่านั้น ไม่สนใจคิดว่าเขาเติบโตมาจากท่านทั้ง                      ก็ยงมีและเสวยกรรมไปตามวิบากของมัน มิให้ประมาทเขาว่าเป็น
                                                                                         ั
สอง ซึ่งเป็นแรงหนุนร่างกายชีวิตจิตใจเขาให้เจริญเติบโตมาจน                             สัตว์ที่เกิดในก�ำเนิดต�่ำทราม ความจริงเขาเพียงเสวยกรรมตาม
ถึงปัจจุบัน การดื่มกินเป็นการสร้างสุขภาพความเจริญเติบโตแก่                            วาระที่เวียนมาถึงเท่านั้น เช่นเดียวกับมนุษย์ขณะที่ตกอยู่ในความ
ร่างกายไม่จัดว่าเป็นกรรม                                                              ทุกข์จนข้นแค้นก็จ�ำต้องทนเอาจนกว่าจะสิ้นกรรม
52 สั ต ว์ โ ล ก ย่ อ ม เ ป็ น ไ ป ต า ม ก ร ร ม   53   ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต


        เมือมนุษย์เราเกิดเสวยชาติเป็นคน มีสขบ้างมีทกข์บางตาม
            ่                                ุ     ุ ้
วาระของกรรมที่อ�ำนวย มนุษย์ก็มีกรรมชนิดหนึ่งที่พาให้มาเป็น
เช่นนี้ ซึ่งล้วนผ่านก�ำเนิดต่างๆ มาจนนับไม่ถ้วน ให้ตระหนักใน
กรรมของสัตว์ว่ามีต่างๆ กัน
        เพราะฉะนั้น ไม่ให้ดูถูกเหยียดหยามในชาติก�ำเนิดความ
เป็นอยูของกันและกัน และสอนให้รวาสัตว์ทงหลายมีกรรมดีกรรม
        ่                          ู้ ่   ั้
ชั่วเป็นของๆ ตน
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรPanda Jing
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์niralai
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์guest3650b2
 

Was ist angesagt? (16)

หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
เกด
เกดเกด
เกด
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 
วรรณศิลป์
วรรณศิลป์วรรณศิลป์
วรรณศิลป์
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
งานโจ
งานโจงานโจ
งานโจ
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
งาน
งานงาน
งาน
 

Andere mochten auch

สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพานสุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพานTongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สัจจบารมี เมตตาบารมี
สนอง วรอุไร   สัจจบารมี เมตตาบารมีสนอง วรอุไร   สัจจบารมี เมตตาบารมี
สนอง วรอุไร สัจจบารมี เมตตาบารมีTongsamut vorasan
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
จตุกกะ คือ หมวด ๔
จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔
จตุกกะ คือ หมวด ๔Tongsamut vorasan
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตรสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตรTongsamut vorasan
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
หวีด บัวเผื่อน จิตเป็นอมตะ
หวีด บัวเผื่อน   จิตเป็นอมตะหวีด บัวเผื่อน   จิตเป็นอมตะ
หวีด บัวเผื่อน จิตเป็นอมตะTongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13Tongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10Tongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17Tongsamut vorasan
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยTongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์Tongsamut vorasan
 
แหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งแหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งTongsamut vorasan
 

Andere mochten auch (19)

เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพานสุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
 
สนอง วรอุไร สัจจบารมี เมตตาบารมี
สนอง วรอุไร   สัจจบารมี เมตตาบารมีสนอง วรอุไร   สัจจบารมี เมตตาบารมี
สนอง วรอุไร สัจจบารมี เมตตาบารมี
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
จตุกกะ คือ หมวด ๔
จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔
จตุกกะ คือ หมวด ๔
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตรสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
 
หวีด บัวเผื่อน จิตเป็นอมตะ
หวีด บัวเผื่อน   จิตเป็นอมตะหวีด บัวเผื่อน   จิตเป็นอมตะ
หวีด บัวเผื่อน จิตเป็นอมตะ
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 10
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์
 
มนต์พิธี
มนต์พิธีมนต์พิธี
มนต์พิธี
 
แหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งแหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่ง
 

Ähnlich wie หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม

ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวKaiwan Hongladaromp
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวTum Nuttaporn Voonklinhom
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมnidkybynew
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมnidkybynew
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypracticeTongsamut vorasan
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasatiTongsamut vorasan
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcoolTongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14Tongsamut vorasan
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปดTongsamut vorasan
 

Ähnlich wie หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม (20)

ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรม
 
ธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรมธรรมะกฎแห่งกรรม
ธรรมะกฎแห่งกรรม
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 

Mehr von Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

Mehr von Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม

  • 1.
  • 2. 2 3 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
  • 3. 2 3 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ชมรมกัลยาณธรรม ม าณธรร หนังสือดีล�ำดับที่ ๙๘ ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม คำนำจากชมรมกลย ค น ั หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต พิมพ์ครั้งที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ถ้าได้มีโอกาสศึกษาชีวประวัติของพระเถรานุเถระ บูรพาจารย์ จำ�นวนพิมพ์ ๕,๐๐๐ เล่ม มาแล้วในจ�ำนวนมาก เราจะเห็นได้ประการหนึงว่า พระอริยสาวกทังหลาย ่ ้ จัดพิมพ์โดย ชมรมกัลยาณธรรม ดังกล่าวมานี้ เต็มไปด้วยภูมิธรรม ภูมิปัญญา งดงามด้วยศีลาจริยาวัตร ๑๐๐ ถนนประโคนชัย ตำ�บลปากน้ำ� คู่ควรแก่ความเลื่อมใสศรัทธาเหนือเกล้าเหนือเศียรแก่สานุชนทั้งหลาย อำ�เภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๖๓๕-๓๙๙๘ เป็นอย่างยิ่ง ภาพปก/ภาพประกอบ เซมเบ้ จัดรูปเล่ม คนข้างหลัง เราจะเห็นว่า  พระอริยสงฆ์  บูรพคณาจารย์ที่เราน้อมศรัทธา แยกสี canna graphic โทร. ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑ ทั้งหลายนั้น หลายท่านมีพ่อแม่ครูบาอาจารย์ที่อบรมธรรมให้พวกท่าน จัดพิมพ์โดย บริษัท ขุมทองอุตสาหกรรมการพิมพ์ จำ�กัด ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓ ทั้งหลาย ชื่อของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ นับเป็นพระอาจารย์ สุดยอดพระนักกัมมัฎฐาน ที่มีลูกศิษย์ลูกหาทั่วประเทศ สัพพทานัง ธัมมทานัง ชินาติ ท่านเป็นต้นแบบ เป็นยอดของพระอริยสงฆ์ในสายวิปัสสนา ที่ การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ทั้งปวง พวกเราควรศึกษาเป็นแบบอย่างในแนวทางปฏิปทาอันสละชีวิตอุทิศเพื่อ www.kanlayanatam.com
  • 4. 4 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 5 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต พระธรรมเป็นอย่างยิ่ง การบ�ำเพ็ญเพียรธรรมของท่านถือเป็นแบบอย่าง อันอุกฤษฏ์และมุ่งมั่น ท่านสามารถหยั่งรู้ถึงกรรมและหยั่งรู้ถึงจิตใจ ของเหล่าสรรพสัตว์น้อยใหญ่อย่างลึกซึ้ง ตลอดจนสามารถพูดคุยกับ สิงสาราสัตว์ต่างๆ เป็นที่เข้าใจได้ ธรรมะหรือบทธรรมที่ออกมาจากปาก ของท่าน ช่างจับจิตจับใจของสาธุชนเป็นอย่างยิ่ง สารบัญ ท่านคือ พระอริยสงฆ์ทยงใหญ่ทสดในยุคสมัยหนึง ทียากจะหาใคร ี่ ิ่ ี่ ุ ่ ่ เทียบเทียมได้ ท่านคือ เอกองค์บูรพาจารย์ ผู้มุ่งการบ�ำเพ็ญเพียรภาวนา ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นมตฺถุ สุคตสฺส ปญฺจ ธมฺมขนฺธานิ ๗ เนื่องในมงคลวาระ ครบรอบ ๖๐ ปี แห่งการละสังขาร ของท่าน ทาน ศีล ภาวนา ๒๕ พระอาจารย์มน ภูรทตตเถระ ในพุทธศักราช ๒๕๕๒ ชมรมกัลยาณธรรม ั่ ิ ั ขอจัดพิมพ์หนังสือขันธะวิมุติสะมังคีธรรมเล่มนี้ เพื่อแจกเป็นธรรมทาน คนดีมีศีลธรรม ๓๙ น้อมถวายแด่องค์บรพาจารย์ ด้วยความเคารพศรัทธาเหนือเศียรเกล้า หวัง ู สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ๔๗ อานิสงส์ในธรรมทานนี้ จักได้เกื้อกูลเหล่าสรรพสัตว์ผู้แสวงหาหนทาง อานิสงส์ของการรักษาศีล ๕ ๕๕ พ้นทุกข์ ให้พบแสงสว่างแห่งปัญญา ตามรอยพระพุทธองค์และพระอริย สงฆ์สาวกทั้งหลายทั่วกันเทอญ วิธีปฏิบัติของผู้เล่าเรียนมาก ๖๑ ชมรมกัลยาณธรรม คติธรรมค�ำสอน ๖๕
  • 5. 6 7 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมะ นมตฺถุ สุคตสฺส ปญฺจ ธมฺมขนฺธานิ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมซึ่งพระสุคต  บรมศาสดาศากยมุนี สัมมาสัมพุทธเจ้า แลพระนวโลกุตตรธรรม ๙ ประการ และอริยสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ้านั้น บัดนี้ ข้าพเจ้าจักกล่าวซึ่งธรรมขันธ์  โดยสังเขปตามสติ ปัญญาฯ ยังมีท่านคนหนึ่งรักตัวคิดกลัวทุกข์  อยากได้สุขพ้นภัย เทียวผายผัน  เขาบอกว่าสุขมีทไหนก็อยากไป  แต่เทียวหมันไปมา ่ ี่ ่ ่
  • 6. 8 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 9 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต อยู่ช้านาน  นิสัยท่านนั้นรักตัวกลัวตายมาก  อยากจะพ้นแท้ๆ ทุกข์ไม่ม  คือกายคตาสติภาวนา  ชมเล่นให้เย็นใจหายเดือดร้อน ี เรื่องแก่ตาย  วันหนึ่งท่านรู้จริงซึ่งสมุทัยพวกสังขาร  ท่านก็ปะ หนทางจรอริยวงศ์  จะไปหรือไม่ไปฉันไม่เกณฑ์  ไม่หลอกเล่น ถ�้ำสนุกสุขไม่หาย  เปรียบเหมือนดังกายนี้เองฯ บอกความให้ตามจริง ชะโงกดูถ�้ำสนุกทุกข์คลาย  แสนสบายรู้ตัวเรื่องกลัวนั้นเบา แล้วกล่าวปริศนาท้าให้ตอบ ด�ำเนินไปเมินมาอยู่หน้าเขา  จะกลับไปป่าวร้องซึ่งพวกพ้องเล่า ปริศนานั้นว่า ระวิ่ง คือ อะไร ก็ ก ลัวเขาเหมาว่าเป็นบ้าบอ   สู้อยู่ผู้เดียวหาเรื่ อ งเครื่ อ งสงบ ตอบว่า วิงเร็ว คือวิญญาณอาการใจ  เดินเป็นแถวตามแนว ่ เป็นอันจบเรื่องคิดไม่ติดต่อ  ดีกว่าเที่ยวรุ่มร่ามท�ำสอพลอ  เดี๋ยว กัน สัญญาตรงไม่สงสัย  ใจอยูในวิงไปมา สัญญาเหนียวภายนอก ่ ่ ถูกยอถูกติเป็นเรื่องเครื่องร�ำคาญฯ หลอกลวงจิต  ท�ำให้คดวุนวายเทียวส่ายหา  หลอกเป็นธรรมต่างๆ ิ ่ ่ อย่างมายา ยังมีบรษคนหนึง  คิดกลัวตายน�ำใจฝ่อ  มาหาแล้วพูดตรงๆ ุุ ่ ้ น่าสงสาร  ถามว่าท่านพากเพียรมาก็ช้านาน  เห็นธรรมที่แท้จริง ถามว่า ขันธ์ห้า ใครพ้นจนทั้งปวง แล้วหรือยังที่ใจหวัง  เอ๊ะ! ท�ำไมจึงรู้ใจฉัน  บุรุษผู้นั้นก็อยาก แก้วา ใจซิพนอยูคนเดียว  ไม่เกาะเกียวพัวพันติดสินพิษหวง ่ ้ ่ ่ ้ อยู่อาศัย  ท่านว่าดีดี ฉันอนุโมทนา  จะพาดูเขาใหญ่ถ�้ำสนุก หมดที่หลงอยู่เดียวดวง  สัญญาลวงไม่ได้หมายหลงตามไป
  • 7. 10 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 11 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ถามว่า ที่ว่าตาย ใครเขาตาย ที่ไหนกัน ใจก็นั่งแท่นนิ่งทิ้งอาลัย แก้ว่า สังขารเขาตาย ท�ำลายผล ถามว่า สระสี่เหลี่ยมเปี่ยมด้วยน�้ำ ถามว่า สิ่งใดก่อให้ต่อวน แก้วา ธรรมสินอยากจากสงสัย  ใสสะอาดหมดราคีไม่มภย ่ ้ ีั แก้ว่า กลสัญญาพาให้เวียน  เชื่อสัญญาจึงผิดคิดยินดี สัญญาในนั้นพราก สังขารขันธ์นั้นไม่กวน  ใจจึงเปี่ยมเต็มที่ไม่มี ออกจากภพนีไปภพนันเทียวหันเหียน  เลยลืมจิตจ�ำปิดสนิทเนียน ้ ้ ่ พร่อง  เงียบระงับดวงจิตไม่คดครวญ  เป็นของควรชมชืนทุกคืนวัน ิ ่ ถึงจะเพียรหาธรรมก็ไม่เห็น แม้ ไ ด้ ส มบั ติ ทิ พ ย์ สั ก สิ บ แสน   หาแม้ น เหมื อ นรู ้ จ ริ ง ทิ้ ง สั ง ขาร หมดความอยากเป็นยิ่งสิ่งส�ำคัญ  จ�ำอยู่ส่วนจ�ำ ไม่ก�้ำเกิน ใจ ถามว่า ใครก�ำหนดใครหมายเป็นธรรม ไม่เพลินทั้งสิ้นหายดิ้นรน แก้วา ใจก�ำหนดใจหมาย  เรืองหาเจ้าสัญญานันเอง  คือว่า ่ ่ ้ ดีว่าชั่ว ผลัก ติด รัก ชัง เหมือนดังเอากระจกส่องเงาหน้า  แล้วอย่าคิดติดสัญญา เพราะสัญญานันเหมือนดังเงา  อย่าได้เมาไปตามเรืองเครืองสังขาร ้ ่ ่ ถามว่า กินหนเดียวไม่เที่ยวกิน ใจขยับจับใจที่ไม่ปน  ไหวส่วนตนรู้แน่เพราะแปรไป  ใจไม่เที่ยง แก้ว่า สิ้นอยากดูไม่รู้หวัง  ในเรื่องเห็นต่อไปหายรุงรัง ของใจใช่ต้องว่า  รู้ขันธ์ห้าต่างชนิดเมื่อจิตไหว  แต่ก่อนนั้น
  • 8. 12 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 13 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต หลงสัญญาว่าเป็นใจ  ส�ำคัญว่าในว่านอกจึงหลอกลวง  คราวนีใจ ้ ถามว่า ห้าหน้าที่ มีครบกัน เป็นใหญ่ไม่หมายพึ่ง  สัญญาหนึ่งสัญญาใดมิได้ห่วง  เกิดก็ตาม ตอบว่า ขันธ์แบ่งแจกแยกห้าฐานเรื่องสังขาร  ต่างกองรับ ดับก็ตามสิ่งทั้งปวง  ไม่ต้องหวงไม่ต้องกันหมู่สัญญา  เปรียบ หน้ า ที่ มี กิ จ การ    จะรั บ งานอื่ น ไม่ ไ ด้ เ ต็ ม ในตั ว    แม้ ล าภยศ เหมื อ นขึ้ น ยอดเขาสู ง แท้ แ ลเห็ น ดิ น    แลเห็ น สิ้ น ทุ ก ตั ว สั ต ว์ ... สรรเสริญ เจริญสุข นินทา ทุกข์ เสือมยศ หมดลาภทัว รวมลงตาม ่ ่ สูงยิงนักแลเห็นเรืองของตนแต่ตนมา  เป็นมรรคาทังนันเช่นบันได ่ ่ ้ ้ ้ สภาพตามเป็นจริง  ทังแปดสิงใจไม่หนไปพัวพัน  เพราะว่ารูปขันธ์ ้ ่ ั ก็ท�ำแก่ไข้มิได้เว้น  นามก็มิได้พักเหมือนจักรยนต์  เพราะรับผล ถามว่า น�้ำขึ้นลงตรงสัจจังนั้นหรือ ของกรรมทีทำมา  เรืองดีพาเพลิดเพลินเจริญใจ  เรืองชัวขุนวุนจิต ่� ่ ่ ่ ่ ่ ตอบว่า สังขารแปรแก้ไม่ได้  ธรรมดากรรมแต่งไม่แกล้งใคร คิดไม่หยุด  เหมือนไฟจุดจิตหมองไม่ผ่องใส  นึกขึ้นเองทั้งรัก ขืนผลักไสจับต้องก็หมองมัว  ชั่วในจิต ไม่ต้องคิดขัดธรรมดา ทั้งโกรธไปโทษใคร สภาวะสิ่ ง เป็ น จริ ง ดี ชั่ ว    ตามแต่ เ รื่ อ งของเรื่ อ งเปลื้ อ งแต่ ตั ว ไม่พัวพันสังขารเป็นการเย็น  รู้จักจริงต้องทิ้งสังขารที่ผันแปร อยากไม่แก่ไม่ตายได้หรือคน  เป็นของพ้นวิสัยจะได้เชย เมื่อแลเห็น  เบื่อแล้วปล่อยได้คล่องไม่ต้องเกณฑ์  ธรรมก็เย็นใจ เช่นไม่อยากให้จิตเที่ยวคิดรู้  อยากให้อยู่เป็นหนึ่งหวังพึ่งเฉย ระงับรับอาการ จิตเป็นของผันแปรไม่แน่เลย  สัญญาเคยอยู่ได้บ้างเป็นครั้งคราว ถ้ารู้เท่าธรรมดาทั้งห้าขันธ์  ใจนั้นก็ขาวสะอาดหมดมลทินสิ้น
  • 9. 14 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 15 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต เรื่องราว  ถ้ารู้ได้อย่างนี้จึงดียิ่ง  เพราะเห็นจริงถอนหลุดสุดวิถี นั้นแล องค์ธรรมเอก วิเวกจริง  ธรรมเป็นหนึ่งไม่แปรผัน ไม่ฝ่าฝืนธรรมดาตามเป็นจริง  จะจนจะมีตามเรื่องเครื่องนอกใน เลิศภพสงบยิ่ง  เป็นอารมณ์ของใจไม่ไหวติง  ระงับนิ่งเงียบสงัด ดี ห รื อ ชั่ ว ต้ อ งดั บ เลื่ อ นลั บ ไป    ยึ ด สิ่ ง ใดไม่ ไ ด้ ต ามใจหมาย ชัดกับใจ  ใจก็สร่างจากเมาหายเร่าร้อน  ความอยากถอนได้หมด ใจไม่เทียง ของใจไหววิบวับ  สังเกตจับรูได้สบายยิง  เล็กบังใหญ่ ่ ้ ่ ปลดสงสัย  เรื่องพัวพันขันธ์ซาสิ้นไป  เครื่องหมุนในไตรจักร รู้ไม่ทันขันธ์บังธรรมมิดผิดที่นี่ มัวดูขันธ์ธรรมไม่เห็นเป็นธุลีไป ก็หักลง  ความอยากใหญ่ยิ่งก็ทิ้งหลุด ความรักหยุดหายสนิท ส่วนธรรมมีใหญ่กว่าขันธ์นั้นไม่แล สิ้นพิศวง  ร้อนทั้งปวงก็หายหมดดังใจจง ถามว่า มีไม่ม ไม่มีม นี้คืออะไร ี ี เชิญโปรดชี้อีกอย่างหนทางใจ  สมุทัยของจิตที่ปิดธรรม ทีนตดหมด คิดแก้ไม่ไหว  เชิญชีให้ชดทังอรรถแปล  โปรด ี้ ิ ้ ั ้ แก้ว่า สมุทัยกว้างใหญ่นัก  ย่อลงก็คือความรักบีบใจอาลัย แก้เถิด ที่ว่าเกิดมีต่างๆ ทั้งเหตุผล  แล้วดับไม่มีชัดใช่สัตว์คน ขันธ์  ถ้าธรรมมีกับจิตเป็นนิจนิรันดร์  เป็นเลิกกันสมุทัยมิได้มี นี้ข้อต้นมีไม่มีอย่างนี้ตรง  ข้อปลายไม่มีมีนี้เป็นธรรม  ที่ลึกล�้ำ จงจ�ำไว้อย่างนี้วิถีจิต  ไม่ต้องคิดเวียนวนจนป่นปี้  ธรรมไม่มี ไตรภพจบประสงค์  ไม่มีสังขาร มีธรรมที่มั่นคง อยู่เป็นนิตย์ติดยินดี  ใจตกที่สมุทัยอาลัยตัว
  • 10. 16 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 17 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ว่าอย่างย่อทุกข์กับธรรมประจ�ำจิต  เอาจนคิดรู้เห็นจริง จึงเย็นทัว  จะสุขทุกข์เท่าไรมิได้กลัว  สร่างจากเครืองมัวคือสมุทย ่ ่ ั ไปที่ดี รู้เท่านี้ก็คลายหายความร้อน  พอพักผ่อนเสาะแสวงหา ทางหนี  จิตรูธรรมลืมจิตทีตดธุล  ใจรูธรรมทีเ่ ป็นสุข ขันธ์ทกข์แท้ ้ ่ิ ี ้ ุ แน่ประจ�ำ  ธรรมคงเป็นธรรม ขันธ์คงขันธ์เท่านันแล  ค�ำว่าเย็นสบาย ้ หายเดือดร้อน  หมายจิตถอนจากผิดที่ติดแก้  ส่วนสังขารขันธ์ ปราศจากสุ ข เป็ น ทุ ก ข์ แ ท้    เพราะต้ อ งแก่ ไ ข้ ต ายไม่ ว ายวั น จิตรู้ธรรมที่ล�้ำเลิศจิตก็ถอน  จากผิดเครื่องเศร้าหมองของแสลง ผิดเป็นโทษของใจอย่างร้ายแรง  เห็นธรรมแจ้ง ถอนผิดหมดพิษใจ จิ ตเห็นธรรมดีล้นที่พ้นผิด   พบปะธรรมเปลื้ อ งเครื่ อ งกระสั น มีสติอยู่ในตัวไม่พัวพัน  เรื่องรักขันธ์ขาดสิ้นหายยินดี  สิ้นธุลีทั้ง ปวงหมดห่วงใย  ถึงจะคิดก็ไม่หามตามนิสย  เมือไม่หามกลับไม่ฟง ้ ั ่ ้ ุ้ พ้นยุ่งไป  พึงรู้ได้บาปมีขึ้นเพราะขืนจริง ตอบว่า บาปเกิดได้ เพราะไม่รู้ถ้าปิดประตูเขลาได้สบายยิ่ง  ชั่วทั้งปวงเงียบหาย
  • 11. 18 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 19 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ไม่ไหวติง  ขันธ์ทุกสิ่งย่อมทุกข์ไม่สุขเลย ก็มาชวน  ยกกระบวนทุกอย่างต่างๆ ไป แต่ก่อนข้าพเจ้ามืดเขลาเหมือนเข้าถ�้ำ  อยากเห็นธรรม เพราะยึดขันธ์ทั้งห้าว่าของตน  จึงไม่พ้นทุกข์ภัยไปได้นา ยึดใจจะให้เฉย  ยึดความจ�ำว่าเป็นใจหมายจนเคย  เลยเพลิน ถ้ารู้โทษของตัวแล้วอย่าชาเฉย  ดูอาการสังขารที่ไม่เที่ยงร�่ำไป เชยชม “จ�ำ” ธรรมมานาน  ความจ�ำผิดปิดไว้ไม่ให้เห็น  จึงหลง ให้ใจเคย  คงได้เชยชมธรรมะอันเอกวิเวกจิต  ไม่เทียงนันหมายใจ ่ ้ เล่นขันธ์ห้าน่าสงสาร ให้ยกตัวอวดตนพ้นประมาณ เที่ยวระราน ไหวจากจ�ำ  เห็นแล้วซ�ำดูๆ อยูทไหว  พออารมณ์นอกดับระงับไป ้ ่ ี่ ติคนอืนเป็นพืนไป  ไม่เป็นผล เทียวดูโทษคนอืนนันขืนใจ  เหมือน ่ ้ ่ ่ ้ ่ หมดปรากฏธรรม  เห็นธรรมแล้วย่อมหายวุ่นวายจิต  จิตนั้น ก่อไฟเผาตัวต้องมัวมอม ไม่ติดคู่จริงเท่านี้หมดประตู  รู้ไม่รู้อย่างนี้วิถีใจ  รู้เท่าที่ไม่เที่ยง จิตต้นพ้นริเริ่ม  คงจิตเดิมอย่างเที่ยงแท้  รู้ต้นจิตพ้นจากผิด ใครผิดถูกดีชวก็ตวเขา  ใจของเราเพียรระวังตังถนอม  อย่า ั่ ั ้ ทั้งปวงไม่ห่วง  ถ้าออกไปปลายจิตผิดทันที ให้อกุศลวนมาตอม  ควรถึงพร้อมบุญกุศลผลสบาย  เห็นคนอื่น เขาชั่วตัวก็ดี  เป็นราคียึดขันธ์ที่มั่นหมาย  ยึดขันธ์ต้องร้อนแท้ ค�ำทีวามืดนันเพราะจิตคิดหวงดี  จิตหวงนีปลายจิตคิดออก ่่ ้ ้ เพราะแก่ตาย  เลยซ�ำร้ายกิเลสกลุมเข้ารุมกวน  เต็มทังรักทังโกรธ ้ ้ ้ ้ ไป  จิตต้นดีเมื่อธรรมะปรากฏหมดสงสัย  เห็นธรรมอันเลิศล�้ำ โทษประจักษ์  ทั้งกลัวนักหนักจิตคิดโหยหวน  ซ�้ำอารมณ์กามห้า โลกา   เรื่ อ งคิ ด ค้ น วุ ่ น หามาแต่ ก ่ อ น  ก็ เ ลิ ก ถอนเปลื้ อ งปลด
  • 12. 20 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 21 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ได้หมดสิน  ยังมีทกข์ตองหลับนอนกับกินไปตามเรือง  ใจเชืองชิด ้ ุ ้ ่ ่ รู้อยู่เพราะหมายคู่ก็ไม่ใช่  จิตคงรู้จิตเองเพราะเพลงไหว ต้ น จิ ต คิ ด ไม่ ค รวญ    ธรรมดาของจิ ต ก็ ต ้ อ งนึ ก คิ ด    พอรู ้ สึ ก จิตรูไหวๆ ก็จิตติดกันไป  แยกไม่ได้ตามจริงสิงเดียวกัน  จิตเป็น ้ ่ จิตต้นพ้นโหยหวยเงียบสงัดจากเรืองเครืองรบกวน  ธรรมดาสังขาร ่ ่ สองอาการเรียกว่าสัญญาพาพัวพัน  ไม่เทียงนันก็ตวเองไปเล็งใคร ่ ้ ั ปรากฏหมดด้วยกัน  เสื่อมทั้งนั้นคงที่ไม่มีเลย ใจรูเ้ สือมของตัวก็พนมัวมืด  ใจก็จดสินรสหมดสงสัย  ขาดค้นคว้า ่ ้ ื ้ หาเรื่องเครื่องนอกใน  ความอาลัยทั้งปวงก็ร่วงโรย  ทั้งโกรธรัก ระวังใจเมื่อจ�ำท�ำละเอียด  มักจะเบียดให้จิตไปติดเฉย เครื่ อ งหนั ก ใจก็ ไ ปจาก    เรื่ อ งใจอยากก็ ห ยุ ด ได้ ห ายหวนโหย ใจไม่เที่ยงของใจซ�้ำให้เคย  เมื่อถึงเอยหากรู้เองเพลงของใจ พ้นหนักใจทังหลายโอดโอย  เหมือนฝนโปรยใจ ใจเย็นเห็นด้วยใจ ้ เหมือนดังมายาที่หลอกลวง  ท่านว่าวิปัสสนูปกิเลสจ�ำแลงเพศ ใจเย็นเพราะไม่ต้องเที่ยวมองคน  รู้จิตต้นปัจจุบันพ้นหวั่นไหว เหมื อ นดั ง จริ ง ที่ แ ท้ ไ ม่ จ ริ ง    รู ้ ขึ้ น เองหมายนามว่ า ความเห็ น ดี ห รื อ ชั่ ว ทั้ ง ปวงไม่ ห ่ ว งใย     ต้ อ งดั บ ไปทั้ ง เรื่ อ งเครื่ อ งรุ ง รั ง ไม่ใช่เช่นฟังเข้าใจชั้นไต่ถาม  ทั้งตรึกตรองแยกแยะแกะรูปนาม อยู ่ เ งี ย บๆ ต้ น จิ ต ไม่ คิ ด อ่ า น   ตามแต่ ก ารของจิ ต สิ้ น คิ ด หวั ง ก็ใช่ความเห็นเองจงเล็งดู  รู้ขึ้นเองใช่เพลงคิด  รู้ต้นจิต จิตต้น ไม่ต้องวุ่นต้องวายหายระวัง  นอนหรือนั่งนึกพ้นอยู่ต้นจิต พ้นโหยหวนต้นจิตรู้ตวแน่ว่าสังขาร  เรื่องแปรปรวนใช่กระบวนไป ั ดูหรือรู้อะไร ท่านชี้มรรคฟังหลักแหลม  ช่างต่อแต้มกว้างขวางสว่างไสว ยังอีกอย่างทางใจไม่หลุดสมุทย  ขอจงโปรดชีให้พสดารเป็นการดี ั ้ ิ
  • 13. 22 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 23 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ตอบว่ า   สมุ ทั ย   คื อ   อาลั ย รั ก    เพลิ น ยิ่ ง นั ก ท� ำ ภพใหม่ เรื่องอยากดีไม่หยุดคือตัวสมุทัย  เป็นโทษใหญ่กลัวจะไม่ดีนี้ก็แรง ไม่หน่ายหนี  ว่าอย่างต�่ำกามคุณห้าเป็นราคี อย่างสูงชี้สมุทัย ดีแลไม่ดีนี้เป็นพิษของจิตนัก  เหมือนไข้หนักถูกต้องของแสลง อาลัยฌาน ถ้าจับตามวิถี มีในจิตก็เรื่องคิดเพลินไปในสังขาร ก�ำเริบโรคด้วยพิษผิดส�ำแลง  ธรรมไม่แจ้งเพราะอยากดีนี้เป็น เพลิ น ทั้ ง ปวงเคยมาเสี ย ช้ า นานกลั บ เป็ น การดี ไ ปให้ เ จริ ญ เดิม  ความอยากดีมีมากมักลากจิต  ให้เที่ยวคิดวุ่นไปจนใจเหิม จิตไปในส่วนที่ผิด ก็เลยแตกกิ่งก้านฟุ้งซ่านใหญ่ เที่ยวเพลินไป สรรพชั่ ว มั ว หมองก็ ต ้ อ งเติ ม    ผิ ด ยิ่ ง เพิ่ ม ร�่ ำ ไปไกลจากธรรม ในผิดไม่คิดเขิน สิ่งใดชอบอารมณ์ก็ชมเพลิน เพลินจนเกินลืมตัว ที่ จ ริ ง ชี้ ส มุ ทั ย นี้ ใ จฉั น คร้ า ม   ฟั ง เนื้ อ ความไปข้ า งนุ ง ทางยุ ่ ง ยิ่ ง ไม่กลัวภัย เมื่อชี้มรรคฟังใจไม่ไหวติง ระงับนิ่งใจสงบจบกันทีฯ อันนี้ชื่อว่าขันธวิมุติสะมังคีธรรมประจ�ำอยู่กับที่ไม่มีอาการ เพลินดูโทษคนอื่นดื่นด้วยชั่ว  โทษของตัวไม่เห็นเป็นไฉน ไปไม่มีอาการมา  สภาวธรรมที่เป็นจริงสิ่งเดียวเท่านี้  และไม่มี โทษคนอืนเขามากสักเท่าไร  ไม่ทำให้เราตกนรกเลย  โทษของเรา ่ � เรื่องจะแวะเวียน สิ้นเนื้อความแต่เพียงเท่านี้ฯ เศร้าหมองไม่ตองมาก  ส่งวิบากไปตกนรกแสนสาหัส  หมันดูโทษ ้ ่ ผิดหรือถูกจงใช้ปัญญาตรองดูให้รู้เถิดฯ ตนไว้ให้ใจเคย  เว้นเสียซึ่งโทษนั้น คงได้เชยชมสุขพ้นทุกข์ภัย พระภูริทัตโตฯ (มั่น) เมื่อเห็นโทษตนชัดรีบตัดทิ้ง  ท�ำอ้อยอิ่งคิดมากจากไม่ได้ วัดสระประทุมวัน เป็นผู้แต่งฯ
  • 14. 24 25 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ทาน ศีล ภาวนา ทาน คือ เครืองแสดงน�ำใจของมนุษย์ผมจตใจสูง มีเมตตา ่ ้ ู้ ี ิ จิตต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์ด้วยการให้ การเสียสละแบ่งปัน มาก น้อยตามก�ำลังของวัตถุเครื่องสงเคราะห์ที่มีอยู่ จะเป็นวัตถุทาน ธรรมทานหรือวิทยาทาน เพือสงเคราะห์ผอนโดยไม่หวังสิงตอบแทน ่ ู้ ื่ ่ ใดๆ นอกจากกุศล คือ ความดีที่ได้จากทานนั้น เป็นสิ่งตอบแทน ที่เจ้าของทานได้รับอยู่โดยดีเท่านั้น อภัยทานควรให้แก่กันเมื่ออีก ฝ่ายหนึ่งผิดพลาดหรือล่วงเกิน
  • 15. 26 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 27 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต คนมีทานย่อมเป็นผู้สง่าผ่าเผยและเด่นในปวงชน เป็นที่ ได้โดยปลอดภัย แม้โลกเจริญด้วยวัตถุจนกองสูงกว่าพระอาทิตย์ เคารพรักในหมู่ชน จะตกอยู่ทิศใดย่อมไม่อดอยากขาดแคลน แต่ความรุ่มร้อนแผดเผาจะทวีคูณยิ่งกว่าพระอาทิตย์ ถ้ามัวคิดว่า จะมีสิ่งหรือผู้อุปถัมภ์จนได้ ไม่อับจนทนทุกข์ ผู้มีทานประดับตน วัตถุมีค่ามากกว่าศีลธรรม ศีลธรรมเป็นเพียงสมบัติของมนุษย์ ย่อมไม่เป็นคนล้าสมัย บุคคลทุกชั้นไม่รังเกียจ พระพุ ท ธเจ้ า ผู ้ ค ้ น พบและน� ำ มาประดั บ โลกที่ ก� ำ ลั ง มื ด มิ ด ให้ สว่างไสว ร่มเย็นด้วยอ�ำนาจศีลธรรมเป็นเครื่องปัดเป่า ผูมทานย่อมเป็นผูอบอุน หนุนโลกให้ชมเย็น การเสียสละจึง ้ี ้ ่ ุ่ เป็นเครืองค�ำจุนหนุนโลก การสงเคราะห์กนท�ำให้โลกมีความหมาย ่ ้ ั ความคิดของมนุษย์ผู้มีกิเลส ผลิตอะไรออกมาท�ำให้โลก ตลอดไป ไม่เป็นโลกที่ไร้ชาติขาดกระเจิง เหลือแต่ซากแผ่นดิน ร้อนจะบรรลัยอยู่แล้ว ยิ่งปล่อยให้ความคิดตามอ�ำนาจโดยไม่มี ไม่แห้งแล้งแข่งกันทุกข์ตลอดไป ศีลธรรมช่วยเป็นยาชโลมไว้บ้าง จะผลิตยักษ์ใหญ่ทรงพิษขึ้นมา กว้าน กินมนุษย์จนไม่มีอะไรเหลืออยู่บ้างเลย ความคิดของคน ศีล คือ รั้วกั้นความเบียดเบียนและท�ำลายสมบัติร่างกาย สินกิเลสทีทรงคุณอย่างสูง คือพระพุทธเจ้า มีผลให้โลกได้รบความ ้ ่ ั และจิตของกันและกัน ศีล คือ พืชแห่งความดีอันยอดเยี่ยมที่ควร ร่มเย็นซาบซึง กับความคิดทีเ่ ป็นกิเลสมีผลให้ตนเองและผูอนได้รบ ้ ้ ื่ ั มีประจ�ำชาติมนุษย์ ไม่ปล่อยให้สูญหายไป เพราะมนุษย์ไม่มีศีล ความเดือดร้อนจนคาดไม่ถึงผิดกันอยู่มาก  ควรหาทางแก้ไข เป็นรั้วกั้น เป็นเครื่องประดับตัว จะไม่มีที่ให้ซุกหัวนอนหลับสนิท ผ่อนหนักให้เบาลงก่อนจะหมดทางแก้ไข ศีลจึงเป็นเหมือนยาปราบ
  • 16. 28 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 29 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต โรค ทั้งโรคระบาดและเรื้อรัง การภาวนาจึงเป็นงานเพื่อผลในปัจจุบันและอนาคต การ งานทุกชนิด ที่ท�ำ ด้วยใจของผู้มีภาวนาจะส� ำ เร็จลงด้วยความ ภาวนา คือ การอบรมใจให้ฉลาดเทียงตรงต่อเหตุผลอรรถ ่ เรียบร้อย ท�ำด้วยความใคร่ครวญเล็งถึงประโยชน์ที่จะได้รับ เป็น ธรรม รูจกวิธปฏิบตตอตัวเองและสิงทังหลาย ยึดการภาวนาเป็นรัว ้ั ี ัิ่ ่ ้ ้ ผู้มีหลักมีเหตุผล ถือหลักความถูกต้องเป็นเข็มทิศทางเดินของ กั้นความคิดฟุ้งของใจให้อยู่ในเหตุผลอันจะเป็นทางแห่งความ กาย วาจา ใจ ไม่เปิดช่องให้ความอยากอันไม่มีขอบเขตเข้ามา สงบสุข ใจทียงมิได้รบการอบรมจากภาวนา จึงเปรียบเหมือนสัตว์ ่ั ั เกี่ยวข้องเพราะความอยากดั้งเดิมเป็นไปตามอ�ำนาจของกิเลส ที่ยังมิได้รับการฝึกหัด ยังมิได้รับประโยชน์จากมันเท่าที่ควร จ�ำ ตัณหา ซึ่งไม่เคยสนใจต่อความผิดถูก ดีชั่ว พาเราเสียไปจนนับ ต้องฝึกหัดให้ท�ำประโยชน์ ถึงจะได้รับประโยชน์ตามควร ไม่ถ้วนประมาณไม่ถูก จะเอาโทษมันก็ไม่ได้ ยอมให้เสียไปอย่าง น่าเสียดาย ถ้าไม่มสติระลึกบ้างเลยแล้ว ของเก่าก็เสียไป ของใหม่ ี ใจจึงควรได้รับการอบรมให้รู้เรื่องของตัว จะเป็นผู้ควรแก่ ก็พลอยจมไปด้วยไม่มวนฟืนคืนตัว ฉะนัน การภาวนาจึงเป็นเครือง ีั ้ ้ ่ งานทังหลาย ทังส่วนเล็กส่วนใหญ่ภายนอกภายใน ผูมภาวนาเป็น ้ ้ ้ี หักล้างความไม่มีเหตุผลของตนได้ดี วิธีภาวนานั้นล�ำบากอยู่บ้าง หลักใจ จะท�ำอะไรชอบใช้ความคิดอ่านเสมอ ไม่เสี่ยงและไม่เกิด เพราะเป็นวิธีบังคับใจ ความเสียหายแก่ตนและผู้เกี่ยวข้อง
  • 17. 30 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 31 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต วิธีภาวนาก็คือวิธีสังเกตตัวเอง สังเกตจิตที่มีนิสัยหลุกหลิก ไม่อยู่เป็นปกติสุข ด้วยมีสติตามระลึกรู้ความเคลื่อนไหวของจิต โดยมีธรรมบทใดบทหนึงเป็นค�ำบริกรรม เพือเป็นยารักษาจิตใจให้ ่ ่ ทรงตัวอยู่ได้ด้วยความสงบสุขในขณะภาวนา ที่ให้ผลดีก็มี อานาปาณสติ คือ ก�ำหนดจิตตามลมหายใจ เข้าออกด้วยค�ำภาวนา พุทโธ พยายามบังคับใจให้อยู่กับอารมณ์ แห่งธรรมบททีนำมาบริกรรมขณะภาวนา พยายามท�ำอย่างนีเ้ สมอ ่� ด้วยความไม่ลดละความเพียร จิตที่เคยท�ำบาปหาบทุกข์อยู่เสมอ จะค่อยรูสกตัว และปล่อยวางไปเป็นล�ำดับ มีความสนใจหนักแน่น ้ึ ในหน้าที่ของตนเป็นประจ�ำ จิตที่สงบตัวลงเป็นสมาธิ เป็นจิตที่ มีความสุขเย็นใจมากและจ�ำไม่ลืม ปลุกใจให้ตื่นตัวและตื่นใจได้ อย่างน่าประหลาด
  • 18. 32 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 33 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต เมื่อพูดถึงการภาวนา บางท่านรู้สึกเหงาหงอยน้อยใจว่าตน จิตใจยังกล้าเอาตัวเข้าเสี่ยงแบกหามจนได้ มิหน�ำซ�้ำยังหอบเอา มีวาสนาน้อยท�ำไม่ไหว เพราะกิจการยุ่งยากทั้งภายในบ้านและ มาคิดเป็นการบ้านอีกจนนอนไม่หลับ รับประทานไม่ได้ก็มี ค�ำว่า นอกบ้าน ตลอดงานสังคมต่างๆ ที่ต้องเป็นธุระ จะมานั่งหลับตา หนักเกินไปยกไม่ไหวเกินก�ำลังใจจะคิดและต้านทานนั้นไม่มี ภาวนาอยู่ เห็นจะไม่ทันอยู่ทันกินกับโลกเขา ท�ำให้ไม่อยากท�ำ ประโยชน์ที่ควรได้ จึงเลยผ่านไป ควรพยายามแก้ไขเสียบัดนี้ งานทางกายยังมีเวลาพักผ่อนนอนหลับ และยังรูประมาณว่า ้ ควรหรือไม่ควรแก่กำลังของตนเพียงใด ส่วนงานทางใจไม่มเี วลาได้ � แท้จริงการภาวนา คือ วิธแก้ความยุงยากล�ำบากใจทุกประเภท ี ่ พักผ่อนเอาเลย พักได้เล็กน้อยขณะนอนหลับเท่านัน แม้เช่นนันจิต ้ ้ ทีเ่ ป็นภาระหนักให้เบาและหมดสินไป ได้อบายมาแก้ไขไล่ทกข์ออก ้ ุ ุ ยังอุตส่าห์ท�ำงานด้วยการละเมอเพ้อฝันต่อไปอีก ไม่รจกประมาณ ู้ ั จากตัว การอบรมใจด้วยการภาวนาก็เป็นวิธหนึงแห่งการรักษาตัว ี ่ ว่าเรื่องต่างๆ นั้นควรแก่ก�ำลังของใจเพียงใด เมื่อเกิดอะไรขึ้น เป็นวิธีที่เกี่ยวกับจิตใจผู้เป็นหัวหน้างานทุกด้าน ทราบแต่ว่าทุกข์เหลือทน ไม่ทราบว่าทุกข์เพราะงานหนักและเรื่อง เผ็ดร้อนเหลือก�ำลังใจจะสู้ไหว จิตจ�ำต้องเป็นตัวการรับภาระแบกหาม โดยไม่คำนึงถึงความ � หนักเบาว่าชนิดใดพอยกไหวไหม จิตต้องรับภาระทันที ดีชวผิดถูก ั่ ใจคือนักต่อสู้ ดีก็สู้ ชั่วก็สู้ สู้จนไม่รู้จักหยุดยั้งไตร่ตรอง หนักเบา เศร้าโศกเพียงใด บางเรื่องแทบเอาชีวิตไปด้วย ขณะนั้น สู้จนไม่รู้จักตาย หากปล่อยไปโดยไม่มีธรรมเป็นเครื่องยับยั้ง คง
  • 19. 34 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 35 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ไม่ได้รับความสุข แม้จะมีสมบัติก่ายกอง ได้ซ่อมสุขภาพจิต คือนั่งพินิจพิจารณาดูสังขารภายใน คือ ความ คิดปรุงแต่งของจิตว่าคิดอะไรบ้าง ในวันและเวลาที่นั่งๆ มีสาระ ธรรม เป็นเครื่องปกครองสมบัติและปกครองใจ ถ้าขาด ประโยชน์ไหม คิดแส่หาเรื่อง หาโทษ ขนทุกข์มาเผาตนอยู่นั้น ธรรมเพียงอย่างเดียว ความอยากของใจจะพยายามหาทรัพย์ ได้ พอรู้ผิดถูกของตัวบ้างไหม พิจารณาสังขารภายนอกว่ามีความ กองเท่าภูเขาก็ยงหาความสุขไม่เจอ ไม่มธรรมในใจเพียงอย่างเดียว ั ี เจริญขึ้นหรือเจริญลง สังขารร่างกายมีอะไรใหม่หรือมีความเก่า จะอยู่ในโลกใด กองสมบัติใด ก็เป็นเพียงโลกเศษเดนและกอง แก่ชราหลุดลงไป พยายามเตรียมตัวเตรียมใจเสียแต่เวลาที่พอจะ สมบัตเิ ดนเท่านัน ไม่มประโยชน์อะไรแก่จตใจแม้แต่นด ความทุกข์ ้ ี ิ ิ ท�ำได้ ตายแล้วจะเสียการ ทรมาน ความอดทน ทนทานต่อสิงกระทบกระทังต่างๆ ไม่มอะไร ่ ่ ี จะแข็งแกร่งเท่าใจ ถ้าได้รับความช่วยเหลือที่ถูกทาง ใจจะกลาย ให้ท่องอยู่ในใจเสมอว่า เรามีความแก่เจ็บตายอยู่ประจ�ำ เป็นของประเสริฐ ให้เจ้าของได้ชมอย่างภูมใจต่อเรืองทังหลายทันที ิ ่ ้ ตัวทั่วหน้ากัน ป่าช้าอันเป็นที่เผาศพภายนอก และป่าช้าที่ฝังศพ จิตเป็นสมบัตสำคัญมากในตัวเรา ทีควรได้รบการเหลียวแล ิ� ่ ั ภายในคือตัวเราเอง เป็นป่าช้าร้อยแปดพันเก้าแห่งศพที่น�ำมาฝัง ด้วยวิธเี ก็บรักษาให้ด ควรสนใจรับผิดชอบต่อจิตอันเป็นสมบัตทมี ี ิ ี่ ภายในหรือบรรจุอยู่ในตัวเราตลอดเวลา ทั้งศพใหม่ศพเก่าทุกวัน ค่ายิงของตน วิธทควรกับจิตโดยเฉพาะก็คอ ภาวนา ฝึกหัดภาวนา ่ ี ี่ ื ในโอกาสอันควร ควรตรวจดูจิตว่ามีอะไรบกพร่องและเสียไป จะ
  • 20. 36 ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม 37 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต พิจารณาธรรมสังเวช พิจารณาความตายเป็นอารมณ์ ย่อมมี ทาน ศีล ภาวนา ธรรมทัง ๓ นี เป็นรากแก้วของความเป็น ้ ้ ทางถอดถอนความเผลอเย่อหยิ่งในวันในชีวิตและวิทยฐานะต่างๆ มนุษย์ และเป็นรากเหง้าของพระศาสนา ผู้เกิดมาเป็นมนุษย์ต้อง ออกได้ จะเห็นโทษแห่งความบกพร่องของตัว และพยายามแก้ไข เป็นผู้เคยสั่งสมธรรมเหล่านี้มาอยู่ในนิสัยของผู้จะมาสวมร่างเป็น ได้เป็นล�ำดับมากกว่าจะไปเห็นโทษของคนอื่นแล้วมานินทาเขา มนุษย์ที่สมบูรณ์ด้วยมนุษย์สมบัติอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นความไม่ดีใส่ตน นี่ คื อ การภาวนา  คื อ วิ ธี เ ตือ นตน  สั่ ง สอนตน  ตรวจตรา ดูความบกพร่องของตนว่าควรแก้ไขจุดใดตรงไหนบ้าง ใช้ความ พิจารณาอยูทำนองนีเ้ รือยๆ ด้วยวิธสมาธิภาวนาบ้าง ด้วยการร�ำพึง ่� ่ ี ในอิริยาบทต่างๆ บ้าง ใจจะสงบเย็นไม่ล�ำพองผยองตัว และ ไม่เอาความทุกข์มาเผาลนตัวเอง เป็นผู้รู้จักประมาณในหน้าที่ การงานที่พอเหมาะพอดีแก่ตัวทั้งทางกายและทางใจ ไม่ลืมตัว มัวสุมในสิงทีเ่ ป็นหายนะต่างๆ คุณสมบัตของผูภาวนานีมมากมาย ่ ่ ิ ้ ้ี ไม่อาจพรรณนาให้จบสิ้นได้
  • 21. 38 39 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต คนดีมีศีลธรรม หาคนดีมศลธรรมในใจ หายากยิงกว่าเพชรนิลจินดา ได้คน ีี ่ เป็นคนดีเพียงคนเดียวย่อมมีคุณค่ามากกว่าเงินเป็นล้านๆ เพราะ เงินเป็นล้านๆ ไม่สามารถท�ำความร่มเย็นให้แก่โลกได้อย่างถึงใจ เหมือนได้คนดีมาท�ำประโยชน์
  • 22. 40 ท า น ศี ล ภ า ว น า 41 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต คนดีแม้เพียงคนเดียว ยังสามารถท�ำความเย็นให้แก่โลกได้ นิสัย ดี-ชั่ว สุข-ทุกข์ เพราะกฎของกรรมหรือกฎของตัวเองที่ท�ำ มากมายและยั่งยืน เช่นพระพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งหลายเป็น ขึ้น ไม่ใช่กฎของใครไปท�ำให้ ตัวท�ำเอาเอง ตัวอย่าง คนดีแต่ละคนมีคุณค่ามากกว่าเงินเป็นก่ายกอง เป็น คุณค่าแห่งความดีของตนที่จะท�ำต่อไปมากกว่าเงิน แม้จะจนก็ ของดีมีอยู่กับตัวเราทุกคน ก็พากันปฏิบัติเอา ท�ำเอา เมื่อ ยอมจน ขอแต่ให้ตัวดีและโลกมีความสุข เวลาตายแล้ววุนวาย หานิมนต์พระมากุสลามาติกา ไม่ใช่เกาถูกที่ ่ แต่คนโง่ชอบเงินมากกว่าคนดีและความดี ขอแต่ได้เงินแม้ คัน ต้องรีบแก้เสียแต่บดนี คือเร่งท�ำความดีแต่บดนี จะได้หายห่วง ั ้ ั ้ ตัวจะเป็นอย่างไรไม่สนใจคิดสนใจดู ถึงจะชั่วช้าลามกหรือแสน โสมมเพียงไรไม่หลีกห่าง ขนาดยมบาลเกลียดกลัวไม่ยอมนับเข้า อะไรๆ ที่เป็นสมบัติของโลก มิใช่สมบัติอันแท้จริงของเรา บัญชีผู้ต้องหา กลัวจะไปท�ำลายสัตว์นรกด้วยกันให้เดือนร้อน ขอ ตัวจริงไม่มใครเหลียวแล สมบัตในโลกเราแสวงหามา หามาทุจริต ี ิ แต่ได้เงินก็เป็นที่พอใจ ส่วนจะผิดถูกประการใดเขาไม่ยุ่งเกี่ยว ก็เป็นไฟเผา เผาตัวท�ำให้ฉิบหายได้จริงๆ ข้อนี้ขึ้นอยู่กับความ ฉลาดและความโง่เขลาของผู้แสวงหาแต่ละราย ท่านผู้พ้นทุกข์ไป คนดีกับคนชั่ว สมบัติเงินทองกับธรรมะคือคุณความดี ผิด ด้วยความอุตส่าห์สร้างความดีใส่ตนจนกลายเป็นสรณะของพวกเรา กันอย่างนี้แล ใครมีหูมีตาก็คิดแก้ไขเสียแต่บัดนี้ อย่าให้สายเกิน ท่านไม่เคยมีสมบัติเงินทองเครื่องหวงแหนเป็นคนร�ำรวย สวยงาม ่ แก้ ฉะนั้น สัตว์โลกจึงต่างกันทั้งภพก�ำเนิด รูปร่างลักษณะ จริต เฉพาะสมัย จึงพากันรักพากันห่วงจนไม่รู้จักเป็นรู้จักตาย ส�ำคัญ
  • 23. 42 ท า น ศี ล ภ า ว น า 43 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ตนว่าจะไม่ตายและพากันประมาทจนลืมตัว เพลิดเพลินตักตวง เมื่อมีผู้เตือนสติ ควรยึดมาเป็นธรรมค�ำสอน จะเป็นคนมี เอาแต่สิ่งไม่เป็นท่าใส่ตนแทบหาบไม่ไหว ขอบเขตมีเหตุผล ไม่ทำตามความอยาก เมือพยายามฝ่าฝืนให้เป็น � ่ ไปตามทางของนักปราชญ์ได้ จะประสบผลคือความสุขในปัจจุบน ั อย่าส�ำคัญตนว่าเก่งกาจสามารถฉลาดรู้กว่าเขาเลย ถึงกับ ทันตา แม้จะมิได้เป็นเจ้าของเงินล้าน แต่มีทางได้รับความสุขจาก สร้างความมืดมิดปิดตาทับถมตัวเองจนไม่มวนสร่างซา เมือถึงเวลา ีั ่ สมบัติและความประพฤติดีของตน จนตรอกอาจจนยิ่งกว่าสัตว์ ถ้าไม่เตรียมทราบไว้เสียแต่บัดนี้ คนฉลาดปกครองตนให้มีความสุขและปลอดภัย ไม่จ�ำเป็น ซึ่งอยู่ในฐานะอันควร อาตมาขออภัยด้วยถ้าพูดหยาบคายไป ต้องเทียวแสวงหาทรัพย์มากมาย หรือเทียวกอบโกยเงินเป็นล้านๆ ่ ่ แต่คำพูดทีสงสอนคนให้ละชัวท�ำความดี จัดเป็นหยาบคายอยูแล้ว � ่ ั่ ่ ่ มาเป็นเครื่องบ�ำรุงจึงมีความสุข ผู้มีสมบัติพอประมาณในทาง โลกเราก็จะถึงคราวหมดสิ้นศาสนา เพราะไม่มีผู้ยอมรับความจริง ที่ชอบมีความสุขมากกว่าผู้ได้มาในทางมิชอบเสียอีก เพราะนั่น การท�ำบาปหยาบคายมีมาประจ�ำแทบทุกคน ทังให้ผลเป็นทุกข์ตน ้ ไม่ใช่สมบัติของตนอย่างแท้จริง ทั้งๆ ที่อยู่ในกรรมสิทธิ์ แต่กฎ ยังไม่อาจรู้ได้ และต�ำหนิมันบ้างพอมีทางคิดแก้ไข แต่กลับต�ำหนิ ความจริงคือกรรม สาปแช่งไม่เห็นด้วย และให้ผลเป็นทุกข์ไม่สิ้น ค�ำสั่งสอนหยาบคาย ก็นับเป็นโรคที่หมดหวัง สุด นักปราชญ์ทานจึงกลัวกันนักหนา แต่คนโง่อย่างพวกเราผูชอบ ่ ้ สุกเอาเผากินและชอบเห็นแก่ตัว ไม่มีวันอิ่มพอ ไม่ประสบผลคือ ความสุขดังใจหมาย
  • 24. 44 ท า น ศี ล ภ า ว น า 45 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต คนหิวอยูเ่ ป็นปกติสขไม่ได้ จึงวิงหาโน่นหานี เจออะไรก็คว้า ุ ่ ่ ติดมือมาโดยไม่ส�ำนึกว่าผิดหรือถูก ครั้นแล้วสิ่งคว้ามาก็มาเผา ตัวเองให้ร้อนยิ่งกว่าไฟ คนที่หลงจึงต้องแสวงหา ถ้าไม่หลงก็ไม่ ต้องหา จะหาไปให้ล�ำบากท�ำไม อะไรๆ ก็มีอยู่กับตัวเองอย่าง สมบูรณ์อยูแล้ว จะตืนเงาตะครุบเงาไปท�ำไม เพราะรูอยูแล้วว่าเงา ่ ่ ้ ่ ไม่ใช่ตัวจริง ตัวจริงคือสัจจะทั้งสี่ที่มีอยู่ในกายในใจอย่างสมบูรณ์ แล้ว ความมั่งมีศรีสุขจะไม่บังเกิดแก่ผู้ทุจริตสร้างกรรมชั่ว มีมาก เท่าไหร่ย่อมหมดไป พ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ที่สร้างบาปกรรมไว้ ผลกรรมนั้นย่อมตกอยู่กับลูกหลานรุ่นหลังให้มีอันเป็นไป ผู้ทุจริต เบียดเบียนรังแกผู้อื่น จะหาความสุขความเจริญไม่ได้เลย
  • 25. 46 47 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต สัตว์โลก ย่อมเป็นไปตามกรรม เราทั้งหลายต่างเกิดมาด้วยวาสนา มีบุญพอเป็นมนุษย์ได้ อย่างเต็มภูมิ ดังที่ทราบอยู่แก่ใจ อย่าลืมตัวลืมวาสนา โดยลืม สร้างคุณงามความดีเสริมต่อ ภพชาติของเราที่เคยเป็นมนุษย์จะ เปลียนแปลงและกลับกลายหายไปเป็นชาติทตำทรามไม่ปรารถนา ่ ี่ �่ จะกลายมาเป็นตัวเราเขาแล้วแก้ไม่ตก
  • 26. 48 สั ต ว์ โ ล ก ย่ อ ม เ ป็ น ไ ป ต า ม ก ร ร ม 49 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต ความสูงศักดิ์ ความต�่ำทราม ความสุขทุกชั้นจนถึงบรมสุข กรรมเป็นของลึกลับและมีอ�ำนาจมาก ไม่มีผู้ใดหนีกฎแห่ง และความทุกข์จนเข้าขั้นมหันตทุกข์เหล่านี้ มีได้กับทุกคนตลอด กรรมได้เลย ถ้าเราสามารถรูเ้ ห็นกรรมดี กรรมชัว ทีตนและผูอนท�ำ ่ ่ ้ ื่ สัตว์ ถ้าตนเองท�ำให้มี อย่าเข้าใจว่ามีได้เฉพาะผู้ก�ำลังเสวยอยู่ ขึ้นเหมือนเห็นวัตถุต่างๆ จะไม่กล้าท�ำบาป แต่จะกระตือรือร้น เท่านั้น โดยผู้อื่นไม่มี เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นสมบัติกลาง แต่กลับ ท�ำแต่ความดี ซึ่งเป็นของเย็นเหมือนน�้ำ ความเดือดร้อนในโลกก็ กลายมาเป็นสมบัตจำเพาะของผูผลิตผูทำเองได้ ท่านจึงสอนไม่ให้ ิ� ้ ้� จะลดน้อยลงเพราะต่างก็รักษาตัว กลัวบาปอันตราย ดูถกเหยียดหยามกัน เราอาจมีเวลาเป็นเช่นนัน หรือยิงกว่านันก็ได้ ู ้ ่ ้ เมือถึงวาระเข้าจริงๆ ไม่มใครมีอำนาจหลีกเลียงได้ เพราะกรรมดี ่ ี � ่ ท่านว่าดีชั่วมิได้เกิดขึ้นเอง แต่อาศัยการท�ำบ่อยก็ชินไป กรรมชัวเรามีทางสร้างได้เช่นเดียวกับผูอน จึงมีทางเป็นได้เช่นเดียว ่ ้ ื่ เอง เมื่อชินแล้วก็กลายเป็นนิสัย ถ้าเป็นฝ่ายชั่วก็แก้ไขยาก คอย กับผู้อื่น และผู้อื่นก็มีทางเป็นได้เช่นเดียวกับที่เราเคยเป็น แต่จะไหลลงไปตามนิสัยที่เคยท�ำอยู่เสมอ ถ้าเป็นฝ่ายดีก็นับว่า คล่องแคล่วกล้าขึ้นเป็นล�ำดับ เราเกิดเป็นมนุษย์มีความสูงศักดิ์ ศาสนาเป็นหลักวิชาตรวจตราดูตัวเองและผู้อื่นได้อย่าง มากอย่าน�ำเรื่องของสัตว์มาประพฤติ มนุษย์เราจะต�่ำลงกว่าสัตว์ แม่นย�ำ ไม่มีวิชาใดในโลกเสมอเหมือน สิงดีชวที่มีและเกิดอยู่กับ ่ ั่ และจะเลวกว่าสัตว์อีกมากมาย อย่าพากันท�ำ ให้พากันละบาป ตนทุกระยะมีใจเป็นตัวการ พาให้สร้างกรรมประเภทต่างๆ จนเห็น บ�ำเพ็ญบุญท�ำแต่คุณความดี อย่าให้เสียชีวิตเปล่าที่มีวาสนาเกิด ได้ชัดว่ากรรมมีอยู่กับผู้ท�ำ มีใจเป็นเหตุของกรรมทั้งมวล มาเป็นมนุษย์
  • 27. 50 สั ต ว์ โ ล ก ย่ อ ม เ ป็ น ไ ป ต า ม ก ร ร ม 51 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต การท�ำความเข้าใจเรื่องของกรรมเป็นการศึกษาธรรมะเพื่อ กรรม คือ การกระท�ำดีชั่วทางกาย วาจา ใจ ต่างหาก เตรียมพร้อมทีจะรับภาวะของตัวเราเอง ซึงจะต้องเป็นไปตามกรรม ่ ่ ผลจริงคือความสุขทุกข์ที่ได้รับกันอยู่ทั่วโลก กระทั่งสัตว์ผู้ไม่รู้จัก ที่ได้ท�ำไว้ ตามพุทธภาษิตที่มีว่า “กรรม จ�ำแนกสัตว์ให้ทรามและ กรรม รูแต่กระท�ำคือหากินหาอยู ทางศาสนาเรียกว่ากรรมของสัตว์ ้ ่ ประณีตต่างกัน” ของบุคคล และผลกรรมของสัตว์ของบุคคล ควรมีเมตตาสงสาร ในสัตว์ทงหลายซึงมีความเกิดแก่เจ็บตายเช่นเดียวกับเรา ไม่มอะไร ั้ ่ ี ผู้สงสัยกรรม หรือไม่เชื่อกรรมว่ามีผล คือ ลืมตนจนกลาย ยิ่งหย่อนกว่ากัน เป็นผู้มืดบอดอย่างช่วยไม่ได้ แม้เขาจะเกิดและได้รับการเลี้ยงดู จากพ่อแม่มาเป็นอย่างดีเหมือนโลกทั้งหลายก็ตาม เขาก็มอง ความยิ่งหย่อนแห่งวาสนาบารมีนั้นมีได้ทั้งคนและสัตว์ ไม่เห็นคุณของพ่อแม่ว่าได้ให้ก�ำเนิดและเลี้ยงดูตนมาอย่างไรบ้าง สัตว์บางตัวมีวาสนาบารมีและอัธยาศัยดีกว่ามนุษย์บางคน แต่เขา แต่เขาจะมองเห็นเฉพาะร่างกายเขาที่เป็นคนหนึ่งก�ำลังรกโลก ตกอยูในภาวะความเป็นสัตว์กจ�ำต้องทนรับเสวยไป สัตว์เดรัจฉาน ่ ็ อยู่โดยเจ้าตัวไม่รู้เท่านั้น ไม่สนใจคิดว่าเขาเติบโตมาจากท่านทั้ง ก็ยงมีและเสวยกรรมไปตามวิบากของมัน มิให้ประมาทเขาว่าเป็น ั สอง ซึ่งเป็นแรงหนุนร่างกายชีวิตจิตใจเขาให้เจริญเติบโตมาจน สัตว์ที่เกิดในก�ำเนิดต�่ำทราม ความจริงเขาเพียงเสวยกรรมตาม ถึงปัจจุบัน การดื่มกินเป็นการสร้างสุขภาพความเจริญเติบโตแก่ วาระที่เวียนมาถึงเท่านั้น เช่นเดียวกับมนุษย์ขณะที่ตกอยู่ในความ ร่างกายไม่จัดว่าเป็นกรรม ทุกข์จนข้นแค้นก็จ�ำต้องทนเอาจนกว่าจะสิ้นกรรม
  • 28. 52 สั ต ว์ โ ล ก ย่ อ ม เ ป็ น ไ ป ต า ม ก ร ร ม 53 ห ล ว ง ปู่ มั่ น ภู ริ ทั ต โ ต เมือมนุษย์เราเกิดเสวยชาติเป็นคน มีสขบ้างมีทกข์บางตาม ่ ุ ุ ้ วาระของกรรมที่อ�ำนวย มนุษย์ก็มีกรรมชนิดหนึ่งที่พาให้มาเป็น เช่นนี้ ซึ่งล้วนผ่านก�ำเนิดต่างๆ มาจนนับไม่ถ้วน ให้ตระหนักใน กรรมของสัตว์ว่ามีต่างๆ กัน เพราะฉะนั้น ไม่ให้ดูถูกเหยียดหยามในชาติก�ำเนิดความ เป็นอยูของกันและกัน และสอนให้รวาสัตว์ทงหลายมีกรรมดีกรรม ่ ู้ ่ ั้ ชั่วเป็นของๆ ตน