SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 9
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร
- แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก
หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี
- พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ
1. อธิบายการเกิดแรงยึดเหนี่ยวในพันธะโลหะได้
2. อธิบายสมบัติของโลหะได้
ตัวชี้วัด
จุดประสงค์การเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐาน
เรื่อง พันธะโลหะ
พันธะโลหะ ( Metallic Bond )
คือ แรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกที่เรียงชิดกันกับกลุ่มอิเล็กตรอนอิสระที่อยู่โดยรอบ หรือเป็นแรง
ยึดเหนี่ยวที่เกิดจากอะตอมในก้อนโลหะใช้เวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมดร่วมกัน อิเล็กตรอนอิสระเกิดขึ้นได้
เนื่องจากโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันต่า จึงเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย ทาให้เกิดกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน
และไอออนบวก การเกิดพันธะโลหะอาจแสดงได้ด้วยแบบจาลองทะเลอิเล็กตรอน (รูปที่ 10.1) คือ ภายใน
โลหะประกอบด้วยไอออนบวกที่เรียงชิดกันถูกล้อมรอบด้วยกลุ่มหมอกของเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้
ทะเลอิเล็กตรอนหรือกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นทาหน้าที่เสมือนกาวเชื่อมไอออนบวกทั้งหลายไว้
ด้วยกันอย่างแข็งแรง ( กาวต้องไม่แห้ง ) ความแข็งแรงของพันธะโลหะขึ้นอยู่กับจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่
หลุดจากอะตอม( อิเล็กตรอนอิสระ) และขนาดของไอออนบวกที่เรียงชิดกัน เช่น ถ้าไอออนบวกมีขนาดเล็ก
และมีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่หลุดออกจากอะตอมจานวนมาก พันธะโลหะก็จะแข็งแรง
รูปที่ 10.1 แบบจาลองทะเลอิเล็กตรอนในโลหะ (ที่มา : http://www.electron.rmutphysics.com)
ใบความรู้
สมบัติบางประการของพันธะโลหะ
1. โลหะเป็นตัวนาไฟฟ้าที่ดี เพราะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปได้ง่ายทั่วทั้งก้อนของโลหะ แต่โลหะนา
ไฟฟ้าได้น้อยลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากไอออนบวกมีการสั่นสะเทือนด้วยความถี่และช่วงกว้างที่สูงขึ้น
ทาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ไม่สะดวก
2. โลหะนาความร้อนได้ดี เพราะมีอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้ โดยอิเล็กตรอนซึ่งอยู่ตรงตาแหน่งที่มี
อุณหภูมิสูง จะมีพลังงานจลน์สูง และอิเล็กตรอนที่พลังงานจลน์สูงจะเคลื่อนที่ไปยังส่วนอื่นของโลหะ จึง
สามารถถ่ายเทความร้อนให้แก่ส่วนอื่น ๆ ของแท่งโลหะที่มีอุณหภูมิต่ากว่าได้
3. โลหะตีแผ่เป็นแผ่นหรือดึงออกเป็นเส้นได้ เพราะไอออนบวกแต่ละไอออนอยู่ในสภาพเหมือน ๆ
กัน และได้รับแรงดึงดูดจากประจุลบเท่ากันทั้งแท่งโลหะ เมื่อถูกทุบหรือตีหรือดึงจะไม่แตก เพราะไอออน
บวกเลื่อนไถลผ่านกันได้โดยไม่หลุดจากกัน (รูปที่ 10.2) เนื่องจากกลุ่มของอิเล็กตรอนทาหน้าที่คอยยึด
ไอออนบวกเหล่านี้ไว้
รูปที่ 10.2 การเลื่อนไถลของอะตอมโลหะเมื่อถูกแรงกระทา (ที่มา : หนังสือ สสวท.)
4. โลหะมีผิวมันวาว เพราะกลุ่มของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้โดยอิสระจะรับและกระจายแสงออกมา
จึงทาให้โลหะสามารถสะท้อนแสงซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้
5. โลหะมีจุดหลอมเหลวสูง เพราะพันธะในโลหะเป็นพันธะที่เกิดจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเวเลนซ์
อิเล็กตรอนอิสระทั้งหมดในก้อนโลหะกับไอออนบวก จึงเป็นพันธะที่แข็งแรงมาก
ตารางที่ 10.1 เปรียบเทียบสมบัติของสารประเภทต่าง ๆ
ชนิด
สมบัติ
สารโคเวเลนต์
สารไอออนิก
สารโครงผลึก
ร่างตาข่าย
โลหะ
ไม่มีขั้ว มีขั้ว
สถานะที่ภาวะ
ปกติ
แก๊ส
ของแข็ง
ของเหลว
แก๊ส
ของแข็ง
ของเหลว
ของแข็ง ของแข็ง
ของแข็ง
ยกเว้นปรอท
ความเหนียว
เปราะ
(ของแข็ง)
เปราะ
(ของแข็ง)
เปราะ เปราะ เหนียว
จุดหลอมเหลว
และจุดเดือด
ต่า ต่า สูง สูง สูง
การนาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า
ไม่นาไฟฟ้า
แต่
หลอมเหลว
นาไฟฟ้าได้
มีทั้งนาไฟฟ้าได้ดี
คือ แกรไฟต์ นา
ไฟฟ้าได้บ้าง คือ
ซิลิคอน และไม่นา
ไฟฟ้า คือ เพชร
นาไฟฟ้าได้
ยกเว้นสถานะ
แก๊ส (ไอ)
การละลายน้า
และการนาไฟฟ้า
ของสารละลาย
ไม่ละลาย
น้า
ละลายน้า
ได้ แต่
สารละลาย
ส่วนใหญ่
ไม่นาไฟฟ้า
มีทั้งละลาย
น้าได้และไม่
ละลายน้า
สารละลาย
นาไฟฟ้าได้
ไม่ละลายน้า
ไม่ละลายน้า แต่
โลหะบางชนิดทา
ปฏิกิริยากับน้า
เช่น โลหะหมู่ IA
สารละลายที่ได้
นาไฟฟ้าได้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 10 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน
เรื่อง พันธะโลหะ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของโลหะ
ก. มีความแข็งเหนียว
ข. ในสภาพของแข็งไม่นาไฟฟ้า
ค. ตีเป็นแผ่นหรือยืดเป็นเส้นได้
ง. มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
2. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสาเหตุที่ทาให้เวเลนต์อิเล็กตรอน
ของแต่ละอะตอมในโลหะสามารถเคลื่อนที่ได้
อย่างอิสระ
ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก
ข. อะตอมของโลหะมี IE ต่า แรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างเวเลนต์อิเล็กตรอนกับโปรตอน
ในนิวเคลียสน้อย
ค. อะตอมของโลหะมี IE สูง แรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างเวเลนต์อิเล็กตรอนกับโปรตอน
ในนิวเคลียสมาก
ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะ
สามารถเลื่อนไถลได้
3. สมบัติของโลหะในข้อใดอธิบายการตีเป็นแผ่น
ของโลหะได้ดีที่สุด
ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก
ข. โลหะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ
ค. อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจาย
คลื่นแสงได้
ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะ
สามารถเลื่อนไถลได้
4.โลหะสามารถสะท้อนแสงได้เพราะเหตุใด
ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก
ข. โลหะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ
ค. อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและปล่อย
คลื่นแสงออกมาได้
ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะ
สามารถเลื่อนไถลได้
แบบทดสอบหลังเรียน
5. การที่เวเลนต์อิเล็กตรอนของโลหะสามารถเคลื่อนที่
ได้อย่างอิสระทาให้โลหะมีสมบัติใด
ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก
ข. โลหะสามารถนาไฟฟ้าได้
ค. โลหะสะท้อนแสงได้
ง. โลหะสามารถตีเป็นแผ่นได้
ชุดที่ 10 เรื่อง พันธะโลหะ
ตัวเลือก
หัวข้อ
ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชั้น ............ เลขที่ ..........
คะแนนเต็ม 5
คะแนนที่สอบได้
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ
(.............................................................)
วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ.
..............
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 10 เรื่อง พันธะโลหะ
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1) ข.
2) ข.
3) ง.
4) ค.
5) ข.
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว, 2553
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553
สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์
โปรเกสซีฟ จากัด 2553.
บรรณานุกรม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
Jariya Jaiyot
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
Zee Gopgap
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
kruannchem
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
081445300
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
kruannchem
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
kruannchem
 

Was ist angesagt? (19)

Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
4.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 24.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 2
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
Chemical bonding1
Chemical bonding1Chemical bonding1
Chemical bonding1
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
Chemical bond
Chemical bondChemical bond
Chemical bond
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
chemical bonding
chemical bondingchemical bonding
chemical bonding
 

Ähnlich wie Punmanee study 10

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
Pew Juthiporn
 
Fm 01 เรื่อง หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ของไหล
Fm 01 เรื่อง หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ของไหลFm 01 เรื่อง หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ของไหล
Fm 01 เรื่อง หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ของไหล
Chutti Pranomsri
 

Ähnlich wie Punmanee study 10 (8)

Punmanee study 1
Punmanee study 1Punmanee study 1
Punmanee study 1
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
 
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสารเนื้อหาสารและสมบัติของสาร
เนื้อหาสารและสมบัติของสาร
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
 
Fm 01 เรื่อง หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ของไหล
Fm 01 เรื่อง หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ของไหลFm 01 เรื่อง หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ของไหล
Fm 01 เรื่อง หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ของไหล
 

Punmanee study 10

  • 1. ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี - พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ 1. อธิบายการเกิดแรงยึดเหนี่ยวในพันธะโลหะได้ 2. อธิบายสมบัติของโลหะได้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐาน
  • 2. เรื่อง พันธะโลหะ พันธะโลหะ ( Metallic Bond ) คือ แรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกที่เรียงชิดกันกับกลุ่มอิเล็กตรอนอิสระที่อยู่โดยรอบ หรือเป็นแรง ยึดเหนี่ยวที่เกิดจากอะตอมในก้อนโลหะใช้เวเลนต์อิเล็กตรอนทั้งหมดร่วมกัน อิเล็กตรอนอิสระเกิดขึ้นได้ เนื่องจากโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันต่า จึงเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย ทาให้เกิดกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน และไอออนบวก การเกิดพันธะโลหะอาจแสดงได้ด้วยแบบจาลองทะเลอิเล็กตรอน (รูปที่ 10.1) คือ ภายใน โลหะประกอบด้วยไอออนบวกที่เรียงชิดกันถูกล้อมรอบด้วยกลุ่มหมอกของเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้ ทะเลอิเล็กตรอนหรือกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นทาหน้าที่เสมือนกาวเชื่อมไอออนบวกทั้งหลายไว้ ด้วยกันอย่างแข็งแรง ( กาวต้องไม่แห้ง ) ความแข็งแรงของพันธะโลหะขึ้นอยู่กับจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่ หลุดจากอะตอม( อิเล็กตรอนอิสระ) และขนาดของไอออนบวกที่เรียงชิดกัน เช่น ถ้าไอออนบวกมีขนาดเล็ก และมีจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่หลุดออกจากอะตอมจานวนมาก พันธะโลหะก็จะแข็งแรง รูปที่ 10.1 แบบจาลองทะเลอิเล็กตรอนในโลหะ (ที่มา : http://www.electron.rmutphysics.com) ใบความรู้
  • 3. สมบัติบางประการของพันธะโลหะ 1. โลหะเป็นตัวนาไฟฟ้าที่ดี เพราะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปได้ง่ายทั่วทั้งก้อนของโลหะ แต่โลหะนา ไฟฟ้าได้น้อยลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากไอออนบวกมีการสั่นสะเทือนด้วยความถี่และช่วงกว้างที่สูงขึ้น ทาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ไม่สะดวก 2. โลหะนาความร้อนได้ดี เพราะมีอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้ โดยอิเล็กตรอนซึ่งอยู่ตรงตาแหน่งที่มี อุณหภูมิสูง จะมีพลังงานจลน์สูง และอิเล็กตรอนที่พลังงานจลน์สูงจะเคลื่อนที่ไปยังส่วนอื่นของโลหะ จึง สามารถถ่ายเทความร้อนให้แก่ส่วนอื่น ๆ ของแท่งโลหะที่มีอุณหภูมิต่ากว่าได้ 3. โลหะตีแผ่เป็นแผ่นหรือดึงออกเป็นเส้นได้ เพราะไอออนบวกแต่ละไอออนอยู่ในสภาพเหมือน ๆ กัน และได้รับแรงดึงดูดจากประจุลบเท่ากันทั้งแท่งโลหะ เมื่อถูกทุบหรือตีหรือดึงจะไม่แตก เพราะไอออน บวกเลื่อนไถลผ่านกันได้โดยไม่หลุดจากกัน (รูปที่ 10.2) เนื่องจากกลุ่มของอิเล็กตรอนทาหน้าที่คอยยึด ไอออนบวกเหล่านี้ไว้ รูปที่ 10.2 การเลื่อนไถลของอะตอมโลหะเมื่อถูกแรงกระทา (ที่มา : หนังสือ สสวท.) 4. โลหะมีผิวมันวาว เพราะกลุ่มของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้โดยอิสระจะรับและกระจายแสงออกมา จึงทาให้โลหะสามารถสะท้อนแสงซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ 5. โลหะมีจุดหลอมเหลวสูง เพราะพันธะในโลหะเป็นพันธะที่เกิดจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเวเลนซ์ อิเล็กตรอนอิสระทั้งหมดในก้อนโลหะกับไอออนบวก จึงเป็นพันธะที่แข็งแรงมาก
  • 4. ตารางที่ 10.1 เปรียบเทียบสมบัติของสารประเภทต่าง ๆ ชนิด สมบัติ สารโคเวเลนต์ สารไอออนิก สารโครงผลึก ร่างตาข่าย โลหะ ไม่มีขั้ว มีขั้ว สถานะที่ภาวะ ปกติ แก๊ส ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ของแข็ง ของเหลว ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ยกเว้นปรอท ความเหนียว เปราะ (ของแข็ง) เปราะ (ของแข็ง) เปราะ เปราะ เหนียว จุดหลอมเหลว และจุดเดือด ต่า ต่า สูง สูง สูง การนาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า แต่ หลอมเหลว นาไฟฟ้าได้ มีทั้งนาไฟฟ้าได้ดี คือ แกรไฟต์ นา ไฟฟ้าได้บ้าง คือ ซิลิคอน และไม่นา ไฟฟ้า คือ เพชร นาไฟฟ้าได้ ยกเว้นสถานะ แก๊ส (ไอ) การละลายน้า และการนาไฟฟ้า ของสารละลาย ไม่ละลาย น้า ละลายน้า ได้ แต่ สารละลาย ส่วนใหญ่ ไม่นาไฟฟ้า มีทั้งละลาย น้าได้และไม่ ละลายน้า สารละลาย นาไฟฟ้าได้ ไม่ละลายน้า ไม่ละลายน้า แต่ โลหะบางชนิดทา ปฏิกิริยากับน้า เช่น โลหะหมู่ IA สารละลายที่ได้ นาไฟฟ้าได้
  • 5. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 10 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน เรื่อง พันธะโลหะ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของโลหะ ก. มีความแข็งเหนียว ข. ในสภาพของแข็งไม่นาไฟฟ้า ค. ตีเป็นแผ่นหรือยืดเป็นเส้นได้ ง. มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง 2. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสาเหตุที่ทาให้เวเลนต์อิเล็กตรอน ของแต่ละอะตอมในโลหะสามารถเคลื่อนที่ได้ อย่างอิสระ ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก ข. อะตอมของโลหะมี IE ต่า แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างเวเลนต์อิเล็กตรอนกับโปรตอน ในนิวเคลียสน้อย ค. อะตอมของโลหะมี IE สูง แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างเวเลนต์อิเล็กตรอนกับโปรตอน ในนิวเคลียสมาก ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะ สามารถเลื่อนไถลได้ 3. สมบัติของโลหะในข้อใดอธิบายการตีเป็นแผ่น ของโลหะได้ดีที่สุด ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก ข. โลหะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ ค. อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจาย คลื่นแสงได้ ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะ สามารถเลื่อนไถลได้ 4.โลหะสามารถสะท้อนแสงได้เพราะเหตุใด ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก ข. โลหะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ ค. อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและปล่อย คลื่นแสงออกมาได้ ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะ สามารถเลื่อนไถลได้ แบบทดสอบหลังเรียน
  • 7. ชุดที่ 10 เรื่อง พันธะโลหะ ตัวเลือก หัวข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชั้น ............ เลขที่ .......... คะแนนเต็ม 5 คะแนนที่สอบได้ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ (.............................................................) วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. .............. กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
  • 8. ชุดที่ 10 เรื่อง พันธะโลหะ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 1) ข. 2) ข. 3) ง. 4) ค. 5) ข. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
  • 9. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกสซีฟ จากัด 2553. บรรณานุกรม