SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 8
Downloaden Sie, um offline zu lesen
พรรษาที่ ๑
- จําพรรษาที่อิสิปตนมฤคทายวัน โปรดปญจวัคคีย สังฆรัตนะ เกิดขึ้นครั้งแรกในโลก โปรดพระยสะ และสหาย
๔๕ คน
 ออกพรรษา ใหสาวก ๖๐ รูป มีอํานาจบวชกุลบุตร ไดโดยวิธีใหรับไตรสรณคมน

- โปรดภัททวัคคีย ๓๐ รูป โปรดชฎิลสามพี่นอง บวชเปนเอหิภิกขุ ๑,๐๐๐ รูป แสดงอาทิตตปริยายสูตรสําเร็จพระ
อรหันตหมด
  ไปราชคฤหโปรดชาวเมืองและพระเจาพิมพิสารเปนพระโสดาบัน ถวายวัดเวฬุวันเปนวัดแรก ใหสงฆสาวกรับ
อารามที่มีผูถวายได
  พระอัญญาโกณฑัญญะบวชปุณณมันตานีบุตร ( ลูกนองสาว ) บรรลุอรหันต ได ๒ อัครสาวก อุปติสสะและโกลิ
ตะ
  บวชบรรรลุเปนพระอรหันต บวชพระมหากัสสปะโดยรับโอวาท ๓ ขอ

พรรษาที่ ๒
- จําพรรษาที่เวฬุวัน ออกพรรษา เสด็จเมืองเวสาลี แควนวัชชี สอนพระอานนทใหสาธยายรัตนสูตร บรรเทาภัย
ของชาวเมือง
  พระอานนทฟงกถาวัตถุ ๑๐ ประการ ( ของพระปุณณมันตาณีบุตร ) เปนพระโสดาบัน

พรรษาที่ ๓
- จําพรรษาที่เวฬุวัน ราชคฤหเศรษฐี ขอสรางเสนาสนะถวายสงฆ เปนที่พํานักถาวร อนุญาตเภสัช ๕ ชนิด และ
ภัตฯ ประเภทตางๆ
  อนุญาตการอุปสมบทโดยวิธีญัตติจตุตถกรรม พระสารีบุตรบวชใหราธะพราหมณเปนรูปแรก
  อนุญาตวันประชุมสงฆ และแสดงธรรมใน ๑๔ คํ่า ๑๕ คํ่า และ ๘ คํ่า ของขางขึ้นและขางแรม

พรรษาที่ ๔
- จําพรรษาที่เวฬุวัน โปรดหมอชีวกโกมารภัจจเปนพระโสดาบัน ถวายชีวกอัมพวันอนุญาตผาไตรจีวร ๓ ผืน,ผา
จีวร ๖ ชนิด
 ออกพรรษา เทศนโปรดพุทธบิดา สําเร็จพระอรหันตและนิพพาน และจุดเพลิงพระบรมศพ

พรรษาที่ ๕
- จําพรรษาที่กฏาคารศาลา ปามหาวัน นอกเมืองเวสาลี พระนางประชาบดี ยอมรับคุรุธรรม ๘ ประการ บวชเปน
                ู
ภิกษุณีองคแรก
  แลวสําเร็จเปนพระอรหันต-พระนางยโสธราบวชในสํานักพระนางประชาบดีเถรี บรรลุเปนพระอรหันต นาง
รูปนันทา บวชตามหมูญาติ ทรงแสดงฤทธิ์โปรด สําเร็จเปนพระอรหันตออกพรรษา เสด็จไปภัททิยนคร แควนอัง
คะ โปรดเมณฑกะเศรษฐี ธนัญชัยเศรษฐี
นางวิสาขาและหมูญาติ เปนพระโสดาบัน อนุญาตโครสทั้ง ๕ ทรงอนุญาตนํ้าผลไมทุกชนิด ( เวนนํ้ากับเมล็ดนํ้า
ขาวเปลือก )
 นํ้าใบไมทุกชนิด ( เวนนํ้าผักดอง ) นํ้าดอกไมทุกชนิด ( เวนนํ้าดอกมะซาง ) นํ้าออยสด ทรงอนุญาตใหฉันผักสด
ทุกชนิด
 และของขบฉันที่ทําดวยแปง ใหฉันผลไมไดทุกชนิด แสดงมหาปเทส ๔ สิ่งที่ควรและไมควรสําหรับสงฆ

พรรษาที่ ๖
- จําพรรษาที่มกุลบรรพต แควนมคธ หามพระภิกษุแสดงอิทธิปาฏิหาริย ปรารภจะแสดงยมกปาฏิหาริยเอง
  ออกพรรษา เดียรถียสรางสํานักหลังวัดเชตวัน พระเจาปเสนทิโกศล เปลี่ยนเปนสรางอารามสําหรับภิกษุณี เรียก
ราชการาม
  เพ็ญเดือน ๘ แสดงยมกปาฏิหาริย นอกเมืองสาวัตถี

พรรษาที่ ๗
- จําพรรษาที่ที่สวรรคชั้นดาวดึงส แสดงพระอภิธรรมโปรดพุทธมารดาตลอดไตรมาสจนบรรลุเปนพระโสดาบัน
  เรื่องอังกุรเทพบุตรและอินทกเทพบุตร ลงจากชั้นดาวดึงส ที่ประตูเมืองสังกัสสะ หลังออกพรรษา เสด็จกรุงสาวัต
ถี
  ปรารภเรื่องนางปฏิปูชิกา ภรรยาของมาลาภารีเทพบุตร นางจิญจมาณวิกา ใสความพระพุทธเจา ถูกธรณีสูบลง
อเวจีมหานรก

พรรษาที่ ๘
- จําพรรษาที่เภสกฬาวัน ภัคคชนบท บิดาของสิงคาลกมานพบวช บรรลุพระอรหันต หลังออกพรรษา บัญญัติ
สิกขาบทเรื่อง
 การผิงไฟของภิกษุ โปรดมาคันทิยาพราหมณและภรรยา จนขอบวชทั้ง ๒ คนแลวไดบรรลุเปนพระอรหันต
 นางมาคันทิยาผูเปนธิดาผูกจิตอาฆาตในพระศาสดา เศรษฐีโกสัมพี ๓ คนตามไปฟงธรรมที่วัดเชตวัน
 เมืองสาวัตถีบรรลุเปนพระโสดาบันและไดสราง โฆสิตาราม ปาวาริการาม และกุกกุฏาราม ถวายที่โกสัมพี

พรรษาที่ ๙
- จําพรรษาที่โกสัมพีเรื่องนางสามาวดี ไดเปนมเหสีพระเจาอุเทน ถูกนางมาคันทิยาวางแผนเผาทั้งปราสาทจน
ตาย
 หลังออกพรรษา สงฆที่โฆสิตาราม โกสัมพี แตกความสามัคคี

พรรษาที่ ๑๐
- จําพรรษาที่รักขิตวัน (ปาปาริเลยยกะ)อยูระหวางกรุงโกสัมพีกับกรุงสาวัตถี ชางปาริเลยยกะและวานรถวาย
อุปฏฐากพระพุมธองค
 หลังออกพรรษา หมูสงฆชาวโกสัมพีมาขอขมาตอพระองค ทําใหสังฆสามัคคี
พรรษาที่ ๑๑
- จําพรรษาที่หมูบานพราหมณ เอกนาลา ใตเมืองราชคฤห แควนมคธ หลังออกพรรษา ไมปรากฏหลักฐาน

พรรษาที่ ๑๒
- จําพรรษาที่ควงไมสะเดา เมืองเวรัญชา ทรงไมอนุญาติใหมีการบัญญัติสิกขาบท หลังออกพรรษา เรื่องเอ
รกปตตนาคราช
 พระนางปชาบดีเถรี ทูลลานิพพาน ประชุมเพลิง การอุปสมบท ๘ วิธี

พรรษาที่ ๑๓
- จําพรรษาที่จาลิกบรรพต เมืองจาลิกา เรื่องพระเมฆิยะ หลังออกพรรษา แสดงมงคลสูตร ๓๘ ประการ แสดง
กรณีเมตตาสูตร
 เรื่องพระพาหิยะทารุจิริยะ พระอัญยาโกณฑัญญะทูลลานิพพาน

พรรษาที่ ๑๔
- จําพรรษาที่วัดเชตวัน สาวัตถี สามเณรราหุลอุปสมบท ตรัสภัทเทกรัตตคาถา แสดงนิธิกัณฑสูตร หลังออก
พรรษา บัญญัติวิธีกรานกฐิน
 อนุญาตสงฆ รับการปวารณาปจจัยเภสัชเปนนิตย

พรรษาที่ ๑๕
- จําพรรษาที่นิโคธาราม กรุงกบิลพัสดุ เจาศากายะถวายสัณฐาคาร แสดงสัปปุริสธรรม ๗ ประการ
  เรื่องพระเจาสุปปพุทธะถูกธรณีสูบลงอเวจีหลังออกพรรษา ไมปรากฏหลักฐาน

พรรษาที่ ๑๗
- จําพรรษาที่วัดเวฬุวัน พระทัพพมัลลบุตรทูลลานิพพาน หลังออกพรรษา เรื่องพระวักกลิ

พรรษาที่ ๑๘
- จําพรรษาที่จาลิกบรรพต เมืองจาลิกา หลังออกพรรษา เสด็จเมืองอาฬาวีครั้งที่ ๒ โปรดธิดาชางหูกบรรลุโสดา
ปตติผล
  ชางหูกผูเปนบิดาขอบวชสําเร็จอารหัตตผล ตรัสอริทรัพย ๗ ประการ

พรรษาที่ ๑๙
- จําพรรษาที่จาลิกบรรพต เขตเมืองจาลิกา ออกพรรษา เรื่องโปรดโจรองคุลีมาล เรื่องสันตติมหาอํามาตยบรรลุ
อรหัตตผลแลวนิพพาน
พรรษาที่ ๒๐
- จําพรรษาที่เวฬุวัน เมืองราชคฤห พระอานนทไดเปนอุปฏฐากประจําพระองค พระอานนททูลขอพร ๘ ประการ

พรรษาที่ ๒๑-๔๕
- จําพรรษาที่วัดเชตวัน วัดบุพพาราม สลับกันไปหลังออกพรรษาที่จาริกไปตามตําบลตางๆ เพื่อโปรดเวไนยสัตว
- ประมาณพรรษาที่ ๒๑ จําที่วัดบุพพาราม สาวัตถี พระองทรงแสดงโอวาทปาฏิโทกขในที่ประชุมสงฆทุกกึ่งเดือน
ครั้งแรก
- ประมาณพรรษาที่ ๒๖ พระราหุลนิพพาน
- พรรษาที่ ๓๗ เทวทัตคิดปกครองสงฆ วางแผนปลงพระชนมพระศาสดา ปลงพระชนมพระเจาพิมพิสาร พระ
เทวทัตถูกธรณีสูบ
- พรรษาที่ ๓๘ แสดงสามัญญผลสูตรแกอชาติศัตรู อชาติศัตรูแสดงตนเปนพุทธมามกะ กรุงสาวัตถี อํามาตยกอ
การขบถ
  พระเจาปเสนทิโกศลสิ้นพระชนม พระเจาวิฑูฑภะฆาลางวงศศากยะ พระเจาวิฑูฑภะสิ้นพระชนม
- พรรษาที่ ๔๓ พระยโสธราเถรีนิพพาน
- พรรษาที่ ๔๔ แสดงธรรมใที่วัดเชตวัน ตอบปญหาเทวดา หลังออกพรรษา พระสารีบุตรทูลลานิพพาน
  พระสารีบุตรโปรดมารดาจนบรรลุโสดาปตติผลพระสารีบุตรนิพพาน พระโมคคัลลานะถูกโจรที่เดียรถียจางมา  
ทําราย
  พระโมคคัลลานะนิพพาน นางอัมพปาลีถวายอาราม นางอัมพปาลีบรรลุธรรม
- พรรษาที่ ๔๕ ภิกษุจําพรรษารอบกรุงเวสาลี ตรัสอานุภาพอิทธิบาท ๔ ทรงปลงอายุสังขาร ตรัสโพธิปกขิยธรรม
๓๗ ประการ
  นายจุลทะถวายสุกรมัททวะ ตรัสถึงสังเวชนียสถาน ๔ แหง วิธีปฏิบัติกับพุทธสรีระปจฉิมโอวาทแกภิกษุ เสด็จ
ปรินิพพาน



โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม
         ตามพระราชบัญญัติเกณฑทหาร มีการยกเวนสามเณรผูรูธรรมไมตองเขาเกณฑทหาร ทางเถรสมาคมจึง
ไดกําหนดองคของสามเณรผูรูธรรมขึ้น และจัดการสอบไล เพื่อใหสามเณรที่กําลังเรียนบาลีไมตองสึกไปเปน
ทหาร จึงเปนตนกําเนิดของการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม
        ตอมาสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไดทรงรจนานวโกวาท เพื่อทรงสอนพระภิกษุ
ใหมผูบวชชั่วคราว ระหวางพรรษาเปนเวาลา ๓ เดือน และเพื่อใหไดประโยชนทั่วไป จึงไดใหใชหนังสือนวโกวาท
เปนแบบเรียน สําหรับนักธรรมชั้นตรี ทรงรจนาธรรมวิภาคปริจเฉท ๒ เปนแบบเรียนสําหรับนักธรรมชั้นโททรง
รจนาวินัยมุขกับพุทธประวัติเลม ๑,๒,๓ เปนแบบเรียนสําหรับนักธรรมชั้นเอกรวมทั้งไดใหมีการแตงเรียงความแก
กระทูธรรม เพื่อใหนักเรียนรูจักแตงเทศนและแสดงธรรมเปน ในชั้นตอมาเมื่อคฤหัสถมีความประสงคจะเรียน
และสอบความรูนักธรรมชั้นบาง ทางคณะสงฆก็ไดจัดใหมีการสอบธรรม สําหรับคฤหัสถ เรียกวา ธรรมศึกษา
แบงออกเปน ๓ ชั้น คือ ธรรมศึกษาตรี - โท - เอก ในสวนของพระภิกษุสามเณรเรียกวานักธรรม มีนักธรรมตรี -
โท - เอก นักธรรมตรีจัดเปนนวกภูมิเปนบุพภาคของการเรียนบาลีประโยค ๓ นักธรรมโทจัดเปนมัชฌิมภูมิ เปน
บุพภาคของการศึกษาบาลี ในชั้นประโยค ๔ ถึง ประโยค ๖ นักธรรมเอกจัดเปนเถรภูมิเปนบุพภาคของ
การศึกษาบาลีประโยค ๗ ถึงประโยค ๙ และเปลี่ยนมาใชชื่อวา เปรียญธรรม (ป.ธ.) ซึ่งไดใชมาจนถึงทุกวันนี้
มหามงกุฎราชวิทยาลัยและมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว มีพระราช
ประสงค ในอันที่จะใหพระภิกษุสามเณรไดมีการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เพื่อความเจริญรุงเรืองไพบูลยของ
พระพุทธศาสนา จึงไดโปรดเกลา ฯ ใหจัดตั้งสถาบันการศึกษาในสวนของคณะสงฆธรรมยุติกนิกาย พระราชทาน
นามวา มหามงกุฎราชวิทยาลัย เมื่อป พ.ศ.๒๔๓๙ โดยเปลี่ยนนามมหาธาตุวิทยาลัย ซึ่งพระองคไดทรงสถาปนา
ไว เมื่อป พ.ศ.๒๔๓๒
การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกภาษาบาลี
         กอนป พ.ศ.๒๔๖๙             การสอบพระปริยัติธรรมแผนกภาษาบาลี ผูที่เขาสอบตองเขาสอบตอหนา
คณะกรรมการ ตอหนาพระที่นั่งในพระบรมมหาราชวัง โดยการจับฉลาก แลวเขาไปแปลบาลีดวยปากเปลา ซึ่ง
เรียกตอกันมาวา สมัยแปลดวยปากเปลา คณะกรรมการตัดสินใหคะแนนและรูผลกันในวันนั้น ผูที่สอบไดจะ
ไดรับพระราชทานไตรจีวร แพร ซึ่งเปนของที่มีคามากในสมัยนั้น มีพระเปรียญธรรม ๙ ประโยค (ป.ธ.๙) เทาที่พอ
มีหลักฐานที่รวบรวมไดดังนี้
         รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ไดแก สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (จี่ ป.ธ.๙)
เปนชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกิดเมือป พ.ศ.๒๓๓๖ บวชอยูที่วัดราชบูรณะ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์
                                            ่
เปนพระราชาคณะที่พระอมรโมลี เมื่อป พ.ศ.๒๓๖๕ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (จี) มรณะภาพเมื่อป พ.ศ.
                                                                                   ่
๒๔๑๖ อายุ ๘๑ ป เปนเจาอาวาสวัดประยุรวงศาวาส นานที่สุดถึง ๔๑ ป
         รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ไดแก พระอุดมปฏก นามเดิม สอน ฉายา พุทฺธสโร เปน
ชาวจังหวัดพัทลุง เคยเปนเจาอาวาสวัดหงสาราม รูปที่ ๕ เปนเปรียญธรรม ๙ ประโยค ไดรับพระราชทานสมณ
ศักดิ์เปนพระราชาคณะ ที่พระอุดมปฏก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เมื่อพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ขึ้นครองราชย ดวยเหตุที่ทานเคยคัดคานการตั้งคณะธรรมยุตินิกาย จึงไดลาออกจาก
เจาอาวาส กลับไปอยูที่ภูมิลําเนาเดิม พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงใหอาราธนามาในงานพระราช
พิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ทรงรับสั่งวา "ทานเดินทางมาแตไกล นานปจึงไดพบกัน ขอจงใหพระดยมใหชื่นใจท
เถิด" เมื่อทานไดรับอนุญาตจากสมเด็จพระสังฆราชแลว ทานก็ตั้งพัดยศขึ้นถวาพระพรเปนภาษาบาลีวา
            อติเรกวสฺสสตํ ชีว อติเรกวสฺสสตํ ชีว อติเรกวสฺสสตํ ชีว
            ทีฆายุโก โหตุ อโรโค โหตุ ทีฆายุโก โหตุ อโรโค โหตุ
            สุขิโต โหตุ ปรมินฺทมหาราชา
            สิทฺธิ กิจฺจํ สิทธิกมฺมํ สิทฺธิลาโภ ชโย นิจฺจํ
            ปรมินฺทมหาราชาวรสฺส ภวตุ สพฺพทา ขอถวายพระพร
         พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงสดับ แลวทรงโปรดคําถวายพระพรบทนี้มาก จึงทรงสั่งใหถือ
เปนธรรมเนียม ใหพระสงฆใชพรบทนี้ถวายพระมหากษัตริย ในพระราชพิธีทั้งปวง จนถึงทุกวันนี้ โดยทรงเติมคํา
วา ชีว เปน ชีวตุ เทานั้น และไดถือเปนธรรมเนียมสืบมาวา พระภิกษุผูที่จะถวายอดิเรกไดนั้น ตองมีสมณศักดิ์
เปนพระราชาคณะ จนถึงป พ.ศ.๒๕๑๐ ทางการคณะสงฆจึงไดอนุญาตใหพระครูสัญญาบัตรชั้นเอก ผูดํารง
ตําแหนงเจาอาวาสพระอารามหลวง ซึ่งถือพัดยศเปลวเพลิง เปนผูถวายอดิเรกไดโดยอนุโลม
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว มีอยู ๓ ทานดวยกันคือ
          สมเด็จพระสังฆราช (สา) ปุสฺสเทวมหาเถร วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพ ฯ เปนสมเด็จ
พระสังฆราชองคที่ ๙ แหงกรุงรัตนโกสินทร นามเดิม สา ประสูติเมื่อป พ.ศ.๒๓๕๖ ภูมิลําเนาเดิมอยูจังหวัด
ราชบุรี เมื่อป พ.ศ.๒๓๗๐ อายุ ๑๔ ป สอบได ๒ ประโยค ไดเปนเปรียญวังหนา เนื่องจากการสอบพระปริยัติ
ธรรมสมัยนั้น ตองสอบใหได ๓ ประโยคในคราวเดียวกัน จึงถือวาสอบไดเปรียญ
          ครั้งนั้นสมเด็จพระบวรราชเจา กรมพระราชวังบวรมหาศักดิ์พลเสพ ทรงอุปการะพระภิกษุสามเณรที่สอบ
ไดตั้งแต ๒ ประโยค จนกวาจะสอบไดเปรียญ ๓ ประโยค ดังนั้นผูที่สอบได ๒ ประโยค จึงเรียกกันวา เปรียญวัง
หนา
          เมื่อทานอายุได ๑๘ ป ไดเขาสอบอีกครั้งหนึ่ง สอบคราวเดียวได ๙ ประโยค เมื่อป พ.ศ.๒๓๗๔ นับเปน
สามเณรเปรียญ ๙ ประโยครูปแรกของกรุงรัตนโกสินทร เมื่ออุปสมบทได ๖ พรรษา ไดเปนพระราชคณะที่พระ
อมรโมลี ตอมาไดลาสิกขาออกไปประกอบอาชีพอยางคฤหัสถ
         ตอมาเมื่อป พ.ศ.๒๓๙๕ เมื่ออายุได ๓๙ ป พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดใหทานกลับ
เขามาอุปสมบทใหม ทานไดสอบเปรียญ ๙ ประโยคอีกครั้งหนึ่ง จึงมีนามวา พระมหาสา ปุสฺสเทโว เปรียญธรรม
๑๘ ประโยค เพราะในสมัยนั้น ภิกษุสามเณรเปรียญ หรือนักธรรมรูปใดลาสิกขาไป เมื่อกลับเขามาบวชใหมตอง
สอบใหมหมดตั้งแตตน ระเบียบดังกลาวไดยกเลิกไป เมื่อป พ.ศ.๒๔๘๐
         สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทว) ไดรับพระราชทานสถาปนาเปนสมเด็จพระสังฆราช เมื่อป พ.ศ.
๒๔๓๖ สิ้นพระชนม เมื่อป พ.ศ.๒๔๔๒ พระชนมายุได ๘๗ พรรษา เปนสมเด็จพระสังฆราชได ๖ ป
           สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ฉิม) วัดโมลีโลกยาราม ภายหลังยายไปอยูวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ทานแตกฉานในภาษาบาลีมาก ไดแตงคาถาภาษาบาลีถวายพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว มีคําขึ้นตน
วา ยํยํ เทวมนุสฺสานํ ซึ่งทางคณะสงฆยังคงใชสวดในพระราชพิธีจนถึงปจจุบัน
           สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธศิร) วัดโสมนัสวิหาร ทานเกิดเมื่อป พ.ศ.๒๓๔๙ อุปสมบทเมื่อป พ.ศ.
                                           ิ
๒๓๖๙ ไดเปรียญ ๙ ประโยค เมือป พ.ศ.๒๓๗๙ ยายจากวัดราชาธิวาสไปครองวัดโสมนัสวิหาร เมื่อป พ.ศ.
                                      ่
๒๓๙๙ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน ที่พระอริยมุนี เมื่อป พ.ศ.๒๓๙๙ มรณะภาพเมื่อป พ.ศ.๒๔๓๔ อายุ
๘๖ ป
         รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
         สมเด็จพระพุฒาจารย (ศรี อโนมสิริ) สอบไดเปรียญธรรม ๘ ประโยค ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่ง
เกลาเจาอยูหัว ครั้งทรงผนวช เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ขึ้นครองราชย พระองคทรงมี
พระราชดําริวา ความรูของทานถึงภูมิเปรียญธรรม ๙ ประโยค จึงพระราชทานเพิ่มเติมใหอีกหนึ่งประโยค รวม
เปน ๙ ประโยค และทรงตั้งใหเปนพระราชาคณะฤกษ ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อป พ.ศ.๒๓๙๔ ที่
พระวรญาณมุนี และทรงเปลี่ยนเปน พระอโนมามุนี ในปเดียวกัน ปตอมาโปรดใหทานเปนหัวหนาคณะสมณทูต
ไปลังกาทวีป และโปรดใหยายจากวัดบวรนิเวศไปเปนเจาอาวาสวัดปทุมคงคา
         รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
           พ.ศ.๒๔๔๕ สมเด็จพระสังฆราช (อยู ญาโนทัย) สมเด็จพระสังฆราช องคที่ ๑๕ สถิตยอยูวัดสระเกศ
ทานเปนพระมหาเปรียญที่สอบได ๙ ประโยค เปนรูปแรกในรัชกาลนี้ ที่ไดรับพระมหากรุณาธิคุณใหรถหลวง
นําไปสงถึงพระอาราม และไดถือเปนธรรมเนียมปฏิบัติสืบตอมาจนถึงปจจุบันวา ภิกษุสามเณรที่สอบไดเปรียญ
ธรรม ๙ ประโยค ทางสํานักพระราชวังจะจัดรถหลวงนําสงถึงวัด (ในกรุงเทพฯ) ทุกรูป
          ทานไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปนที่พระปฎก เมื่อป พ.ศ.๒๔๕๑ เปนสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
สมเด็จพระสังฆราช เมื่อป พ.ศ.๒๕๐๖ สิ้นพระชนมเมื่อป พ.ศ.๒๕๐๘ พระชนมายุได ๙๐ พรรษา
          พ.ศ.๒๔๔๕ พระมหาเหรียญ วัดสุทัศยเทพวราราม ทานเปนเปรียญ ๙ ประโยค ของสํานักเรียนธรรม
วัดสุทัศน ฯ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะที่พระศรีสุทธิวงศ เมื่อป พ.ศ.๒๔๔๗ มรณะภาพ
เมื่อป พ.ศ.๒๔๕๑ อายุ ๓๙ ป พรรษา ๑๘
          พ.ศ.๒๔๔๖ พรมหาไคล อุตโม วัดสุทัศนเทพวราราม ไดัรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะ
ที่พระอมรเมธาจารย เมื่อป พ.ศ.๒๔๕๒ ถึงแกมรณภาพ เมื่อป พ.ศ.๒๔๗๗ รวมอายุ ๕๓ ป พรรษา ๓๓
          พ.ศ.๒๔๔๖ พระมหาอยู เขมจาโร (อุดมศิลป) วัดเทพศิรินทราวาส ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน
พระราชาคณะที่พระอมราภิรักขิต เมื่อป พ.ศ.๒๔๕๒ ลาสิกขาเมื่อป พ.ศ.๒๔๕๙เขารับราชการในกรม
ศึกษาธิการเปนพนักงานราชบัณฑิต ไดรับพระราชทานบรรดาศักดิเ์ ปนพระธรรมนิเทศทวยหาญ ไดโอนไปเปน
หัวหนาอนุศาสนาจารยืในกองทับบก เปนอนุศาสนาจารยคนแรกของกองทัพไทย จนเษียณอายุราชการ เมื่อป
พ.ศ.๒๔๘๕
          พ.ศ.๒๔๔๗ สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์
เปนพระราชาคณะที่ พระศรีวิสุทธิวงศ เมื่อป พ.ศ.๒๔๕๕ เปนสมเด็จพระวันรัตน เมื่อป พ.ศ.๒๔๘๒
          พ.ศ.๒๔๔๘ สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ไดรับพระราชทาน
สมณศักดิ์เปนพระราชาคณะที่ พระศากยบุตติยวงศ เมื่อป พ.ศ.๒๔๖๔ เปนสมเด็จพระวันรัต เมื่อป พ.ศ.๒๔๘๘
ทานเปนสังฆมนตรีวาการองคการปกครองรูปแรก ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ.๒๔๘๔ ทานมรณะภาพ
เมื่อป พ.ศ.๒๔๙๐ อายุ ๗๒ ป
         พระมหาหรุม พฺรหฺมโชติโก ป.ธ.๙ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปนพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่พระอมร
โมลี เมื่อป พ.ศ.๒๔๔๙ ไดลาสิกขาเมื่อป พ.ศ.๒๔๖๕
         พระมหาอําพัน อรุโณ ป.ธ.๙ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปนพระราชาคณะชั้นสามัญที่พระกวีวงศ เมื่อ
ป พ.ศ.๒๔๕๒ ภายหลังลาสิกขาเมื่อใดไมปรากฏ
          พ.ศ.๒๔๕๑ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม สอบได ป.ธ.๙
ตั้งแตครั้งยังเปนสามเณร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดปรานมาก ทรงใหจัดรถเขาขบวน
แหนําสงถึงพระอาราม ตอมาทรงอุปถัมภจัดการใหอุปสมบทเปนนาคหลวง และไดถือเปนธรรมเนียมสืบมาจนถึง
ปจจุบันวา สามเณรรูปใดสอบได ป.ธ.๙ ทรงรับสามเณรรูปนั้นไวในพระบรมราชูปถัมภ ใหเขาอุปสมบทเปนนาค
หลวงเปนกรณีพิเศษ ทานไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะที่พระศรีสุทธิวงศ เมื่อป พ.ศ.๒๔๖๖
เปนสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราชองคที่ ๑๔ เมื่อป พ.ศ.๒๕๐๓ สอบไดเปรียญธรรม ๙
ประโยค
         พ.ศ.๒๔๕๓ พระมหาทวี สุวฑฺฒโน วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม สอบไดเปรียญธรรม ๙ ประโยค เปน
รูปแรกของวัด เมื่ออุปสมบทได ๘ พรรษา ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะที่อมรโมลี พรรษาที่
๑๒ ไดขอลาสิกขา ออกไปรับราชการที่กระทรวงธรรมการ และกระทรวงการคลังตามลําดับ เปนกรรมการชําระ
ปทานุกรม (พจนานุกรม) ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์เปน หลวงเทพดรุณานุศิษฎ (ทวี
ธรรมธัช) ยศเปนรองอํามาตยเอก
         ตั้งแตป พ.ศ.๒๔๖๙ ทางการคณะสงฆไดกําหนดวิธีการสอบเปนแบบขอเขียน และเพิ่มเปนสามวิชาคือ
            ๑. วิชาเขียนไทยเปนมคธ โดยออกขอสอบเปนภาษาไทย ใหผูเขาสอบเขียนตอบเปนภาาามคธ
            ๒. วิชาแปลไทยเปนมคธ ขอสอบแปลมาจากภาษามคธเปนภาษาไทย ใหตอบเปนภาษามคธ
            ๓. วิชาแปลมคธเปนไทย ออกขอสอบเปนภาษามคธใหตอบเปนภาษาไทย
          ตั้งแตป พ.ศ.๒๔๕๑ จนถึงป พ.ศ.๒๕๐๒ เปนเวลา ๕๑ ป ไมปรากฎวามีสามเณรรูปใดสอบได ป.ธ.๙
เลย
          ผูที่สอนไดตั้งแตเปรียญธรรม ๓ ประโยค ขึ้นไปยังคงเขารับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดยศเปรียญ
และไตรจีวรในพระบรมมหาราชวัง ในวันขึ้น ๑๔ ค่ํา เดือน ๖ กอนวันวิสาขบูชา ๑ วัน เปนประจําทุกป เรียกวา
วันทรงตั้งพระเปรียญ พระภิกษุที่สอบไดประโยค ป.ธ.๓ แลว ถายังไมผานพนวัน จะยังไมใชคํานําหนาชื่อวา พระ
มหาไมได คงใชเชนเดียวกับสามเณร คือ มีคําวาเปรียญตามหลังชื่อ
          ตั้งแต ป พ.ศ.๒๔๘๘ เปนตนมา มีพระภิกษุามเณรสอบไดมากขึ้น จึงทรงมอบหมายใหสมเด็จ
พระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ทรงดําเนินการแทนพระองค ยกเวนผูที่สอบได ป.ธ.๖ และ ป.ธ.๙ ยังคงโปรด
ใหเขารับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดยศเปรียญและไตรจีวร เหมือนเดิม และยังคงใหรถหลวงนําสงเฉพาะผู
ที่สอบได ป.ธ.๙
          หลังจากป พ.ศ.๒๕๑๐ ทางคณะสงฆโดยสมเด็จพระพุทธโฆษาารย (ฟน ชุตินธรมหาเถระ ป.ธ.๙) วัด
สามพระยา ครั้งดํารงสมณศักดิ์ที่ พระธรรมปญญาบดี แมกองบาลีสนามหลวง ไดจัดใหมีการสอบเปรียญธรรม
ประโยค ๑ - ๒ อีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่คณะสงฆไดยกเลิกการสอบประโยค ๑ - ๒ ไปชั่วระยะหนึ่ง
          เมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงจัดองคนักธรรมขึ้นครบทั้งสามชั้น แลวในป
พ.ศ.๒๔๕๔ ไดเปดสอบนักธรรมตรีขึ้นเปนปแรก พระปลัดแบน คณฺฐาภรโณ อายุ ๒๗ พรรษา ๗ วัดบวชนิเวศ
วิหาร สมัครสอบเปนรูปแรกและสอบไดเปรูปแรก ภายหลังทานไดเปนที่พระรัตนธัชมุนี พระราชาคณะชั้นธรรม
ตอมาในป พ.ศ.๒๔๖๐ ไดเปดสอบนักธรรมโท พ.ศ.๒๔๖๕ เปดสอบนักธรรมเอก
          ไดมีการจัดใหสอดคลองกับการศึกษาบาลี เดิมดังที่ไดกลาวมาแลวแตตนในเรื่องของนวกภูมิ มัชฌิมภูมิ
และเถรภูมิ จึงนิยมเรียกผูที่สอบบาลีได ป.ธ.๓ วา เปรียญตรี ผูที่สอบ ป.ธ. ๔ - ๕ - ๖ วา เปรียญโท และเรียกผูที่
สอบได ป.ธ.๗ - ๘ - ๙ วา เปรียญเอก

ผนวก ก

การศึกษาภาษาบาลี ถือไดวาเปนการรักษาวรรคดีบาลีแหงพระพุทธศาสนา                   อันทรงไวซึ่งหลักคําสอนทาง
พระพุทธศาสนา ใหคงอยูเปนมรดกทางศาสนา วัฒนธรรมและวรรณคดี

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
Wataustin Austin
 
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tongsamut vorasan
 
บาลี 61 80
บาลี 61 80บาลี 61 80
บาลี 61 80
Rose Banioki
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
Tongsamut vorasan
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tongsamut vorasan
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tongsamut vorasan
 

Was ist angesagt? (12)

อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
Learn good
Learn goodLearn good
Learn good
 
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
Tri91 21+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๒
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
บาลี 61 80
บาลี 61 80บาลี 61 80
บาลี 61 80
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
006
006006
006
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
 

Andere mochten auch

ปทรูปสิทธิมัญชรี
ปทรูปสิทธิมัญชรีปทรูปสิทธิมัญชรี
ปทรูปสิทธิมัญชรี
Tongsamut vorasan
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tongsamut vorasan
 
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฏก ร่วมสมัย
พระไตรปิฏก ร่วมสมัย พระไตรปิฏก ร่วมสมัย
พระไตรปิฏก ร่วมสมัย
Tongsamut vorasan
 
กลอนประวัติหลวงพ่อยอด
กลอนประวัติหลวงพ่อยอดกลอนประวัติหลวงพ่อยอด
กลอนประวัติหลวงพ่อยอด
Tongsamut vorasan
 
พระปริตรธรรม
พระปริตรธรรมพระปริตรธรรม
พระปริตรธรรม
Tongsamut vorasan
 
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์
Tongsamut vorasan
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
Tongsamut vorasan
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
Tongsamut vorasan
 
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
Tongsamut vorasan
 
ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1
Tongsamut vorasan
 

Andere mochten auch (18)

ปทรูปสิทธิมัญชรี
ปทรูปสิทธิมัญชรีปทรูปสิทธิมัญชรี
ปทรูปสิทธิมัญชรี
 
Tummajak
TummajakTummajak
Tummajak
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
 
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
 
พระไตรปิฏก ร่วมสมัย
พระไตรปิฏก ร่วมสมัย พระไตรปิฏก ร่วมสมัย
พระไตรปิฏก ร่วมสมัย
 
กลอนประวัติหลวงพ่อยอด
กลอนประวัติหลวงพ่อยอดกลอนประวัติหลวงพ่อยอด
กลอนประวัติหลวงพ่อยอด
 
ธรรมบทย่อ
ธรรมบทย่อธรรมบทย่อ
ธรรมบทย่อ
 
พระปริตรธรรม
พระปริตรธรรมพระปริตรธรรม
พระปริตรธรรม
 
ภาค4
ภาค4ภาค4
ภาค4
 
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์
 
ภาค 2
ภาค 2ภาค 2
ภาค 2
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
 
ปทวิจาร
ปทวิจารปทวิจาร
ปทวิจาร
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
 
ภาค5
ภาค5ภาค5
ภาค5
 
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
2 20+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๒
 
ธนบัตรทุกรุ่นของในหลวง
ธนบัตรทุกรุ่นของในหลวงธนบัตรทุกรุ่นของในหลวง
ธนบัตรทุกรุ่นของในหลวง
 
ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1
 

Ähnlich wie 45 พรรษา

พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร
คน มีดี
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกา
nanpun54
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
ไนซ์ ไนซ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
ไนซ์ ไนซ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
ไนซ์ ไนซ์
 

Ähnlich wie 45 พรรษา (20)

แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้งแผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
แปลอุภยพากย์
แปลอุภยพากย์แปลอุภยพากย์
แปลอุภยพากย์
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกา
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 

Mehr von Tongsamut vorasan

เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
Tongsamut vorasan
 

Mehr von Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

45 พรรษา

  • 1. พรรษาที่ ๑ - จําพรรษาที่อิสิปตนมฤคทายวัน โปรดปญจวัคคีย สังฆรัตนะ เกิดขึ้นครั้งแรกในโลก โปรดพระยสะ และสหาย ๔๕ คน ออกพรรษา ใหสาวก ๖๐ รูป มีอํานาจบวชกุลบุตร ไดโดยวิธีใหรับไตรสรณคมน - โปรดภัททวัคคีย ๓๐ รูป โปรดชฎิลสามพี่นอง บวชเปนเอหิภิกขุ ๑,๐๐๐ รูป แสดงอาทิตตปริยายสูตรสําเร็จพระ อรหันตหมด ไปราชคฤหโปรดชาวเมืองและพระเจาพิมพิสารเปนพระโสดาบัน ถวายวัดเวฬุวันเปนวัดแรก ใหสงฆสาวกรับ อารามที่มีผูถวายได พระอัญญาโกณฑัญญะบวชปุณณมันตานีบุตร ( ลูกนองสาว ) บรรลุอรหันต ได ๒ อัครสาวก อุปติสสะและโกลิ ตะ บวชบรรรลุเปนพระอรหันต บวชพระมหากัสสปะโดยรับโอวาท ๓ ขอ พรรษาที่ ๒ - จําพรรษาที่เวฬุวัน ออกพรรษา เสด็จเมืองเวสาลี แควนวัชชี สอนพระอานนทใหสาธยายรัตนสูตร บรรเทาภัย ของชาวเมือง พระอานนทฟงกถาวัตถุ ๑๐ ประการ ( ของพระปุณณมันตาณีบุตร ) เปนพระโสดาบัน พรรษาที่ ๓ - จําพรรษาที่เวฬุวัน ราชคฤหเศรษฐี ขอสรางเสนาสนะถวายสงฆ เปนที่พํานักถาวร อนุญาตเภสัช ๕ ชนิด และ ภัตฯ ประเภทตางๆ อนุญาตการอุปสมบทโดยวิธีญัตติจตุตถกรรม พระสารีบุตรบวชใหราธะพราหมณเปนรูปแรก อนุญาตวันประชุมสงฆ และแสดงธรรมใน ๑๔ คํ่า ๑๕ คํ่า และ ๘ คํ่า ของขางขึ้นและขางแรม พรรษาที่ ๔ - จําพรรษาที่เวฬุวัน โปรดหมอชีวกโกมารภัจจเปนพระโสดาบัน ถวายชีวกอัมพวันอนุญาตผาไตรจีวร ๓ ผืน,ผา จีวร ๖ ชนิด ออกพรรษา เทศนโปรดพุทธบิดา สําเร็จพระอรหันตและนิพพาน และจุดเพลิงพระบรมศพ พรรษาที่ ๕ - จําพรรษาที่กฏาคารศาลา ปามหาวัน นอกเมืองเวสาลี พระนางประชาบดี ยอมรับคุรุธรรม ๘ ประการ บวชเปน ู ภิกษุณีองคแรก แลวสําเร็จเปนพระอรหันต-พระนางยโสธราบวชในสํานักพระนางประชาบดีเถรี บรรลุเปนพระอรหันต นาง รูปนันทา บวชตามหมูญาติ ทรงแสดงฤทธิ์โปรด สําเร็จเปนพระอรหันตออกพรรษา เสด็จไปภัททิยนคร แควนอัง คะ โปรดเมณฑกะเศรษฐี ธนัญชัยเศรษฐี
  • 2. นางวิสาขาและหมูญาติ เปนพระโสดาบัน อนุญาตโครสทั้ง ๕ ทรงอนุญาตนํ้าผลไมทุกชนิด ( เวนนํ้ากับเมล็ดนํ้า ขาวเปลือก ) นํ้าใบไมทุกชนิด ( เวนนํ้าผักดอง ) นํ้าดอกไมทุกชนิด ( เวนนํ้าดอกมะซาง ) นํ้าออยสด ทรงอนุญาตใหฉันผักสด ทุกชนิด และของขบฉันที่ทําดวยแปง ใหฉันผลไมไดทุกชนิด แสดงมหาปเทส ๔ สิ่งที่ควรและไมควรสําหรับสงฆ พรรษาที่ ๖ - จําพรรษาที่มกุลบรรพต แควนมคธ หามพระภิกษุแสดงอิทธิปาฏิหาริย ปรารภจะแสดงยมกปาฏิหาริยเอง ออกพรรษา เดียรถียสรางสํานักหลังวัดเชตวัน พระเจาปเสนทิโกศล เปลี่ยนเปนสรางอารามสําหรับภิกษุณี เรียก ราชการาม เพ็ญเดือน ๘ แสดงยมกปาฏิหาริย นอกเมืองสาวัตถี พรรษาที่ ๗ - จําพรรษาที่ที่สวรรคชั้นดาวดึงส แสดงพระอภิธรรมโปรดพุทธมารดาตลอดไตรมาสจนบรรลุเปนพระโสดาบัน เรื่องอังกุรเทพบุตรและอินทกเทพบุตร ลงจากชั้นดาวดึงส ที่ประตูเมืองสังกัสสะ หลังออกพรรษา เสด็จกรุงสาวัต ถี ปรารภเรื่องนางปฏิปูชิกา ภรรยาของมาลาภารีเทพบุตร นางจิญจมาณวิกา ใสความพระพุทธเจา ถูกธรณีสูบลง อเวจีมหานรก พรรษาที่ ๘ - จําพรรษาที่เภสกฬาวัน ภัคคชนบท บิดาของสิงคาลกมานพบวช บรรลุพระอรหันต หลังออกพรรษา บัญญัติ สิกขาบทเรื่อง การผิงไฟของภิกษุ โปรดมาคันทิยาพราหมณและภรรยา จนขอบวชทั้ง ๒ คนแลวไดบรรลุเปนพระอรหันต นางมาคันทิยาผูเปนธิดาผูกจิตอาฆาตในพระศาสดา เศรษฐีโกสัมพี ๓ คนตามไปฟงธรรมที่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถีบรรลุเปนพระโสดาบันและไดสราง โฆสิตาราม ปาวาริการาม และกุกกุฏาราม ถวายที่โกสัมพี พรรษาที่ ๙ - จําพรรษาที่โกสัมพีเรื่องนางสามาวดี ไดเปนมเหสีพระเจาอุเทน ถูกนางมาคันทิยาวางแผนเผาทั้งปราสาทจน ตาย หลังออกพรรษา สงฆที่โฆสิตาราม โกสัมพี แตกความสามัคคี พรรษาที่ ๑๐ - จําพรรษาที่รักขิตวัน (ปาปาริเลยยกะ)อยูระหวางกรุงโกสัมพีกับกรุงสาวัตถี ชางปาริเลยยกะและวานรถวาย อุปฏฐากพระพุมธองค หลังออกพรรษา หมูสงฆชาวโกสัมพีมาขอขมาตอพระองค ทําใหสังฆสามัคคี
  • 3. พรรษาที่ ๑๑ - จําพรรษาที่หมูบานพราหมณ เอกนาลา ใตเมืองราชคฤห แควนมคธ หลังออกพรรษา ไมปรากฏหลักฐาน พรรษาที่ ๑๒ - จําพรรษาที่ควงไมสะเดา เมืองเวรัญชา ทรงไมอนุญาติใหมีการบัญญัติสิกขาบท หลังออกพรรษา เรื่องเอ รกปตตนาคราช พระนางปชาบดีเถรี ทูลลานิพพาน ประชุมเพลิง การอุปสมบท ๘ วิธี พรรษาที่ ๑๓ - จําพรรษาที่จาลิกบรรพต เมืองจาลิกา เรื่องพระเมฆิยะ หลังออกพรรษา แสดงมงคลสูตร ๓๘ ประการ แสดง กรณีเมตตาสูตร เรื่องพระพาหิยะทารุจิริยะ พระอัญยาโกณฑัญญะทูลลานิพพาน พรรษาที่ ๑๔ - จําพรรษาที่วัดเชตวัน สาวัตถี สามเณรราหุลอุปสมบท ตรัสภัทเทกรัตตคาถา แสดงนิธิกัณฑสูตร หลังออก พรรษา บัญญัติวิธีกรานกฐิน อนุญาตสงฆ รับการปวารณาปจจัยเภสัชเปนนิตย พรรษาที่ ๑๕ - จําพรรษาที่นิโคธาราม กรุงกบิลพัสดุ เจาศากายะถวายสัณฐาคาร แสดงสัปปุริสธรรม ๗ ประการ เรื่องพระเจาสุปปพุทธะถูกธรณีสูบลงอเวจีหลังออกพรรษา ไมปรากฏหลักฐาน พรรษาที่ ๑๗ - จําพรรษาที่วัดเวฬุวัน พระทัพพมัลลบุตรทูลลานิพพาน หลังออกพรรษา เรื่องพระวักกลิ พรรษาที่ ๑๘ - จําพรรษาที่จาลิกบรรพต เมืองจาลิกา หลังออกพรรษา เสด็จเมืองอาฬาวีครั้งที่ ๒ โปรดธิดาชางหูกบรรลุโสดา ปตติผล ชางหูกผูเปนบิดาขอบวชสําเร็จอารหัตตผล ตรัสอริทรัพย ๗ ประการ พรรษาที่ ๑๙ - จําพรรษาที่จาลิกบรรพต เขตเมืองจาลิกา ออกพรรษา เรื่องโปรดโจรองคุลีมาล เรื่องสันตติมหาอํามาตยบรรลุ อรหัตตผลแลวนิพพาน
  • 4. พรรษาที่ ๒๐ - จําพรรษาที่เวฬุวัน เมืองราชคฤห พระอานนทไดเปนอุปฏฐากประจําพระองค พระอานนททูลขอพร ๘ ประการ พรรษาที่ ๒๑-๔๕ - จําพรรษาที่วัดเชตวัน วัดบุพพาราม สลับกันไปหลังออกพรรษาที่จาริกไปตามตําบลตางๆ เพื่อโปรดเวไนยสัตว - ประมาณพรรษาที่ ๒๑ จําที่วัดบุพพาราม สาวัตถี พระองทรงแสดงโอวาทปาฏิโทกขในที่ประชุมสงฆทุกกึ่งเดือน ครั้งแรก - ประมาณพรรษาที่ ๒๖ พระราหุลนิพพาน - พรรษาที่ ๓๗ เทวทัตคิดปกครองสงฆ วางแผนปลงพระชนมพระศาสดา ปลงพระชนมพระเจาพิมพิสาร พระ เทวทัตถูกธรณีสูบ - พรรษาที่ ๓๘ แสดงสามัญญผลสูตรแกอชาติศัตรู อชาติศัตรูแสดงตนเปนพุทธมามกะ กรุงสาวัตถี อํามาตยกอ การขบถ พระเจาปเสนทิโกศลสิ้นพระชนม พระเจาวิฑูฑภะฆาลางวงศศากยะ พระเจาวิฑูฑภะสิ้นพระชนม - พรรษาที่ ๔๓ พระยโสธราเถรีนิพพาน - พรรษาที่ ๔๔ แสดงธรรมใที่วัดเชตวัน ตอบปญหาเทวดา หลังออกพรรษา พระสารีบุตรทูลลานิพพาน พระสารีบุตรโปรดมารดาจนบรรลุโสดาปตติผลพระสารีบุตรนิพพาน พระโมคคัลลานะถูกโจรที่เดียรถียจางมา  ทําราย พระโมคคัลลานะนิพพาน นางอัมพปาลีถวายอาราม นางอัมพปาลีบรรลุธรรม - พรรษาที่ ๔๕ ภิกษุจําพรรษารอบกรุงเวสาลี ตรัสอานุภาพอิทธิบาท ๔ ทรงปลงอายุสังขาร ตรัสโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ นายจุลทะถวายสุกรมัททวะ ตรัสถึงสังเวชนียสถาน ๔ แหง วิธีปฏิบัติกับพุทธสรีระปจฉิมโอวาทแกภิกษุ เสด็จ ปรินิพพาน โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม ตามพระราชบัญญัติเกณฑทหาร มีการยกเวนสามเณรผูรูธรรมไมตองเขาเกณฑทหาร ทางเถรสมาคมจึง ไดกําหนดองคของสามเณรผูรูธรรมขึ้น และจัดการสอบไล เพื่อใหสามเณรที่กําลังเรียนบาลีไมตองสึกไปเปน ทหาร จึงเปนตนกําเนิดของการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม ตอมาสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไดทรงรจนานวโกวาท เพื่อทรงสอนพระภิกษุ ใหมผูบวชชั่วคราว ระหวางพรรษาเปนเวาลา ๓ เดือน และเพื่อใหไดประโยชนทั่วไป จึงไดใหใชหนังสือนวโกวาท เปนแบบเรียน สําหรับนักธรรมชั้นตรี ทรงรจนาธรรมวิภาคปริจเฉท ๒ เปนแบบเรียนสําหรับนักธรรมชั้นโททรง รจนาวินัยมุขกับพุทธประวัติเลม ๑,๒,๓ เปนแบบเรียนสําหรับนักธรรมชั้นเอกรวมทั้งไดใหมีการแตงเรียงความแก กระทูธรรม เพื่อใหนักเรียนรูจักแตงเทศนและแสดงธรรมเปน ในชั้นตอมาเมื่อคฤหัสถมีความประสงคจะเรียน และสอบความรูนักธรรมชั้นบาง ทางคณะสงฆก็ไดจัดใหมีการสอบธรรม สําหรับคฤหัสถ เรียกวา ธรรมศึกษา แบงออกเปน ๓ ชั้น คือ ธรรมศึกษาตรี - โท - เอก ในสวนของพระภิกษุสามเณรเรียกวานักธรรม มีนักธรรมตรี -
  • 5. โท - เอก นักธรรมตรีจัดเปนนวกภูมิเปนบุพภาคของการเรียนบาลีประโยค ๓ นักธรรมโทจัดเปนมัชฌิมภูมิ เปน บุพภาคของการศึกษาบาลี ในชั้นประโยค ๔ ถึง ประโยค ๖ นักธรรมเอกจัดเปนเถรภูมิเปนบุพภาคของ การศึกษาบาลีประโยค ๗ ถึงประโยค ๙ และเปลี่ยนมาใชชื่อวา เปรียญธรรม (ป.ธ.) ซึ่งไดใชมาจนถึงทุกวันนี้ มหามงกุฎราชวิทยาลัยและมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว มีพระราช ประสงค ในอันที่จะใหพระภิกษุสามเณรไดมีการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เพื่อความเจริญรุงเรืองไพบูลยของ พระพุทธศาสนา จึงไดโปรดเกลา ฯ ใหจัดตั้งสถาบันการศึกษาในสวนของคณะสงฆธรรมยุติกนิกาย พระราชทาน นามวา มหามงกุฎราชวิทยาลัย เมื่อป พ.ศ.๒๔๓๙ โดยเปลี่ยนนามมหาธาตุวิทยาลัย ซึ่งพระองคไดทรงสถาปนา ไว เมื่อป พ.ศ.๒๔๓๒ การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกภาษาบาลี กอนป พ.ศ.๒๔๖๙ การสอบพระปริยัติธรรมแผนกภาษาบาลี ผูที่เขาสอบตองเขาสอบตอหนา คณะกรรมการ ตอหนาพระที่นั่งในพระบรมมหาราชวัง โดยการจับฉลาก แลวเขาไปแปลบาลีดวยปากเปลา ซึ่ง เรียกตอกันมาวา สมัยแปลดวยปากเปลา คณะกรรมการตัดสินใหคะแนนและรูผลกันในวันนั้น ผูที่สอบไดจะ ไดรับพระราชทานไตรจีวร แพร ซึ่งเปนของที่มีคามากในสมัยนั้น มีพระเปรียญธรรม ๙ ประโยค (ป.ธ.๙) เทาที่พอ มีหลักฐานที่รวบรวมไดดังนี้ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ไดแก สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (จี่ ป.ธ.๙) เปนชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกิดเมือป พ.ศ.๒๓๓๖ บวชอยูที่วัดราชบูรณะ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์ ่ เปนพระราชาคณะที่พระอมรโมลี เมื่อป พ.ศ.๒๓๖๕ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (จี) มรณะภาพเมื่อป พ.ศ. ่ ๒๔๑๖ อายุ ๘๑ ป เปนเจาอาวาสวัดประยุรวงศาวาส นานที่สุดถึง ๔๑ ป รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ไดแก พระอุดมปฏก นามเดิม สอน ฉายา พุทฺธสโร เปน ชาวจังหวัดพัทลุง เคยเปนเจาอาวาสวัดหงสาราม รูปที่ ๕ เปนเปรียญธรรม ๙ ประโยค ไดรับพระราชทานสมณ ศักดิ์เปนพระราชาคณะ ที่พระอุดมปฏก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เมื่อพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ขึ้นครองราชย ดวยเหตุที่ทานเคยคัดคานการตั้งคณะธรรมยุตินิกาย จึงไดลาออกจาก เจาอาวาส กลับไปอยูที่ภูมิลําเนาเดิม พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงใหอาราธนามาในงานพระราช พิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ทรงรับสั่งวา "ทานเดินทางมาแตไกล นานปจึงไดพบกัน ขอจงใหพระดยมใหชื่นใจท เถิด" เมื่อทานไดรับอนุญาตจากสมเด็จพระสังฆราชแลว ทานก็ตั้งพัดยศขึ้นถวาพระพรเปนภาษาบาลีวา อติเรกวสฺสสตํ ชีว อติเรกวสฺสสตํ ชีว อติเรกวสฺสสตํ ชีว ทีฆายุโก โหตุ อโรโค โหตุ ทีฆายุโก โหตุ อโรโค โหตุ สุขิโต โหตุ ปรมินฺทมหาราชา สิทฺธิ กิจฺจํ สิทธิกมฺมํ สิทฺธิลาโภ ชโย นิจฺจํ ปรมินฺทมหาราชาวรสฺส ภวตุ สพฺพทา ขอถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงสดับ แลวทรงโปรดคําถวายพระพรบทนี้มาก จึงทรงสั่งใหถือ เปนธรรมเนียม ใหพระสงฆใชพรบทนี้ถวายพระมหากษัตริย ในพระราชพิธีทั้งปวง จนถึงทุกวันนี้ โดยทรงเติมคํา วา ชีว เปน ชีวตุ เทานั้น และไดถือเปนธรรมเนียมสืบมาวา พระภิกษุผูที่จะถวายอดิเรกไดนั้น ตองมีสมณศักดิ์ เปนพระราชาคณะ จนถึงป พ.ศ.๒๕๑๐ ทางการคณะสงฆจึงไดอนุญาตใหพระครูสัญญาบัตรชั้นเอก ผูดํารง ตําแหนงเจาอาวาสพระอารามหลวง ซึ่งถือพัดยศเปลวเพลิง เปนผูถวายอดิเรกไดโดยอนุโลม
  • 6. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว มีอยู ๓ ทานดวยกันคือ สมเด็จพระสังฆราช (สา) ปุสฺสเทวมหาเถร วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพ ฯ เปนสมเด็จ พระสังฆราชองคที่ ๙ แหงกรุงรัตนโกสินทร นามเดิม สา ประสูติเมื่อป พ.ศ.๒๓๕๖ ภูมิลําเนาเดิมอยูจังหวัด ราชบุรี เมื่อป พ.ศ.๒๓๗๐ อายุ ๑๔ ป สอบได ๒ ประโยค ไดเปนเปรียญวังหนา เนื่องจากการสอบพระปริยัติ ธรรมสมัยนั้น ตองสอบใหได ๓ ประโยคในคราวเดียวกัน จึงถือวาสอบไดเปรียญ ครั้งนั้นสมเด็จพระบวรราชเจา กรมพระราชวังบวรมหาศักดิ์พลเสพ ทรงอุปการะพระภิกษุสามเณรที่สอบ ไดตั้งแต ๒ ประโยค จนกวาจะสอบไดเปรียญ ๓ ประโยค ดังนั้นผูที่สอบได ๒ ประโยค จึงเรียกกันวา เปรียญวัง หนา เมื่อทานอายุได ๑๘ ป ไดเขาสอบอีกครั้งหนึ่ง สอบคราวเดียวได ๙ ประโยค เมื่อป พ.ศ.๒๓๗๔ นับเปน สามเณรเปรียญ ๙ ประโยครูปแรกของกรุงรัตนโกสินทร เมื่ออุปสมบทได ๖ พรรษา ไดเปนพระราชคณะที่พระ อมรโมลี ตอมาไดลาสิกขาออกไปประกอบอาชีพอยางคฤหัสถ ตอมาเมื่อป พ.ศ.๒๓๙๕ เมื่ออายุได ๓๙ ป พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดใหทานกลับ เขามาอุปสมบทใหม ทานไดสอบเปรียญ ๙ ประโยคอีกครั้งหนึ่ง จึงมีนามวา พระมหาสา ปุสฺสเทโว เปรียญธรรม ๑๘ ประโยค เพราะในสมัยนั้น ภิกษุสามเณรเปรียญ หรือนักธรรมรูปใดลาสิกขาไป เมื่อกลับเขามาบวชใหมตอง สอบใหมหมดตั้งแตตน ระเบียบดังกลาวไดยกเลิกไป เมื่อป พ.ศ.๒๔๘๐ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทว) ไดรับพระราชทานสถาปนาเปนสมเด็จพระสังฆราช เมื่อป พ.ศ. ๒๔๓๖ สิ้นพระชนม เมื่อป พ.ศ.๒๔๔๒ พระชนมายุได ๘๗ พรรษา เปนสมเด็จพระสังฆราชได ๖ ป สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ฉิม) วัดโมลีโลกยาราม ภายหลังยายไปอยูวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ ทานแตกฉานในภาษาบาลีมาก ไดแตงคาถาภาษาบาลีถวายพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว มีคําขึ้นตน วา ยํยํ เทวมนุสฺสานํ ซึ่งทางคณะสงฆยังคงใชสวดในพระราชพิธีจนถึงปจจุบัน สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธศิร) วัดโสมนัสวิหาร ทานเกิดเมื่อป พ.ศ.๒๓๔๙ อุปสมบทเมื่อป พ.ศ. ิ ๒๓๖๙ ไดเปรียญ ๙ ประโยค เมือป พ.ศ.๒๓๗๙ ยายจากวัดราชาธิวาสไปครองวัดโสมนัสวิหาร เมื่อป พ.ศ. ่ ๒๓๙๙ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน ที่พระอริยมุนี เมื่อป พ.ศ.๒๓๙๙ มรณะภาพเมื่อป พ.ศ.๒๔๓๔ อายุ ๘๖ ป รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว สมเด็จพระพุฒาจารย (ศรี อโนมสิริ) สอบไดเปรียญธรรม ๘ ประโยค ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาเจาอยูหัว ครั้งทรงผนวช เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ขึ้นครองราชย พระองคทรงมี พระราชดําริวา ความรูของทานถึงภูมิเปรียญธรรม ๙ ประโยค จึงพระราชทานเพิ่มเติมใหอีกหนึ่งประโยค รวม เปน ๙ ประโยค และทรงตั้งใหเปนพระราชาคณะฤกษ ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อป พ.ศ.๒๓๙๔ ที่ พระวรญาณมุนี และทรงเปลี่ยนเปน พระอโนมามุนี ในปเดียวกัน ปตอมาโปรดใหทานเปนหัวหนาคณะสมณทูต ไปลังกาทวีป และโปรดใหยายจากวัดบวรนิเวศไปเปนเจาอาวาสวัดปทุมคงคา รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พ.ศ.๒๔๔๕ สมเด็จพระสังฆราช (อยู ญาโนทัย) สมเด็จพระสังฆราช องคที่ ๑๕ สถิตยอยูวัดสระเกศ ทานเปนพระมหาเปรียญที่สอบได ๙ ประโยค เปนรูปแรกในรัชกาลนี้ ที่ไดรับพระมหากรุณาธิคุณใหรถหลวง
  • 7. นําไปสงถึงพระอาราม และไดถือเปนธรรมเนียมปฏิบัติสืบตอมาจนถึงปจจุบันวา ภิกษุสามเณรที่สอบไดเปรียญ ธรรม ๙ ประโยค ทางสํานักพระราชวังจะจัดรถหลวงนําสงถึงวัด (ในกรุงเทพฯ) ทุกรูป ทานไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปนที่พระปฎก เมื่อป พ.ศ.๒๔๕๑ เปนสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช เมื่อป พ.ศ.๒๕๐๖ สิ้นพระชนมเมื่อป พ.ศ.๒๕๐๘ พระชนมายุได ๙๐ พรรษา พ.ศ.๒๔๔๕ พระมหาเหรียญ วัดสุทัศยเทพวราราม ทานเปนเปรียญ ๙ ประโยค ของสํานักเรียนธรรม วัดสุทัศน ฯ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะที่พระศรีสุทธิวงศ เมื่อป พ.ศ.๒๔๔๗ มรณะภาพ เมื่อป พ.ศ.๒๔๕๑ อายุ ๓๙ ป พรรษา ๑๘ พ.ศ.๒๔๔๖ พรมหาไคล อุตโม วัดสุทัศนเทพวราราม ไดัรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะ ที่พระอมรเมธาจารย เมื่อป พ.ศ.๒๔๕๒ ถึงแกมรณภาพ เมื่อป พ.ศ.๒๔๗๗ รวมอายุ ๕๓ ป พรรษา ๓๓ พ.ศ.๒๔๔๖ พระมหาอยู เขมจาโร (อุดมศิลป) วัดเทพศิรินทราวาส ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะที่พระอมราภิรักขิต เมื่อป พ.ศ.๒๔๕๒ ลาสิกขาเมื่อป พ.ศ.๒๔๕๙เขารับราชการในกรม ศึกษาธิการเปนพนักงานราชบัณฑิต ไดรับพระราชทานบรรดาศักดิเ์ ปนพระธรรมนิเทศทวยหาญ ไดโอนไปเปน หัวหนาอนุศาสนาจารยืในกองทับบก เปนอนุศาสนาจารยคนแรกของกองทัพไทย จนเษียณอายุราชการ เมื่อป พ.ศ.๒๔๘๕ พ.ศ.๒๔๔๗ สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์ เปนพระราชาคณะที่ พระศรีวิสุทธิวงศ เมื่อป พ.ศ.๒๔๕๕ เปนสมเด็จพระวันรัตน เมื่อป พ.ศ.๒๔๘๒ พ.ศ.๒๔๔๘ สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน ติสฺสทตฺโต) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ไดรับพระราชทาน สมณศักดิ์เปนพระราชาคณะที่ พระศากยบุตติยวงศ เมื่อป พ.ศ.๒๔๖๔ เปนสมเด็จพระวันรัต เมื่อป พ.ศ.๒๔๘๘ ทานเปนสังฆมนตรีวาการองคการปกครองรูปแรก ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ.๒๔๘๔ ทานมรณะภาพ เมื่อป พ.ศ.๒๔๙๐ อายุ ๗๒ ป พระมหาหรุม พฺรหฺมโชติโก ป.ธ.๙ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปนพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่พระอมร โมลี เมื่อป พ.ศ.๒๔๔๙ ไดลาสิกขาเมื่อป พ.ศ.๒๔๖๕ พระมหาอําพัน อรุโณ ป.ธ.๙ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปนพระราชาคณะชั้นสามัญที่พระกวีวงศ เมื่อ ป พ.ศ.๒๔๕๒ ภายหลังลาสิกขาเมื่อใดไมปรากฏ พ.ศ.๒๔๕๑ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม สอบได ป.ธ.๙ ตั้งแตครั้งยังเปนสามเณร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดปรานมาก ทรงใหจัดรถเขาขบวน แหนําสงถึงพระอาราม ตอมาทรงอุปถัมภจัดการใหอุปสมบทเปนนาคหลวง และไดถือเปนธรรมเนียมสืบมาจนถึง ปจจุบันวา สามเณรรูปใดสอบได ป.ธ.๙ ทรงรับสามเณรรูปนั้นไวในพระบรมราชูปถัมภ ใหเขาอุปสมบทเปนนาค หลวงเปนกรณีพิเศษ ทานไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะที่พระศรีสุทธิวงศ เมื่อป พ.ศ.๒๔๖๖ เปนสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราชองคที่ ๑๔ เมื่อป พ.ศ.๒๕๐๓ สอบไดเปรียญธรรม ๙ ประโยค พ.ศ.๒๔๕๓ พระมหาทวี สุวฑฺฒโน วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม สอบไดเปรียญธรรม ๙ ประโยค เปน รูปแรกของวัด เมื่ออุปสมบทได ๘ พรรษา ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะที่อมรโมลี พรรษาที่ ๑๒ ไดขอลาสิกขา ออกไปรับราชการที่กระทรวงธรรมการ และกระทรวงการคลังตามลําดับ เปนกรรมการชําระ
  • 8. ปทานุกรม (พจนานุกรม) ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์เปน หลวงเทพดรุณานุศิษฎ (ทวี ธรรมธัช) ยศเปนรองอํามาตยเอก ตั้งแตป พ.ศ.๒๔๖๙ ทางการคณะสงฆไดกําหนดวิธีการสอบเปนแบบขอเขียน และเพิ่มเปนสามวิชาคือ ๑. วิชาเขียนไทยเปนมคธ โดยออกขอสอบเปนภาษาไทย ใหผูเขาสอบเขียนตอบเปนภาาามคธ ๒. วิชาแปลไทยเปนมคธ ขอสอบแปลมาจากภาษามคธเปนภาษาไทย ใหตอบเปนภาษามคธ ๓. วิชาแปลมคธเปนไทย ออกขอสอบเปนภาษามคธใหตอบเปนภาษาไทย ตั้งแตป พ.ศ.๒๔๕๑ จนถึงป พ.ศ.๒๕๐๒ เปนเวลา ๕๑ ป ไมปรากฎวามีสามเณรรูปใดสอบได ป.ธ.๙ เลย ผูที่สอนไดตั้งแตเปรียญธรรม ๓ ประโยค ขึ้นไปยังคงเขารับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดยศเปรียญ และไตรจีวรในพระบรมมหาราชวัง ในวันขึ้น ๑๔ ค่ํา เดือน ๖ กอนวันวิสาขบูชา ๑ วัน เปนประจําทุกป เรียกวา วันทรงตั้งพระเปรียญ พระภิกษุที่สอบไดประโยค ป.ธ.๓ แลว ถายังไมผานพนวัน จะยังไมใชคํานําหนาชื่อวา พระ มหาไมได คงใชเชนเดียวกับสามเณร คือ มีคําวาเปรียญตามหลังชื่อ ตั้งแต ป พ.ศ.๒๔๘๘ เปนตนมา มีพระภิกษุามเณรสอบไดมากขึ้น จึงทรงมอบหมายใหสมเด็จ พระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ทรงดําเนินการแทนพระองค ยกเวนผูที่สอบได ป.ธ.๖ และ ป.ธ.๙ ยังคงโปรด ใหเขารับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดยศเปรียญและไตรจีวร เหมือนเดิม และยังคงใหรถหลวงนําสงเฉพาะผู ที่สอบได ป.ธ.๙ หลังจากป พ.ศ.๒๕๑๐ ทางคณะสงฆโดยสมเด็จพระพุทธโฆษาารย (ฟน ชุตินธรมหาเถระ ป.ธ.๙) วัด สามพระยา ครั้งดํารงสมณศักดิ์ที่ พระธรรมปญญาบดี แมกองบาลีสนามหลวง ไดจัดใหมีการสอบเปรียญธรรม ประโยค ๑ - ๒ อีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่คณะสงฆไดยกเลิกการสอบประโยค ๑ - ๒ ไปชั่วระยะหนึ่ง เมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงจัดองคนักธรรมขึ้นครบทั้งสามชั้น แลวในป พ.ศ.๒๔๕๔ ไดเปดสอบนักธรรมตรีขึ้นเปนปแรก พระปลัดแบน คณฺฐาภรโณ อายุ ๒๗ พรรษา ๗ วัดบวชนิเวศ วิหาร สมัครสอบเปนรูปแรกและสอบไดเปรูปแรก ภายหลังทานไดเปนที่พระรัตนธัชมุนี พระราชาคณะชั้นธรรม ตอมาในป พ.ศ.๒๔๖๐ ไดเปดสอบนักธรรมโท พ.ศ.๒๔๖๕ เปดสอบนักธรรมเอก ไดมีการจัดใหสอดคลองกับการศึกษาบาลี เดิมดังที่ไดกลาวมาแลวแตตนในเรื่องของนวกภูมิ มัชฌิมภูมิ และเถรภูมิ จึงนิยมเรียกผูที่สอบบาลีได ป.ธ.๓ วา เปรียญตรี ผูที่สอบ ป.ธ. ๔ - ๕ - ๖ วา เปรียญโท และเรียกผูที่ สอบได ป.ธ.๗ - ๘ - ๙ วา เปรียญเอก ผนวก ก การศึกษาภาษาบาลี ถือไดวาเปนการรักษาวรรคดีบาลีแหงพระพุทธศาสนา อันทรงไวซึ่งหลักคําสอนทาง พระพุทธศาสนา ใหคงอยูเปนมรดกทางศาสนา วัฒนธรรมและวรรณคดี