SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 8
1


                   ข้อมูลทัวไปของ GMOs
                           ่
1. บทนำำ
        สังคมปัจจุบัน กำำลังมีควำมกังวลและมีข้อข้องใจเกี่ยวกับสิ่ง
มีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ซึ่งมีทงพืชสัตว์และจุลินทรีย์ หรือที่เรำ
                                    ั้
เรียกกันว่ำ “จีเอ็มโอ” (GMOs) ว่ำกำรบริโภคอำหำรที่มีสวน      ่
ประกอบเป็นจีเอ็มโอจะมีผลกระทบต่อร่ำงกำยหรือไม่ อย่ำงไร ทัง            ้
ในแง่ประโยชน์และโทษ เนื่องจำกเทคโนโลยีใหม่นี้มีควำม
เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำำวัน ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสำำคัญที่ต้องเรียนรู้
และทำำควำมรู้จักกับ พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรมเหล่ำ
นี้ เพื่อที่จะได้รับทรำบข้อมูลทีถูกต้องและมีควำมเข้ำใจในประเด็น
                                  ่
ควำมมำกขึ้น
        กำรดัดแปลงพันธุกรรม (genetic modification) ไม่ว่ำจะ
เป็นกำรดัดแปลงพันธุกรรมพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ จะทำำให้ได้พืช
สัตว์ จุลินทรีย์ หรือสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (genetically
modified organism) หรือเรียกย่อเป็น GMO หรือจีเอ็มโอ ควำม
เป็นมำของคำำว่ำ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ) อำจย้อน
ไปถึงในช่วงต้นของทศวรรษ 1800s ได้มีกำรนำำเทคโนโลยี
ชีวภำพที่เรียกว่ำ r-DNA เทคโนโลยีหรือพันธุวิศวกรรม (genetic
engineering) มำใช้ในกำรพัฒนำสิ่งมีชีวิต ไม่ว่ำจะเป็นพืช สัตว์
หรือจุลินทรีย์ เพื่อวัตถุประสงค์ต่ำงๆกัน ทั้งในกำรปรับปรุงพันธุ์พืช
พันธุ์สัตว์ จุลินทรีย์ กำรผลิตยำรักษำโรคและเภสัชภัณฑ์ ฯลฯ ใน
ช่วงนั้นสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ที่นำำมำใช้จะเป็น
จุลินทรีย์(microorganism) ดังนั้นจุลินทรียที่ได้มีกำรถูกดัดแปลง
                                               ์
โดยวิธีกำรทำงพันธุวิศวกรรม มีกำรเรียกว่ำเป็น genetically
engineered microorganism หรือ GEM ซึ่งอำจเรียกในภำษำ
ไทยเป็น “จุลินทรียที่ถูกดัดแปลงทำงพันธุกรรม” แต่กำรดัดแปลง
                       ์
ทำงพันธุกรรม (genetic modification) ได้ครอบคลุมไปถึงพืช
สัตว์ ด้วย ดังนั้นสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมอำจเป็น “พืช
ดัดแปลงพันธุกรรม” (genetically modified plant หรือ
transgenic plant) หรือ “สัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม” (genetic
modified animal หรือ transgenic animal) หรือถ้ำเป็นสิ่งมีชีวิต
(organism) ทั้งพืชและสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรมเหล่ำนี้สำมำรถ
เรียกรวมๆกันเป็น “สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม” (genetically
modified organism) หรือ GMO
2


       สำรพันธุกรรมหรือที่เรียกว่ำ DNA เป็นสำรเคมีที่ประกอบกัน
ขึ้นเป็นหน่วยพันธุกรรมหรือ ยีน (GENE) และสิ่งมีชีวิตดังกล่ำว
อำจจะเป็นสัตว์ พืช หรือจุลินทรีย์
       จุลินทรีย์ GMO นั้นใช้ในอุตสำหกรรมอำหำรและยำ และมี
จุลินทรีย์ GMO ที่มีคุณสมบัติพิเศษในกำรกำำจัดครำบนำ้ำมันได้ดี
       พืช GMO เช่น ฝ้ำย ข้ำวโพด มันฝรัง มะละกอ เรำนิยมทำำ
                                          ่
GMO ในพืชเพรำะว่ำทำำได้ง่ำยกว่ำสัตว์ และสำมำรถศึกษำพืช
GMO ได้หลำยๆ ชั่วอำยุของพืช (Generation) เพรำะว่ำพืชมีอำยุ
สั้นกว่ำสัตว์ ซึ่งอำยุของสัตว์แต่ละ Generation นั้นกินเวลำนำน
หลำยปี
       สัตว์ GMO เช่น ปลำแซลมอน ซึ่ง Modified หมำยควำมว่ำ
ปลำนี้ได้รับกำรปรุงแต่ง หรือดัดแปลงโดยมนุษย์ไปเรียบร้อยแล้ว
ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหำกำรขำดแคลนอำหำร เพรำะมนุษย์ล้นโลกได้
เป็นอย่ำงดี จึงเป็นวิธีพัฒนำกำรทำงด้ำนอำหำรสำำหรับบริโภคของ
มนุษย์

2. ควำมหมำย
     จีเอ็มโอ เป็นชื่อเรียกคำำย่อของ Genetically Modified
Organism หรือ GMO หมำยถึง สิ่งมีชีวิตที่ได้มีกำรเปลี่ยนแปลง
ลักษณะทำงพันธุกรรมโดยอำศัยเทคนิคทำงพันธุวิศวกรรม
(Genetic Engineering) หรือเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับกำรตัดต่อยีน
ในบำงครั้งจะพบว่ำมีกำรพูดถึงแอลเอ็มโอ (LMO) ซึ่งเป็นคำำย่อมำ
จำก Living Modified Organism หมำยถึง จีเอ็มโอที่มีชีวิตอยู่
     ลักษณะ และคุณสมบัติของพืชที่ได้รับกำรตัดแต่งพันธุกรรม
ตำมทีมนุษย์ต้องกำร เช่น
     ่
     1. พืชที่ต้ำนทำนโรค เช่น โรคที่เกิดจำกเชื้อไวรัส แบคทีเรีย
     และเชื้อรำ
     2. พืชที่ต้ำนทำนต่อแมลงศัตรูพืช ยำกำำจัดวัชพืช
     3. พืชที่ทนทำนต่อสภำพแวดล้อมที่ไม่เหมำะสม เช่น ภำวะ
     แห้งแล้ง ดินเค็ม หรือเป็นกรด
     4. พืชที่สำมำรถชลอกำรสุกได้ เช่น ผลไม้ที่สุกช้ำ
     5. พืชที่มีสำรอำหำร เช่น ไขมัน โปรตีน วิตำมิน เบต้ำแคโร
     ทีน และคำร์โบไฮเดรต ใน
ลักษณะและปริมำณตำมที่ต้องกำร
     6. พืชที่ถูกลดสำรที่เป็น allergen ( สำรทีทำำให้เกิดภูมิแพ้ )
                                              ่
3


3. เกี่ยวกับยีน
      ยีน (gene) เป็นหน่วยพันธุกรรมบนเส้นดีเอ็นเอ (DNA) ซึ่ง
      อำจรวมอยู่บนโครโมโซมหรือ
ส่วนใดส่วนหนึ่งของสิ่งมีชีวิต หน่วยพันธุกรรมหรือยีนสำมำรถทำำ
หน้ำที่อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งในเซลล์เพื่อให้สิ่งมีชีวิตนั้นมีกำรพัฒนำ
และเจริญเติบโต ได้อย่ำงปกติ เช่นยีนที่สร้ำงโปรตีนเพื่อใช้เป็น
โครงสร้ำงของเซลล์หรือเป็นเอ็นไซม์สำำหรับกำรทำำปฏิกริยำทำง
เคมี หรือยีนที่ควบคุมกำรทำำงำนของยีนอื่นๆ เป็นต้น บนเส้น
ดีเอ็นเอ จึงมียีนเป็นจำำนวนมำก เช่นแบคทีเรียมีประมำณ 4,000
ยีน แมลงหวี่ 20,000 ยีน พืชชั้นสูง 30,000-50,000 ยีน และ
มนุษย์ 100,000 ยีน จำำนวนยีนและชนิดของยีนในสิ่งมีชีวิตแต่ละ
ชนิดจัดเป็นเอกลักษณ์เฉพำะสิ่งมีชีวิตนั้นๆ และสำมำรถถ่ำยทอด
จำกพ่อแม่ไปสู่ลูกหลำนเพื่อดำำรงเผ่ำพันธุ์ของแต่ละชนิดพันธุ์
(species) เอำไว้กำรถ่ำยทอดยีนในสิ่งมีชีวิต มีส่วนให้เกิดกำร
พัฒนำสำยพันธุ์ใหม่ขึ้น ตัวอย่ำงที่เห็นได้ชัดเจนคือมนุษย์ กำรให้
กำำเนิดทำรกมีกำรถ่ำยทอดและผสมลักษณะทำงพันธุกรรมหรือยีน
จำกพ่อและแม่เข้ำด้วยกัน ลูกจึงมีบำงส่วนที่คล้ำยพ่อ และบำง
ส่วนคล้ำยแม่และมีบำงส่วนซึ่งแตกต่ำงไปจำกพ่อและแม่ จะเห็น
ได้ว่ำกำรถ่ำยทอดยีนเป็นสิ่งปกติในธรรมชำติ ถือว่ำเป็นส่วนหนึ่ง
ของวิวฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ
        ั

4.กำรตัดต่อยีน
      เมื่อควำมรู้เรื่องยีนมีมำกขึ้น มีกำรศึกษำถึงรหัสหรือลำำดับ
      เบส สี่ชนิด คือ อดินิน (A) กัว
นิน (G) ทัยมิน (T) และซัยโตซิน (C) ที่เรียงรำยอยู่บนเส้น
ดีเอ็นเอและรู้ถงหน้ำที่หรือกิจกรรมของกลุ่มเบสทีรวมกันเป็นยีน
               ึ                                   ่
แต่ละยีน นักวิชำกำรสำมำรถตัดชิ้นของกลุ่มรหัสเหล่ำนี้ ไปเชื่อม
ต่อกับเส้นดีเอ็นเอ ของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ได้โดยอำศัยปฏิกริยำทำง
ชีวเคมี เทคนิคกำรตัดต่อยีนนี้ เป็นส่วนหนึ่งของเทคนิคพันธุ
วิศวกรรม ที่มีกำรนำำมำประยุกต์ใช้อย่ำงแพร่หลำยมำกขึ้นโดยมุง      ่
หวังจะให้เกิดกำรถ่ำยยีนจำกสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปให้กับ สิ่งมีชีวิต
อีกชนิดหนึ่ง เพื่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงทำงพันธุกรรมตำมที่
ต้องกำร สิ่งมีชีวิตใหม่ทได้รับกำรตัดต่อยีนเพิ่มเติมจำกเดิม คือ
                           ี่
จีเอ็มโอ
4


5. GMF ( Genetically Modified Food ) หรือ GM Food
เป็นคำำที่ใช้เรียก
      1. พืชตัดแต่งพันธุกรรมที่สำมำรถบริโภคเป็นอำหำรได้
      โดยตรง เช่น มะเขือเทศ มะละกอ
ข้ำว ข้ำวโพด
      2. อำหำรและผลิตภัณฑ์ที่ผลิตหรือแปรรูปจำกพืชตัดแต่ง
      พันธุกรรม เช่น
            - เต้ำหู้ที่ผลิตจำกถัวเหลืองตัดแต่งพันธุกรรม เต้ำเจี้ยว
                                 ่
      ที่ผลิตจำกถั่วเหลือง GMOs
           - แป้งข้ำวโพดที่ผลิตจำกข้ำวโพดตัดแต่งพันธุกรรม (
      ข้ำวโพด GMOs )
      3.อำหำรและผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจำกผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกพืช
      ตัดแต่งพันธุกรรม หรือ มี
ส่วนประกอบอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งจำกผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกกำรแปรรูป
      พืชตัดแต่งพันธุกรรม เช่น
           - อำหำรที่มีแป้งข้ำวโพดที่ผลิตจำกข้ำวโพดตัดแต่ง
      พันธุกรรมเป็นส่วนประกอบหลัก
           - นำ้ำอัดลมที่มีส่วนผสมของนำ้ำตำลซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่
      ได้จำกกำรแปรรูปข้ำวโพด GMOs อีกต่อหนึ่ง


6. ตัวอย่ำงพืชอำหำร GMOs ที่มีกำรนำำมำใช้ในเชิง
พำณิชย์
      ประเทศที่มีกำรเพำะปลูกพืชอำหำร ในอันดับต้นๆ ได้แก่
สหรัฐอเมริกำ อำร์เจนตินำ บรำซิล แคนำดำ ออสเตรเลีย เม็กซิโก
โดยเฉพำะสหรัฐอเมริกำมีกำรเพำะปลูกพืชที่ผ่ำนกำรตัดแต่ง
พันธุกรรมมำกที่สุด รวมทังมีพืชที่ผ่ำนกำรตรวจสอบควำม
                          ้
ปลอดภัยทำงอำหำรจำก US. FDA แล้วหลำยชนิด เช่น
      - มะเขือเทศที่มยีนชะลอกำรสุกทำำให้สุกช้ำ
                       ี
      - แตงโมและฟักต้ำนทำนต่อโรคที่เกิดจำกไวรัส
      - มันฝรั่ง ถัวเหลือง ข้ำวโพด และคำโนลำที่ต้ำนทำนต่อ
                   ่
แมลง หรือ ยำกำำจัดวัชพืช
      - มะละกอที่ต้ำนทำนต่อโรคไวรัสใบด่ำงจุดวงแหวน
      - ข้ำวโพดที่ต้ำนทำนต่อหนอนเจำะลำำต้น และหนอนเจำะ
สมอฝ้ำย เป็นต้น
5


ปัจจุบันมีพืชอำหำร GMOs 5 ชนิด ทียอมรับกันว่ำปลอดภัย
                                     ่
สำำหรับกำรบริโภค และหลำยประเทศ เช่น สหรัฐ ญี่ปุ่น สหภำพ
ยุโรป สวิสเซอร์แลน อนุญำติให้นำำมำใช้ในเชิงพำณิชย์ได้ ซึ่ง
ได้แก่
       - เรพ( เมล็ดพืชนำ้ำมัน ) ทีทนทำนต่อสำรกำำจัดวัชพืช
                                  ่
      - ข้ำวโพด ทีต้ำนทำนแมลง และทนทำนต่อสำรกำำจัดวัชพืช
                      ่
       - มันฝรั่ง ถัวเหลือง ทีต้ำนทำนแมลง และทนทำนต่อสำร
                    ่         ่
กำำจัดวัชพืช
      - มะเขือเทศที่สุกช้ำ

7. ตัวอย่ำงพืชอำหำร GMOs ที่อยู่ในระหว่ำงกำรวิจัยและ
พัฒนำ
  1. กำรพัฒนำคุณภำพด้ำนกำรเกษตร
  - ข้ำวสำลี เมล็ดทำนตะวัน ผักกำด ทนทำนต่อสำรกำำจัด
  หอม                             ศัตรูพืช
  ทนทำนต่อสำรกำำจัดศัตรูพืช
  มะเขือเทศ มันฝรั่ง
  - เมล็ดทำนตะวัน มะเขือเทศ ข้ำว
                                  ทนต่อไวรัส หรือเชื้อรำ
  แตงโม
                                  สร้ำงโปรตีนที่ชวยให้
                                                  ่
  - สตรอเบอร์รี่
                                  ไม่เกิดเกล็ดนำ้ำแข็ง
  - กล้วย                         สุกช้ำลง
  - ข้ำว                          ทนต่อไวรัส หรือเชื้อรำ

2. กำรพัฒนำคุณภำพด้ำนโภชนำกำร
               กำรเปลียนแปลงองค์ประกอบของแป้งให้มี
                      ่
   - มั่นฝรั่ง
               ปริมำณแป้งมำกขึ้น
   - ถัวเหลือง มีปริมำณกรดอะมิโนสูง
       ่
   - ข้ำว      มีปริมำณเบต้ำ-แคโรทีนสูง
   - ข้ำวโพด มีปริมำณของไขมันชนิดอิ่มตัวน้อย

3. กำรพัฒนำคุณภำพด้ำนเภสัชกรรม
   - ข้ำว      ไม่มีสำรที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้
   - กล้วย     สร้ำงวัคซีนต้ำนโรคไวรัสตับอักเสบชนิด บี
   - บรอคโคลี่ สร้ำงสำรต้ำนมะเร็ง และแอนติออกซิแดนซ์
6




8. จีเอ็มโอกับประเทศไทย
        ประเทศไทยเป็นประเทศที่อำศัยกำรเกษตรและ
อุตสำหกรรมเกษตรเป็นพื้นฐำนสำำคัญของกำรพัฒนำเศรษฐกิจ
และ สังคมของประเทศ นอกจำกนี้ประเทศไทยได้เข้ำร่วมเป็น
สมำชิกขององค์กำรนำนำชำติที่มีกำรเปิดตลำดซื้อขำยแลก
เปลียนสินค้ำด้ำนกำร เกษตรและอุตสำหกรรมเกษตร
    ่
ประเทศไทยจึงเกี่ยวข้องกับจีเอ็มโออย่ำงที่จะหลีกเลียงได้ยำก
                                                  ่
จึงควรที่จะได้มีกำรศึกษำและทำำควำมเข้ำใจในเรื่องนี้กันให้
ชัดเจน ซึ่งจะเห็นได้วำในด้ำนกำรผลิต เทคโนโลยีมีศักยภำพใน
                      ่
กำรพัฒนำพันธุ์พืช สัตว์ ให้มีคุณภำพและผลผลิตสูง มีต้นทุนกำร
ผลิตตำ่ำเพื่อสำมำรถแข่งขันในตลำดโลกได้ ขณะเดียวกัน ในด้ำน
กำรนำำเข้ำสินค้ำและผลิตภัณฑ์ ควำมรูและเข้ำใจเกี่ยวกับจีเอ็มโอ
                                    ้
จะช่วยให้ประเทศสำมำรถกำำหนดแนวทำงปฏิบัติ กำรคัดเลือก
ผลิตภัณฑ์ที่เหมำะสม มีคุณภำพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค

9.จีเอ็มโอ : อดีต ปัจจุบัน และอนำคต
            จีเอ็มโอไม่วำจะเป็นพืช สัตว์ และจุลินทรีย์ ได้ถูก
                        ่
พัฒนำขึ้นมำในประเทศอุตสำหกรรม หรือประเทศพัฒนำแล้วส่วน
มำกโดยบริษัทที่มีกำรวิจัยพัฒนำและกำรลงทุนสูง ผลิตภัณฑ์
จีเอ็มโอ
      ในอดีต จึงได้รับกำรโฆษณำเพื่อประโยชน์ในด้ำนธุรกิจ
กำรค้ำเป็นหลัก ควำมเป็นห่วงเรื่องกำรผูกขำดด้ำนเทคโนโลยีและ
ควำมปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ที่ประชำกรบำงกลุ่มเห็นว่ำขำดควำม
ชัดเจน จึงมีกำรต่อต้ำนหลังจำกมีกำรผลิตและจำำหน่ำยผลิตภัณฑ์
จีเอ็มโอได้ไม่นำน
       ปัจจุบนผู้ผลิตและผู้บริโภค มีกำรเรียนรู้และสร้ำงควำม
              ั
เข้ำใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีรวมกันได้มำกขึ้น มีกำรทดลอง ทดสอบ
                            ่
และติดตำมกำรใช้ประโยชน์และควำมเสี่ยงที่อำจจะเกิดขึ้นอย่ำง
ใกล้ชิด ขณะเดียวกันสังคมมีทำงเลือกมำกขึ้นว่ำ จะใช้หรือไม่ใช้
ผลิตภัณฑ์จีเอ็มโอ
      สำำหรับอนำคตนั้นคำดหมำยว่ำกำรยอมรับ จีเอ็มโอ และ
ผลิตภัณฑ์จะมีมำกขึ้น ทังนี้เนื่องจำกผู้ผลิตและผู้บริโภคมี
                          ้
ประสบกำรณ์ในเรื่องนี้อย่ำงพอเพียง มีกำรพัฒนำจีเอ็มโอ และ
ผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของผู้บริโภคโดยมำกขึ้น
เช่นกำรนำำจีเอ็มโอไปใช้ประโยชน์ด้ำนกำรแพทย์ และสำธำรณสุข
7


และกำรรักษำสภำพแวดล้อม เอกสำรเผยแพร่ควำมรู้ด้ำน
เทคโนโลยีชีวภำพของ พืชอำหำร รวบรวมข้อมูลในด้ำนต่ำงๆ ที่
เกี่ยวข้อง เพื่อเผยแพร่สู่ประชำชน

10. หน่วยงำนที่ดูแลควำมปลอดภัยของอำหำรจีเอ็มโอ
       ไม่วำจะเป็นอำหำรจีเอ็มโอ หรืออำหำรที่ไม่มีจีเอ็มโอเป็น
            ่
ส่วนประกอบ อำจมีควำมเสี่ยงได้ทั้งสิ้น เช่น สำรตกค้ำงบำงชนิด
ที่เกิดขึ้นในกระบวนกำรผลิตอำหำร เป็นต้น ฉะนั้นอำจกล่ำวได้วำ   ่
ไม่มีสิ่งใดที่ปลอดภัยร้อยเปอร์เซ็นต์ อย่ำงไรก็ตำมอำหำรจีเอ็มโอ
ที่จะออกมำสู่ผู้บริโภค จะต้องผ่ำนกำรประเมินแล้วว่ำมีควำม
ปลอดภัยเทียบเท่ำกับอำหำรที่ไม่ใช่จีเอ็มโอ
องค์กรที่มีหน้ำที่ควบคุมดูแลเรื่องดังกล่ำว
       ภำยในประเทศ ไ ด้แก่ สำำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและ
ยำ กระทรวงสำธำรณสุข
       ส่วนองค์กรในต่ำงประเทศ ได้แก่
              - USFDA ในสหรัฐอเมริกำ
              - Health Canada ในประเทศแคนำดำ
              - The Royal Society ในสหรำชอำณำจักร เป็นต้น

11.แนวโน้มของพืชจีเอมโอจำกอดีต ปัจจุบน และอนำคต ั
      ในอดีต จึงได้รับกำรโฆษณำเพื่อประโยชน์ในด้ำนธุรกิจ
กำรค้ำเป็นหลัก ควำมเป็นห่วงเรื่องกำรผูกขำดด้ำนเทคโนโลยีและ
ควำมปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ที่ประชำกรบำงกลุ่มเห็นว่ำขำดควำม
ชัดเจน จึงมีกำรต่อต้ำนหลังจำกมีกำรผลิตและจำำหน่ำยผลิตภัณฑ์
จีเอ็มโอได้ไม่นำน
       ปัจจุบนผู้ผลิตและผู้บริโภค มีกำรเรียนรู้และสร้ำงควำม
              ั
เข้ำใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีรวมกันได้มำกขึ้น มีกำรทดลอง ทดสอบ
                          ่
และติดตำมกำรใช้ประโยชน์และควำมเสี่ยงที่อำจจะเกิดขึ้นอย่ำง
ใกล้ชิด ขณะเดียวกันสังคมมีทำงเลือกมำกขึ้นว่ำ จะใช้หรือไม่ใช้
ผลิตภัณฑ์จีเอ็มโอ
      สำำหรับอนำคตนั้นคำดหมำยว่ำกำรยอมรับ จีเอ็มโอ และ
ผลิตภัณฑ์จะมีมำกขึ้น ทังนี้เนื่องจำกผู้ผลิตและผู้บริโภคมี
                       ้
ประสบกำรณ์ในเรื่องนี้อย่ำงพอเพียง มีกำรพัฒนำจีเอ็มโอ และ
ผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของผู้บริโภคโดยมำกขึ้น
เช่นกำรนำำจีเอ็มโอไปใช้ประโยชน์ด้ำนกำรแพทย์ และสำธำรณสุข
และกำรรักษำสภำพแวดล้อม เอกสำรเผยแพร่ควำมรู้ด้ำน
8


เทคโนโลยีชีวภำพของ พืชอำหำร รวบรวมข้อมูลในด้ำนต่ำงๆ ที่
เกี่ยวข้อง เพื่อเผยแพร่สู่ประชำชน

  - ข้ำว      ไม่มีสำรที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้
  - กล้วย     สร้ำงวัคซีนต้ำนโรคไวรัสตับอักเสบชนิด บี
  - บรอคโคลี่ สร้ำงสำรต้ำนมะเร็ง และแอนติออกซิแดนซ์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Jirasak Wayupak
 
ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์mam2541
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์Aobinta In
 
Gmoในความคิดของฉัน
GmoในความคิดของฉันGmoในความคิดของฉัน
GmoในความคิดของฉันNataya Kanyaboon
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.peter dontoom
 
Gmo คืออะไร
Gmo  คืออะไรGmo  คืออะไร
Gmo คืออะไรtuk2406
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพKobwit Piriyawat
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์Aobinta In
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพMelody Minhyok
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพweerabong
 

Was ist angesagt? (15)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์ชัยวัฒน์
ชัยวัฒน์
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
Gmoในความคิดของฉัน
GmoในความคิดของฉันGmoในความคิดของฉัน
Gmoในความคิดของฉัน
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
 
Gmo คืออะไร
Gmo  คืออะไรGmo  คืออะไร
Gmo คืออะไร
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 

Ähnlich wie 1ข้อมูลทั่วไป

Gmo คืออะไร
Gmo  คืออะไรGmo  คืออะไร
Gmo คืออะไรUrai1961
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)Nutthakorn Songkram
 
Gm os คืออะไร
Gm os คืออะไรGm os คืออะไร
Gm os คืออะไรDaorueng Susen
 
Gmo ในความคิด
Gmo ในความคิดGmo ในความคิด
Gmo ในความคิดratapoong
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
นำเสนออาหาร
นำเสนออาหารนำเสนออาหาร
นำเสนออาหารkanitnun
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged documentapecthaitu
 
เราควรเลือกใช้ GMO หรือไม่?
เราควรเลือกใช้ GMO หรือไม่?เราควรเลือกใช้ GMO หรือไม่?
เราควรเลือกใช้ GMO หรือไม่?Narueporn Sonpirom
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 

Ähnlich wie 1ข้อมูลทั่วไป (20)

Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
Gmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับGmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับ
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
พืช Gmo222
พืช  Gmo222พืช  Gmo222
พืช Gmo222
 
Gmo คืออะไร
Gmo  คืออะไรGmo  คืออะไร
Gmo คืออะไร
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
Gap
GapGap
Gap
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Gm os คืออะไร
Gm os คืออะไรGm os คืออะไร
Gm os คืออะไร
 
Gmo ในความคิด
Gmo ในความคิดGmo ในความคิด
Gmo ในความคิด
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
นำเสนออาหาร
นำเสนออาหารนำเสนออาหาร
นำเสนออาหาร
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged document
 
เราควรเลือกใช้ GMO หรือไม่?
เราควรเลือกใช้ GMO หรือไม่?เราควรเลือกใช้ GMO หรือไม่?
เราควรเลือกใช้ GMO หรือไม่?
 
การเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไร
การเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไรการเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไร
การเลี้ยงสัตว์ให้ได้กำไร
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
FarmerZone
FarmerZoneFarmerZone
FarmerZone
 

1ข้อมูลทั่วไป

  • 1. 1 ข้อมูลทัวไปของ GMOs ่ 1. บทนำำ สังคมปัจจุบัน กำำลังมีควำมกังวลและมีข้อข้องใจเกี่ยวกับสิ่ง มีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ซึ่งมีทงพืชสัตว์และจุลินทรีย์ หรือที่เรำ ั้ เรียกกันว่ำ “จีเอ็มโอ” (GMOs) ว่ำกำรบริโภคอำหำรที่มีสวน ่ ประกอบเป็นจีเอ็มโอจะมีผลกระทบต่อร่ำงกำยหรือไม่ อย่ำงไร ทัง ้ ในแง่ประโยชน์และโทษ เนื่องจำกเทคโนโลยีใหม่นี้มีควำม เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำำวัน ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสำำคัญที่ต้องเรียนรู้ และทำำควำมรู้จักกับ พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรมเหล่ำ นี้ เพื่อที่จะได้รับทรำบข้อมูลทีถูกต้องและมีควำมเข้ำใจในประเด็น ่ ควำมมำกขึ้น กำรดัดแปลงพันธุกรรม (genetic modification) ไม่ว่ำจะ เป็นกำรดัดแปลงพันธุกรรมพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ จะทำำให้ได้พืช สัตว์ จุลินทรีย์ หรือสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (genetically modified organism) หรือเรียกย่อเป็น GMO หรือจีเอ็มโอ ควำม เป็นมำของคำำว่ำ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ) อำจย้อน ไปถึงในช่วงต้นของทศวรรษ 1800s ได้มีกำรนำำเทคโนโลยี ชีวภำพที่เรียกว่ำ r-DNA เทคโนโลยีหรือพันธุวิศวกรรม (genetic engineering) มำใช้ในกำรพัฒนำสิ่งมีชีวิต ไม่ว่ำจะเป็นพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ เพื่อวัตถุประสงค์ต่ำงๆกัน ทั้งในกำรปรับปรุงพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ จุลินทรีย์ กำรผลิตยำรักษำโรคและเภสัชภัณฑ์ ฯลฯ ใน ช่วงนั้นสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ที่นำำมำใช้จะเป็น จุลินทรีย์(microorganism) ดังนั้นจุลินทรียที่ได้มีกำรถูกดัดแปลง ์ โดยวิธีกำรทำงพันธุวิศวกรรม มีกำรเรียกว่ำเป็น genetically engineered microorganism หรือ GEM ซึ่งอำจเรียกในภำษำ ไทยเป็น “จุลินทรียที่ถูกดัดแปลงทำงพันธุกรรม” แต่กำรดัดแปลง ์ ทำงพันธุกรรม (genetic modification) ได้ครอบคลุมไปถึงพืช สัตว์ ด้วย ดังนั้นสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมอำจเป็น “พืช ดัดแปลงพันธุกรรม” (genetically modified plant หรือ transgenic plant) หรือ “สัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม” (genetic modified animal หรือ transgenic animal) หรือถ้ำเป็นสิ่งมีชีวิต (organism) ทั้งพืชและสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรมเหล่ำนี้สำมำรถ เรียกรวมๆกันเป็น “สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม” (genetically modified organism) หรือ GMO
  • 2. 2 สำรพันธุกรรมหรือที่เรียกว่ำ DNA เป็นสำรเคมีที่ประกอบกัน ขึ้นเป็นหน่วยพันธุกรรมหรือ ยีน (GENE) และสิ่งมีชีวิตดังกล่ำว อำจจะเป็นสัตว์ พืช หรือจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ GMO นั้นใช้ในอุตสำหกรรมอำหำรและยำ และมี จุลินทรีย์ GMO ที่มีคุณสมบัติพิเศษในกำรกำำจัดครำบนำ้ำมันได้ดี พืช GMO เช่น ฝ้ำย ข้ำวโพด มันฝรัง มะละกอ เรำนิยมทำำ ่ GMO ในพืชเพรำะว่ำทำำได้ง่ำยกว่ำสัตว์ และสำมำรถศึกษำพืช GMO ได้หลำยๆ ชั่วอำยุของพืช (Generation) เพรำะว่ำพืชมีอำยุ สั้นกว่ำสัตว์ ซึ่งอำยุของสัตว์แต่ละ Generation นั้นกินเวลำนำน หลำยปี สัตว์ GMO เช่น ปลำแซลมอน ซึ่ง Modified หมำยควำมว่ำ ปลำนี้ได้รับกำรปรุงแต่ง หรือดัดแปลงโดยมนุษย์ไปเรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหำกำรขำดแคลนอำหำร เพรำะมนุษย์ล้นโลกได้ เป็นอย่ำงดี จึงเป็นวิธีพัฒนำกำรทำงด้ำนอำหำรสำำหรับบริโภคของ มนุษย์ 2. ควำมหมำย จีเอ็มโอ เป็นชื่อเรียกคำำย่อของ Genetically Modified Organism หรือ GMO หมำยถึง สิ่งมีชีวิตที่ได้มีกำรเปลี่ยนแปลง ลักษณะทำงพันธุกรรมโดยอำศัยเทคนิคทำงพันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) หรือเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับกำรตัดต่อยีน ในบำงครั้งจะพบว่ำมีกำรพูดถึงแอลเอ็มโอ (LMO) ซึ่งเป็นคำำย่อมำ จำก Living Modified Organism หมำยถึง จีเอ็มโอที่มีชีวิตอยู่ ลักษณะ และคุณสมบัติของพืชที่ได้รับกำรตัดแต่งพันธุกรรม ตำมทีมนุษย์ต้องกำร เช่น ่ 1. พืชที่ต้ำนทำนโรค เช่น โรคที่เกิดจำกเชื้อไวรัส แบคทีเรีย และเชื้อรำ 2. พืชที่ต้ำนทำนต่อแมลงศัตรูพืช ยำกำำจัดวัชพืช 3. พืชที่ทนทำนต่อสภำพแวดล้อมที่ไม่เหมำะสม เช่น ภำวะ แห้งแล้ง ดินเค็ม หรือเป็นกรด 4. พืชที่สำมำรถชลอกำรสุกได้ เช่น ผลไม้ที่สุกช้ำ 5. พืชที่มีสำรอำหำร เช่น ไขมัน โปรตีน วิตำมิน เบต้ำแคโร ทีน และคำร์โบไฮเดรต ใน ลักษณะและปริมำณตำมที่ต้องกำร 6. พืชที่ถูกลดสำรที่เป็น allergen ( สำรทีทำำให้เกิดภูมิแพ้ ) ่
  • 3. 3 3. เกี่ยวกับยีน ยีน (gene) เป็นหน่วยพันธุกรรมบนเส้นดีเอ็นเอ (DNA) ซึ่ง อำจรวมอยู่บนโครโมโซมหรือ ส่วนใดส่วนหนึ่งของสิ่งมีชีวิต หน่วยพันธุกรรมหรือยีนสำมำรถทำำ หน้ำที่อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งในเซลล์เพื่อให้สิ่งมีชีวิตนั้นมีกำรพัฒนำ และเจริญเติบโต ได้อย่ำงปกติ เช่นยีนที่สร้ำงโปรตีนเพื่อใช้เป็น โครงสร้ำงของเซลล์หรือเป็นเอ็นไซม์สำำหรับกำรทำำปฏิกริยำทำง เคมี หรือยีนที่ควบคุมกำรทำำงำนของยีนอื่นๆ เป็นต้น บนเส้น ดีเอ็นเอ จึงมียีนเป็นจำำนวนมำก เช่นแบคทีเรียมีประมำณ 4,000 ยีน แมลงหวี่ 20,000 ยีน พืชชั้นสูง 30,000-50,000 ยีน และ มนุษย์ 100,000 ยีน จำำนวนยีนและชนิดของยีนในสิ่งมีชีวิตแต่ละ ชนิดจัดเป็นเอกลักษณ์เฉพำะสิ่งมีชีวิตนั้นๆ และสำมำรถถ่ำยทอด จำกพ่อแม่ไปสู่ลูกหลำนเพื่อดำำรงเผ่ำพันธุ์ของแต่ละชนิดพันธุ์ (species) เอำไว้กำรถ่ำยทอดยีนในสิ่งมีชีวิต มีส่วนให้เกิดกำร พัฒนำสำยพันธุ์ใหม่ขึ้น ตัวอย่ำงที่เห็นได้ชัดเจนคือมนุษย์ กำรให้ กำำเนิดทำรกมีกำรถ่ำยทอดและผสมลักษณะทำงพันธุกรรมหรือยีน จำกพ่อและแม่เข้ำด้วยกัน ลูกจึงมีบำงส่วนที่คล้ำยพ่อ และบำง ส่วนคล้ำยแม่และมีบำงส่วนซึ่งแตกต่ำงไปจำกพ่อและแม่ จะเห็น ได้ว่ำกำรถ่ำยทอดยีนเป็นสิ่งปกติในธรรมชำติ ถือว่ำเป็นส่วนหนึ่ง ของวิวฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ั 4.กำรตัดต่อยีน เมื่อควำมรู้เรื่องยีนมีมำกขึ้น มีกำรศึกษำถึงรหัสหรือลำำดับ เบส สี่ชนิด คือ อดินิน (A) กัว นิน (G) ทัยมิน (T) และซัยโตซิน (C) ที่เรียงรำยอยู่บนเส้น ดีเอ็นเอและรู้ถงหน้ำที่หรือกิจกรรมของกลุ่มเบสทีรวมกันเป็นยีน ึ ่ แต่ละยีน นักวิชำกำรสำมำรถตัดชิ้นของกลุ่มรหัสเหล่ำนี้ ไปเชื่อม ต่อกับเส้นดีเอ็นเอ ของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ได้โดยอำศัยปฏิกริยำทำง ชีวเคมี เทคนิคกำรตัดต่อยีนนี้ เป็นส่วนหนึ่งของเทคนิคพันธุ วิศวกรรม ที่มีกำรนำำมำประยุกต์ใช้อย่ำงแพร่หลำยมำกขึ้นโดยมุง ่ หวังจะให้เกิดกำรถ่ำยยีนจำกสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปให้กับ สิ่งมีชีวิต อีกชนิดหนึ่ง เพื่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงทำงพันธุกรรมตำมที่ ต้องกำร สิ่งมีชีวิตใหม่ทได้รับกำรตัดต่อยีนเพิ่มเติมจำกเดิม คือ ี่ จีเอ็มโอ
  • 4. 4 5. GMF ( Genetically Modified Food ) หรือ GM Food เป็นคำำที่ใช้เรียก 1. พืชตัดแต่งพันธุกรรมที่สำมำรถบริโภคเป็นอำหำรได้ โดยตรง เช่น มะเขือเทศ มะละกอ ข้ำว ข้ำวโพด 2. อำหำรและผลิตภัณฑ์ที่ผลิตหรือแปรรูปจำกพืชตัดแต่ง พันธุกรรม เช่น - เต้ำหู้ที่ผลิตจำกถัวเหลืองตัดแต่งพันธุกรรม เต้ำเจี้ยว ่ ที่ผลิตจำกถั่วเหลือง GMOs - แป้งข้ำวโพดที่ผลิตจำกข้ำวโพดตัดแต่งพันธุกรรม ( ข้ำวโพด GMOs ) 3.อำหำรและผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจำกผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกพืช ตัดแต่งพันธุกรรม หรือ มี ส่วนประกอบอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งจำกผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกกำรแปรรูป พืชตัดแต่งพันธุกรรม เช่น - อำหำรที่มีแป้งข้ำวโพดที่ผลิตจำกข้ำวโพดตัดแต่ง พันธุกรรมเป็นส่วนประกอบหลัก - นำ้ำอัดลมที่มีส่วนผสมของนำ้ำตำลซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ ได้จำกกำรแปรรูปข้ำวโพด GMOs อีกต่อหนึ่ง 6. ตัวอย่ำงพืชอำหำร GMOs ที่มีกำรนำำมำใช้ในเชิง พำณิชย์ ประเทศที่มีกำรเพำะปลูกพืชอำหำร ในอันดับต้นๆ ได้แก่ สหรัฐอเมริกำ อำร์เจนตินำ บรำซิล แคนำดำ ออสเตรเลีย เม็กซิโก โดยเฉพำะสหรัฐอเมริกำมีกำรเพำะปลูกพืชที่ผ่ำนกำรตัดแต่ง พันธุกรรมมำกที่สุด รวมทังมีพืชที่ผ่ำนกำรตรวจสอบควำม ้ ปลอดภัยทำงอำหำรจำก US. FDA แล้วหลำยชนิด เช่น - มะเขือเทศที่มยีนชะลอกำรสุกทำำให้สุกช้ำ ี - แตงโมและฟักต้ำนทำนต่อโรคที่เกิดจำกไวรัส - มันฝรั่ง ถัวเหลือง ข้ำวโพด และคำโนลำที่ต้ำนทำนต่อ ่ แมลง หรือ ยำกำำจัดวัชพืช - มะละกอที่ต้ำนทำนต่อโรคไวรัสใบด่ำงจุดวงแหวน - ข้ำวโพดที่ต้ำนทำนต่อหนอนเจำะลำำต้น และหนอนเจำะ สมอฝ้ำย เป็นต้น
  • 5. 5 ปัจจุบันมีพืชอำหำร GMOs 5 ชนิด ทียอมรับกันว่ำปลอดภัย ่ สำำหรับกำรบริโภค และหลำยประเทศ เช่น สหรัฐ ญี่ปุ่น สหภำพ ยุโรป สวิสเซอร์แลน อนุญำติให้นำำมำใช้ในเชิงพำณิชย์ได้ ซึ่ง ได้แก่ - เรพ( เมล็ดพืชนำ้ำมัน ) ทีทนทำนต่อสำรกำำจัดวัชพืช ่ - ข้ำวโพด ทีต้ำนทำนแมลง และทนทำนต่อสำรกำำจัดวัชพืช ่ - มันฝรั่ง ถัวเหลือง ทีต้ำนทำนแมลง และทนทำนต่อสำร ่ ่ กำำจัดวัชพืช - มะเขือเทศที่สุกช้ำ 7. ตัวอย่ำงพืชอำหำร GMOs ที่อยู่ในระหว่ำงกำรวิจัยและ พัฒนำ 1. กำรพัฒนำคุณภำพด้ำนกำรเกษตร - ข้ำวสำลี เมล็ดทำนตะวัน ผักกำด ทนทำนต่อสำรกำำจัด หอม ศัตรูพืช ทนทำนต่อสำรกำำจัดศัตรูพืช มะเขือเทศ มันฝรั่ง - เมล็ดทำนตะวัน มะเขือเทศ ข้ำว ทนต่อไวรัส หรือเชื้อรำ แตงโม สร้ำงโปรตีนที่ชวยให้ ่ - สตรอเบอร์รี่ ไม่เกิดเกล็ดนำ้ำแข็ง - กล้วย สุกช้ำลง - ข้ำว ทนต่อไวรัส หรือเชื้อรำ 2. กำรพัฒนำคุณภำพด้ำนโภชนำกำร กำรเปลียนแปลงองค์ประกอบของแป้งให้มี ่ - มั่นฝรั่ง ปริมำณแป้งมำกขึ้น - ถัวเหลือง มีปริมำณกรดอะมิโนสูง ่ - ข้ำว มีปริมำณเบต้ำ-แคโรทีนสูง - ข้ำวโพด มีปริมำณของไขมันชนิดอิ่มตัวน้อย 3. กำรพัฒนำคุณภำพด้ำนเภสัชกรรม - ข้ำว ไม่มีสำรที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ - กล้วย สร้ำงวัคซีนต้ำนโรคไวรัสตับอักเสบชนิด บี - บรอคโคลี่ สร้ำงสำรต้ำนมะเร็ง และแอนติออกซิแดนซ์
  • 6. 6 8. จีเอ็มโอกับประเทศไทย ประเทศไทยเป็นประเทศที่อำศัยกำรเกษตรและ อุตสำหกรรมเกษตรเป็นพื้นฐำนสำำคัญของกำรพัฒนำเศรษฐกิจ และ สังคมของประเทศ นอกจำกนี้ประเทศไทยได้เข้ำร่วมเป็น สมำชิกขององค์กำรนำนำชำติที่มีกำรเปิดตลำดซื้อขำยแลก เปลียนสินค้ำด้ำนกำร เกษตรและอุตสำหกรรมเกษตร ่ ประเทศไทยจึงเกี่ยวข้องกับจีเอ็มโออย่ำงที่จะหลีกเลียงได้ยำก ่ จึงควรที่จะได้มีกำรศึกษำและทำำควำมเข้ำใจในเรื่องนี้กันให้ ชัดเจน ซึ่งจะเห็นได้วำในด้ำนกำรผลิต เทคโนโลยีมีศักยภำพใน ่ กำรพัฒนำพันธุ์พืช สัตว์ ให้มีคุณภำพและผลผลิตสูง มีต้นทุนกำร ผลิตตำ่ำเพื่อสำมำรถแข่งขันในตลำดโลกได้ ขณะเดียวกัน ในด้ำน กำรนำำเข้ำสินค้ำและผลิตภัณฑ์ ควำมรูและเข้ำใจเกี่ยวกับจีเอ็มโอ ้ จะช่วยให้ประเทศสำมำรถกำำหนดแนวทำงปฏิบัติ กำรคัดเลือก ผลิตภัณฑ์ที่เหมำะสม มีคุณภำพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค 9.จีเอ็มโอ : อดีต ปัจจุบัน และอนำคต จีเอ็มโอไม่วำจะเป็นพืช สัตว์ และจุลินทรีย์ ได้ถูก ่ พัฒนำขึ้นมำในประเทศอุตสำหกรรม หรือประเทศพัฒนำแล้วส่วน มำกโดยบริษัทที่มีกำรวิจัยพัฒนำและกำรลงทุนสูง ผลิตภัณฑ์ จีเอ็มโอ ในอดีต จึงได้รับกำรโฆษณำเพื่อประโยชน์ในด้ำนธุรกิจ กำรค้ำเป็นหลัก ควำมเป็นห่วงเรื่องกำรผูกขำดด้ำนเทคโนโลยีและ ควำมปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ที่ประชำกรบำงกลุ่มเห็นว่ำขำดควำม ชัดเจน จึงมีกำรต่อต้ำนหลังจำกมีกำรผลิตและจำำหน่ำยผลิตภัณฑ์ จีเอ็มโอได้ไม่นำน ปัจจุบนผู้ผลิตและผู้บริโภค มีกำรเรียนรู้และสร้ำงควำม ั เข้ำใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีรวมกันได้มำกขึ้น มีกำรทดลอง ทดสอบ ่ และติดตำมกำรใช้ประโยชน์และควำมเสี่ยงที่อำจจะเกิดขึ้นอย่ำง ใกล้ชิด ขณะเดียวกันสังคมมีทำงเลือกมำกขึ้นว่ำ จะใช้หรือไม่ใช้ ผลิตภัณฑ์จีเอ็มโอ สำำหรับอนำคตนั้นคำดหมำยว่ำกำรยอมรับ จีเอ็มโอ และ ผลิตภัณฑ์จะมีมำกขึ้น ทังนี้เนื่องจำกผู้ผลิตและผู้บริโภคมี ้ ประสบกำรณ์ในเรื่องนี้อย่ำงพอเพียง มีกำรพัฒนำจีเอ็มโอ และ ผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของผู้บริโภคโดยมำกขึ้น เช่นกำรนำำจีเอ็มโอไปใช้ประโยชน์ด้ำนกำรแพทย์ และสำธำรณสุข
  • 7. 7 และกำรรักษำสภำพแวดล้อม เอกสำรเผยแพร่ควำมรู้ด้ำน เทคโนโลยีชีวภำพของ พืชอำหำร รวบรวมข้อมูลในด้ำนต่ำงๆ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อเผยแพร่สู่ประชำชน 10. หน่วยงำนที่ดูแลควำมปลอดภัยของอำหำรจีเอ็มโอ ไม่วำจะเป็นอำหำรจีเอ็มโอ หรืออำหำรที่ไม่มีจีเอ็มโอเป็น ่ ส่วนประกอบ อำจมีควำมเสี่ยงได้ทั้งสิ้น เช่น สำรตกค้ำงบำงชนิด ที่เกิดขึ้นในกระบวนกำรผลิตอำหำร เป็นต้น ฉะนั้นอำจกล่ำวได้วำ ่ ไม่มีสิ่งใดที่ปลอดภัยร้อยเปอร์เซ็นต์ อย่ำงไรก็ตำมอำหำรจีเอ็มโอ ที่จะออกมำสู่ผู้บริโภค จะต้องผ่ำนกำรประเมินแล้วว่ำมีควำม ปลอดภัยเทียบเท่ำกับอำหำรที่ไม่ใช่จีเอ็มโอ องค์กรที่มีหน้ำที่ควบคุมดูแลเรื่องดังกล่ำว ภำยในประเทศ ไ ด้แก่ สำำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและ ยำ กระทรวงสำธำรณสุข ส่วนองค์กรในต่ำงประเทศ ได้แก่ - USFDA ในสหรัฐอเมริกำ - Health Canada ในประเทศแคนำดำ - The Royal Society ในสหรำชอำณำจักร เป็นต้น 11.แนวโน้มของพืชจีเอมโอจำกอดีต ปัจจุบน และอนำคต ั ในอดีต จึงได้รับกำรโฆษณำเพื่อประโยชน์ในด้ำนธุรกิจ กำรค้ำเป็นหลัก ควำมเป็นห่วงเรื่องกำรผูกขำดด้ำนเทคโนโลยีและ ควำมปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ที่ประชำกรบำงกลุ่มเห็นว่ำขำดควำม ชัดเจน จึงมีกำรต่อต้ำนหลังจำกมีกำรผลิตและจำำหน่ำยผลิตภัณฑ์ จีเอ็มโอได้ไม่นำน ปัจจุบนผู้ผลิตและผู้บริโภค มีกำรเรียนรู้และสร้ำงควำม ั เข้ำใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีรวมกันได้มำกขึ้น มีกำรทดลอง ทดสอบ ่ และติดตำมกำรใช้ประโยชน์และควำมเสี่ยงที่อำจจะเกิดขึ้นอย่ำง ใกล้ชิด ขณะเดียวกันสังคมมีทำงเลือกมำกขึ้นว่ำ จะใช้หรือไม่ใช้ ผลิตภัณฑ์จีเอ็มโอ สำำหรับอนำคตนั้นคำดหมำยว่ำกำรยอมรับ จีเอ็มโอ และ ผลิตภัณฑ์จะมีมำกขึ้น ทังนี้เนื่องจำกผู้ผลิตและผู้บริโภคมี ้ ประสบกำรณ์ในเรื่องนี้อย่ำงพอเพียง มีกำรพัฒนำจีเอ็มโอ และ ผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของผู้บริโภคโดยมำกขึ้น เช่นกำรนำำจีเอ็มโอไปใช้ประโยชน์ด้ำนกำรแพทย์ และสำธำรณสุข และกำรรักษำสภำพแวดล้อม เอกสำรเผยแพร่ควำมรู้ด้ำน
  • 8. 8 เทคโนโลยีชีวภำพของ พืชอำหำร รวบรวมข้อมูลในด้ำนต่ำงๆ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อเผยแพร่สู่ประชำชน - ข้ำว ไม่มีสำรที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ - กล้วย สร้ำงวัคซีนต้ำนโรคไวรัสตับอักเสบชนิด บี - บรอคโคลี่ สร้ำงสำรต้ำนมะเร็ง และแอนติออกซิแดนซ์