SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เรื่อง ระบบหายใจ
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปความสาคัญของการรักษาดุลยภาพภายใน
ร่างกาย
สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย เปรียบเทียบ และสรุปโครงสร้างที่ใช้ในการ
แลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์
สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย เปรียบเทียบ และสรุปโครงสร้างและ
กระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนแก๊สของคนและของสัตว์
สืบค้นข้อมูล อภิปราย สรุป และนาเสนอเกี่ยวกับความผิดปกติที่เกี่ยวข้อง
กับปอด และโรคของระบบทางเดินหายใจ
จุดประสงค์การเรียนรู้
การหายใจ (RESPIRATION) การรักษาสมดุลของระบบในร่างกาย
(Homeostasis)
 เมื่อร่างกายได้รับ O2 จากภายนอกเข้าสู่
ร่างกายและนา CO2 จากภายในขับ
ออกมาทิ้งภายนอกร่างกาย โดยอาศัย
ระบบไหลเวียนโลหิตเป็นตัวกลางในการ
ลาเลียงแก๊ส
 การหายใจภายใน (Internal
Respiration) / การหายใจระดับเซลล์
(Cellular Respiration) : สลายสาร
โมเลกุลใหญ่เป็นโมเลกุลเล็กและให้
พลังงาน
 การหายใจภายนอก (External
Respiration) : การแลกเปลี่ยนแก๊ส
ของสิ่งมีชีวิต อาศัยคุณสมบัติคือ พื้นที่
ผิวมาก ผนังบาง และมีความชื้น
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา
 เซลล์สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่เป็นน้าตลอดเวลา
 แลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อมผ่านเยื่อหุ้ม
เซลล์ (cell membrane) โดยอาศัยการแพร่
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในน้า
 สัตว์ชั้นต่า ฟองน้า ไฮดรา และหนอนตัวแบน
 ผิวร่างกาย (Body Surface) แลกเปลี่ยนแก๊ส
โดยอาศัยกระบวนการแพร่
การหายใจของสิ่งมีชีวิตอื่นที่ไม่ใช่มนุษย์
 เหงือก (gill) เป็นอวัยวะ
แลกเปลี่ยนแก๊ส ลักษณะเป็นซี่
ภายในมีเส้นเลือดฝอย
หอยสองฝา
หมึก
 เหงือก (gill) เรียกว่า
Dibranchia อยู่ในช่องตัว
 การแลกเปลี่ยนแก๊ส เกิดขึ้น
เมื่อน้าไหลเวียนเข้าในตัวหมึก
ไส้เดือนดิน (Earth warm)
 แลกเปลี่ยนแก๊สทางผิวหนัง (skin)
 ระบบหมุนเวียนเลือดช่วยลาเลียง O2
ไปยังเซลล์และลาเลียง CO2 เพื่อขับออก
จากเซลล์
 เฮโมโกลบินละลายในน้าเลือด และ
Hemoerythrin อยู่ในเซลล์เม็ดเลือด
แม่เพรียง
 อวัยวะสาหรับแลกเปลี่ยนแก๊ส คือ
parapodia ซึ่งยื่นออกมาด้านข้างลาตัว
ในแต่ละปล้อง ภายในมีเส้นเลือดฝอย
 respiratory tree ยื่นเข้าไปใน
ร่างกาย เป็นท่อยาวแตกแขนง
คล้ายต้นไม้
 การแลกเปลี่ยนก๊าชเกิดเมื่อน้า
เข้า และออกผ่านส่วนปลาย
ของทางเดินอาหาร
ปลิงทะเล ดาวทะเล
แมงดาทะเล
 แผงเหงือก (book gill)
บริเวณท้องเมื่อน้าไหลผ่านจะ
เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 ท่อลม (trachea) แตกแขนง เป็นท่อลมฝอย (tracheole) ขนาดเล็กแทรกตาม ร่างกาย
แมลง
 ปอดแผง (book lung) : ลักษณะเป็นท่อลมซ้อนเป็นพับไปมาคล้ายแผง มีหลอดเลือด
นา CO2 มาแลกเปลี่ยนที่แผงท่อลมนี้แล้วรับ O2 ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ
แมงมุม
สัตว์น้า
 ในน้ามีออกซิเจนเพียงร้อยละ 0.5
 สัตว์น้ามีเนื้อเยื่อของอวัยวะที่มากพอสาหรับการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 เหงือกปลา และกุ้งมีลักษณะเป็นซี่ๆ เรียงกันเป็นแผง
 ซี่ของเหงือกมีขนาดเล็ก มีเซลล์เรียงเป็นชั้นบางๆ ห่อหุ้มหลอดเลือดฝอย ทาให้แก๊ส
แพร่ผ่านได้ง่าย
 นก (Aves) ต้องใช้พลังงานมาก ข้างๆ ปอดมีถุงลม 8-9 คู่
 ขณะหายใจเข้ากระดูกของนกจะลดต่าลง ถุงลมขยายขนาดขึ้น
 อากาศผ่านเข้าสู่หลอดลมผ่านปอดเข้าสู่ถุงลมตอนท้าย ส่วนอากาศที่ใช้แล้วออกจาก
ปอดเข้าสู่ถุงลม ตอนหน้า ถูกขับออกจากตัวนกทางลมหายใจออก
 ถุงลมไม่ได้แลกเปลี่ยนแก๊สแต่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการถ่ายเทอากาศ
 ถุงลมที่แทรกอยู่ในกระดูกทาให้กระดูกนกกลวง และเบาเหมาะต่อการบิน
นก
การหายใจของนก
การหายใจของนก
การหายใจของคน
 การนาแก๊ส O2 จากอากาศภายนอกเข้าสู่เซลล์ สาหรับทาปฏิกิริยากับอาหาร เพื่อ
เปลี่ยนเป็นพลังงานแล้วถ่ายเท CO2 ส่วนที่ไม่ต้องการออกจากเซลล์
 ส่วนที่อากาศผ่าน : ไม่มีการ
แลกเปลี่ยนแก๊ส ได้แก่โพรงจมูก
2 รู คอหอย (Pharynx) กล่อง
เสียง (Larynx) หลอดลม
(Trachea) ขั้วปอดหรือบรองคัส
(Bronchus) และ แขนงขั้วปอด
(Bronchiole)
 ส่วนที่แลกเปลี่ยนแก๊ส : ถุงลม
เล็กๆ ผนังบางมาก เรียกว่า
Alveolus ซึ่งที่ผนังมีหลอดเลือด
ฝอยล้อมรอบ
 การแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างปอด
และเลือดเกิดขึ้นที่ผนังแอลวีโอลัส
(Alveolus)
ระบบหายใจของคน
 รูจมูก (nostrill): มีขนจมูกกรอง
ฝุ่นละออง มีสารหล่อลื่นดักจับฝุ่น
ละออง
 โพรงจมูก (nasal cavity): เยื่อ
เมือกหนาบุอยู่ คอยดักจับเชื้อโรค มี
กลุ่มเซลล์ประสาทรับกลิ่น
 คอหอย (pharynx): ท่อกลวง
ของกล้ามเนื้อ มีท่อยูสเตเชียนติดต่อ
กับหูตอนกลาง หลอดอาหาร
หลอดลม
 กล่องเสียง (larynx): มี vocal
cord ทาให้เกิดเสียง กั้นไม่ให้อาหาร
ตกลงไปในหลอดลมขณะกลืนอาหาร
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 หลอดลม (trachea):
กระดูกอ่อนรูปตัว C ป้องกันไม่ให้ trachea
แฟบขณะหายใจ
กล้ามเนื้อเรียบยึดปลายกระดูกอ่อนรูปตัว
Cปรับขนาดหลอดลมคอ
เซลล์เยื่อบุของหลอดลมคอมี ciliaกาจัด
สิ่งแปลกปลอม
มีต่อมสร้างน้าเมือกกาจัดสิ่งแปลกปลอม
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 ขั้วปอด (Bronchus):
 แยกเป็น 2 ข้าง ซ้ายขวา
 ข้างขวาสั้นกว่า กว้างกว่า และอยู่
ในแนวดิ่งมากกว่าข้างซ้าย
 ส่วนที่ไม่ได้ฝังไปในเนื้อปอด
กระดูกอ่อนรูปตัว C
 ส่วนที่ฝังลงไปในเนื้อปอดกระดูก
อ่อนแยกเป็นชิ้นๆ รอบ bronchus
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 แขนงขั้วปอด/หลอดลมฝอย
(Bronchiole):
 ไม่มีกระดูกอ่อน
 ไม่มีต่อมสร้างน้าเมือก
 มีกล้ามเนื้อเรียบและ elastic fiber มาก
 ปรับขนาดทางเดินหายใจได้
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 Respiration bronchiole: เริ่มมี
การแลกเปลี่ยนแก๊สครั้งแรก
 Alveolar duct: ท่อถุงลมปอด
 ถุงลมปอด (alveolus):
 เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สมากที่สุด
 เซลล์เรียงตัวชั้นเดียว
 มีจานวน ≈ 300 ล้านถุง
 Capillary ล้อมรอบจานวนมาก
 อาศัยความดันระหว่างเส้นเลือด
กับปอดในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
(CO2 แพร่เข้าสู่ถุงลม O2 แพร่
เข้าสู่เส้นเลือด)
 ถ้าถูกทาลายมากๆ จะเป็นโรคถุง
ลมโป่งพอง
รูจมูก (nostrils)โพรงจมูก (nasal cavity)คอหอย (Pharynx)หลอดลม
(trachea)ขั้วปอด (bronchus)แขนงขั้วปอด (bronchiole)ถุงลม (alveolus)หลอด
เลือดฝอย (capillary)
ทางเดินหายใจของคน (Respiratory System)
 การทางานร่วมกันของ กระบังลม (Diaphragm) กล้ามเนื้อระหว่างซี่โครง (Inter-
costal muscle) และกระดูกซี่โครง (Ribs)
 ปอด : เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าชระหว่างถุงลมกับหลอดเลือดฝอย
 เซลล์ของเนื้อเยื่อ : เป็นการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างหลอดเลือดฝอยกับเนื้อเยื่อ
กลไกการหายใจเข้า-ออก
หายใจ
ปริมาตร
ปอด
ความดัน
ปอด
กระดูก
ซี่โครง
กล้ามเนื้อ
กระบังลม
กล้ามเนื้อยืดซี่โครง กล้ามเนื้อ
หน้าทองแถบนอก แถบใน
เข้า เพิ่ม ลด ยกขึ้น หด หด คลาย
คลาย
ท้องป่อง
ออก ลด เพิ่ม กดต่า คลาย คลาย หด
หด
ท้องแฟบ
ภาพ ก การหายใจเข้า
ภาพ ข การหายใจออก
กลไกการหายใจเข้า-ออก
 การหายใจเข้า (Inspiration):
 กระบังลมหดตัว: ขึงตึงแบนราบ ช่วยเพิ่มปริมาตรของช่องอกในแนวดิ่ง
 กล้ามเนื้อกระดูกซี่โครงแถบนอกหดตัว แถบในคลายตัว: ทาให้กระดูกซี่โครงยก
สูง ช่วยเพิ่มปริมาตรของช่องอกในแนวรัศมี
 ช่องปอดขยาย: ความดันในช่องปอดลดลงต่ากว่าความดันภายนอก อากาศ
ภายนอกจึงดันไหลเข้าสู่ปอด
 การหายใจออก (Expiration):
 กระบังลมคลายตัว: จะโค้งเป็นรูปโดมกลับเข้าตาแหน่งเดิม
 กล้ามเนื้อกระดูกซี่โครงแถบนอกคลายตัว แถบในหดตัว: ทาให้กระดูกซี่โครงลด
ระดับต่าลง
 ช่องปอดเล็กลง: ความดันในปอดจึงสูงกว่าอากาศภายนอก ทาให้ดันอากาศ
ภายในปอดออกมาข้างนอก
กลไกการหายใจเข้า-ออก
VDO กลไกการหายใจของมนุษย์
ระบบหายใจของ
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
การลาเลียงแก๊สผ่านระบบเลือด
 มีก๊าช 2 ชนิดที่ถูกลาเลียงโดยเลือด คือ ก๊าช O2 ลาเลียงเข้า และ CO2 ลาเลียงออก
 การลาเลียงก๊าชออกซิเจน:
 ละลายใน plasma (น้าเลือด) 3% = ละลายได้น้อยมาก
 จับ Hb ใน RBC 97%
 Hb + 4O2 Hb(O2)4 (Oxyhemoglobin/HbO2) เลือดมีสีแดงสด
 Hb 1 โมเลกุล มี heme 4 โมเลกุล , 1 heme มี Fe 1 อะตอม ซึ่งใช้จับ O2
 Hb 1 โมเลกุล จับ O2 ได้ 4 โมเลกุล
การลาเลียงแก๊สผ่านระบบเลือด
บริเวณปอด
บริเวณเนื้อเยื่อ
 การลาเลียงคาร์บอนไดออกไซด์:
 ละลายอยู่ในพลาสมา (น้าเลือด) 7%
 จับกับ Hb ใน RBC 23%  Hb + CO2 HbCO2
(carbaminohemoglobin) เลือดสีคล้า
 ขนส่งในรูป HCO3
- โดยรวมกับน้าใน RBC 70%
H2O + CO2 H2CO3 H+ + HCO3
-
การลาเลียงแก๊สผ่านระบบเลือด
บริเวณเนื้อเยื่อ
บริเวณปอด
ในเม็ดเลือดแดง
ในเม็ดเลือดแดง
 Hemoglobin/Hb: โปรตีนที่มี 4 หน่วยย่อย แต่ละหน่วยมีฮีม สามารถจับกับโมเลกุล
ต่างๆ เรียงจากมากไปน้อย
CO: เร็วมาก จับที่ Fe กลายเป็น Carboxyhemoglobin (HbCO)
O2: Fe ในฮีมเป็นตัวจับกลายเป็นออกซีฮีโมโกลบิน (Oxy-Hemoglobin)
CO2: จับกันได้น้อยมาก จับกันกลายเป็น Carbaminohemoglobin (HbCO2)
 ไมโอโกลบิน (Myoglobin/Mb):
 โปรตีนทรงกลมคล้าย Hemoglobin
 กล้ามเนื้อที่มี Mb มากมีสีแดง
 Mb จับกับ O2 สูงกว่า Hb ทาให้ O2 จาก Hb ในเลือด เคลื่อนที่เข้าสู่ Mb ใน
กล้ามเนื้อ
รงควัตถุที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
 อุณหภูมิ:
 อุณหภูมิสูงขึ้น Hb จะจับกับ O2 ได้น้อยลง แต่ถ้าอุณหภูมิต่าลงจะจับกันได้ดีมาก
ขึ้น
 เมื่อออกกาลังกาย กล้ามเนื้อจะได้รับ O2 จาก Hb เนื่องจากอุณหภูมิร่างกายสูง Hb
จะปลดปล่อย O2 ออกทาให้เกิดประโยชน์แก่กล้ามเนื้อ
 ค่า pH:
 pH ลดลง (เป็นกรดเพิ่มขึ้น) Hb จะจับกับ O2 ได้น้อยลง ถ้า pH เพิ่มขึ้น (เป็นเบส
เพิ่มขึ้น) Hb จะจับกับ O2 เพิ่มขึ้น
 เมื่อออกกาลังกาย CO2 สูงขึ้น เลือดเป็นกรดมากขึ้น Hb จะปลดปล่อย O2 ออก
ปัจจัยที่มีผลต่อการจับกันของฮีโมโกลบิน (Hb) และออกซิเจน (O2)
 แบบอัตโนวัติ หรือทางระบบประสาท:
 นอกอานาจจิตใจ
 บังคับไม่ได้
 เมดุลลาออบลองกาตา และพอนด์
 ภายใต้อานาจจิตใจหรือทางรีเฟลกซ์ :
 บังคับได้
 สมองส่วนหน้าคือ ซีรีบรัลคอร์เทกซ์ ไฮโพ
ทาลามัส และสมองส่วนหลังคือ ซีรีเบลลัม
 ควบคุมการหายใจให้เหมาะสมกับ
พฤติกรรมต่างๆ ของร่างกาย
o การควบคุมทางเคมี:
o สารเคมีที่สาคัญ เช่น O2, CO2 และ H+
o การหายใจเข้า CO2 กระตุ้นศูนย์ควบคุม
การหายใจ (Medulla oblongata)
การควบคุมการหายใจ
 จาม: ร่างกายพยายามขับสิ่ง
แปลกปลอมโดยหายใจเข้าลึกๆ แล้ว
หายใจออกทันที
 หาว: มีปริมาณ CO2 ในเลือดมาก จึง
ขับออกโดยหายใจเข้ายาวและลึก
เพื่อรับ O2 เพื่อแลกเปลี่ยน CO2 ให้
ออกจากเลือด
 สะอึก: กระบังลมหดตัวเป็นจังหวะ
ขณะหดตัวอากาศถูกดันผ่านสู่ปอด
ทันที ทาให้สายเสียงสั่นเกิดเสียงขึ้น
 ไอ: การหายใจอย่างรุนแรงเพื่อ
ป้องกันไม่ให้สิ่งแปลกปลอมหลุดเข้า
ไปในกล่องเสียง และหลอดลม
อาการที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
 โรคปอดบวม (Pneumonia): เกิดจาก
การอักเสบและติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส
ทาให้พื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ลดลง
 โรคถุงลมโป่งพอง (emphysema): เกิด
จากการสูดแก๊สพิษ ทาให้ถุงลมขาดความ
ยืดหยุ่น ขาดง่าย ทาให้พื้นที่ผิว
แลกเปลี่ยนแก๊สลดลง
 โรคภูมิแพ้จมูก/แพ้อากาศ (Allergic
Rhinitis): เมื่อมีสารก่อภูมิแพ้เข้าร่างกาย
ร่างกายส่ง antibody ไปทาปฏิกิริยา กับ
สารก่อภูมิแพ้ที่หายใจเข้าไป ทาให้เซลล์
บางชนิดในจมูก มีการแตกตัวและหลั่ง
สารเคมีออกมาทาให้เกิดการอักเสบ
ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับปอด และโรคของระบบทางเดินหายใจ
ระบบหายใจ  (1-2560)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Wan Ngamwongwan
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
supreechafkk
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
Wichai Likitponrak
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
Sumarin Sanguanwong
 

Was ist angesagt? (20)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 

Ähnlich wie ระบบหายใจ (1-2560)

การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
supreechafkk
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
Amporn Ponlana
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
Amporn Ponlana
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
Wan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
N'apple Naja
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
Oui Nuchanart
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
Nan Nam
 

Ähnlich wie ระบบหายใจ (1-2560) (20)

การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
G2
G2G2
G2
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
 
ติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะ
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 

Mehr von Thitaree Samphao

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
Thitaree Samphao
 

Mehr von Thitaree Samphao (8)

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 

ระบบหายใจ (1-2560)

  • 1. เรื่อง ระบบหายใจ รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 คุณครูฐิตารีย์ สาเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
  • 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปความสาคัญของการรักษาดุลยภาพภายใน ร่างกาย สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย เปรียบเทียบ และสรุปโครงสร้างที่ใช้ในการ แลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย เปรียบเทียบ และสรุปโครงสร้างและ กระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนแก๊สของคนและของสัตว์ สืบค้นข้อมูล อภิปราย สรุป และนาเสนอเกี่ยวกับความผิดปกติที่เกี่ยวข้อง กับปอด และโรคของระบบทางเดินหายใจ จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 3. การหายใจ (RESPIRATION) การรักษาสมดุลของระบบในร่างกาย (Homeostasis)  เมื่อร่างกายได้รับ O2 จากภายนอกเข้าสู่ ร่างกายและนา CO2 จากภายในขับ ออกมาทิ้งภายนอกร่างกาย โดยอาศัย ระบบไหลเวียนโลหิตเป็นตัวกลางในการ ลาเลียงแก๊ส  การหายใจภายใน (Internal Respiration) / การหายใจระดับเซลล์ (Cellular Respiration) : สลายสาร โมเลกุลใหญ่เป็นโมเลกุลเล็กและให้ พลังงาน  การหายใจภายนอก (External Respiration) : การแลกเปลี่ยนแก๊ส ของสิ่งมีชีวิต อาศัยคุณสมบัติคือ พื้นที่ ผิวมาก ผนังบาง และมีความชื้น
  • 4. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว  อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา  เซลล์สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่เป็นน้าตลอดเวลา  แลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อมผ่านเยื่อหุ้ม เซลล์ (cell membrane) โดยอาศัยการแพร่ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในน้า  สัตว์ชั้นต่า ฟองน้า ไฮดรา และหนอนตัวแบน  ผิวร่างกาย (Body Surface) แลกเปลี่ยนแก๊ส โดยอาศัยกระบวนการแพร่ การหายใจของสิ่งมีชีวิตอื่นที่ไม่ใช่มนุษย์
  • 5.  เหงือก (gill) เป็นอวัยวะ แลกเปลี่ยนแก๊ส ลักษณะเป็นซี่ ภายในมีเส้นเลือดฝอย หอยสองฝา หมึก  เหงือก (gill) เรียกว่า Dibranchia อยู่ในช่องตัว  การแลกเปลี่ยนแก๊ส เกิดขึ้น เมื่อน้าไหลเวียนเข้าในตัวหมึก
  • 6. ไส้เดือนดิน (Earth warm)  แลกเปลี่ยนแก๊สทางผิวหนัง (skin)  ระบบหมุนเวียนเลือดช่วยลาเลียง O2 ไปยังเซลล์และลาเลียง CO2 เพื่อขับออก จากเซลล์  เฮโมโกลบินละลายในน้าเลือด และ Hemoerythrin อยู่ในเซลล์เม็ดเลือด แม่เพรียง  อวัยวะสาหรับแลกเปลี่ยนแก๊ส คือ parapodia ซึ่งยื่นออกมาด้านข้างลาตัว ในแต่ละปล้อง ภายในมีเส้นเลือดฝอย
  • 7.  respiratory tree ยื่นเข้าไปใน ร่างกาย เป็นท่อยาวแตกแขนง คล้ายต้นไม้  การแลกเปลี่ยนก๊าชเกิดเมื่อน้า เข้า และออกผ่านส่วนปลาย ของทางเดินอาหาร ปลิงทะเล ดาวทะเล แมงดาทะเล  แผงเหงือก (book gill) บริเวณท้องเมื่อน้าไหลผ่านจะ เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส
  • 8.  ท่อลม (trachea) แตกแขนง เป็นท่อลมฝอย (tracheole) ขนาดเล็กแทรกตาม ร่างกาย แมลง
  • 9.  ปอดแผง (book lung) : ลักษณะเป็นท่อลมซ้อนเป็นพับไปมาคล้ายแผง มีหลอดเลือด นา CO2 มาแลกเปลี่ยนที่แผงท่อลมนี้แล้วรับ O2 ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ แมงมุม
  • 10. สัตว์น้า  ในน้ามีออกซิเจนเพียงร้อยละ 0.5  สัตว์น้ามีเนื้อเยื่อของอวัยวะที่มากพอสาหรับการแลกเปลี่ยนแก๊ส  เหงือกปลา และกุ้งมีลักษณะเป็นซี่ๆ เรียงกันเป็นแผง  ซี่ของเหงือกมีขนาดเล็ก มีเซลล์เรียงเป็นชั้นบางๆ ห่อหุ้มหลอดเลือดฝอย ทาให้แก๊ส แพร่ผ่านได้ง่าย
  • 11.  นก (Aves) ต้องใช้พลังงานมาก ข้างๆ ปอดมีถุงลม 8-9 คู่  ขณะหายใจเข้ากระดูกของนกจะลดต่าลง ถุงลมขยายขนาดขึ้น  อากาศผ่านเข้าสู่หลอดลมผ่านปอดเข้าสู่ถุงลมตอนท้าย ส่วนอากาศที่ใช้แล้วออกจาก ปอดเข้าสู่ถุงลม ตอนหน้า ถูกขับออกจากตัวนกทางลมหายใจออก  ถุงลมไม่ได้แลกเปลี่ยนแก๊สแต่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการถ่ายเทอากาศ  ถุงลมที่แทรกอยู่ในกระดูกทาให้กระดูกนกกลวง และเบาเหมาะต่อการบิน นก
  • 14. การหายใจของคน  การนาแก๊ส O2 จากอากาศภายนอกเข้าสู่เซลล์ สาหรับทาปฏิกิริยากับอาหาร เพื่อ เปลี่ยนเป็นพลังงานแล้วถ่ายเท CO2 ส่วนที่ไม่ต้องการออกจากเซลล์
  • 15.  ส่วนที่อากาศผ่าน : ไม่มีการ แลกเปลี่ยนแก๊ส ได้แก่โพรงจมูก 2 รู คอหอย (Pharynx) กล่อง เสียง (Larynx) หลอดลม (Trachea) ขั้วปอดหรือบรองคัส (Bronchus) และ แขนงขั้วปอด (Bronchiole)  ส่วนที่แลกเปลี่ยนแก๊ส : ถุงลม เล็กๆ ผนังบางมาก เรียกว่า Alveolus ซึ่งที่ผนังมีหลอดเลือด ฝอยล้อมรอบ  การแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างปอด และเลือดเกิดขึ้นที่ผนังแอลวีโอลัส (Alveolus) ระบบหายใจของคน
  • 16.  รูจมูก (nostrill): มีขนจมูกกรอง ฝุ่นละออง มีสารหล่อลื่นดักจับฝุ่น ละออง  โพรงจมูก (nasal cavity): เยื่อ เมือกหนาบุอยู่ คอยดักจับเชื้อโรค มี กลุ่มเซลล์ประสาทรับกลิ่น  คอหอย (pharynx): ท่อกลวง ของกล้ามเนื้อ มีท่อยูสเตเชียนติดต่อ กับหูตอนกลาง หลอดอาหาร หลอดลม  กล่องเสียง (larynx): มี vocal cord ทาให้เกิดเสียง กั้นไม่ให้อาหาร ตกลงไปในหลอดลมขณะกลืนอาหาร โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
  • 17. โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน  หลอดลม (trachea): กระดูกอ่อนรูปตัว C ป้องกันไม่ให้ trachea แฟบขณะหายใจ กล้ามเนื้อเรียบยึดปลายกระดูกอ่อนรูปตัว Cปรับขนาดหลอดลมคอ เซลล์เยื่อบุของหลอดลมคอมี ciliaกาจัด สิ่งแปลกปลอม มีต่อมสร้างน้าเมือกกาจัดสิ่งแปลกปลอม
  • 18. โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน  ขั้วปอด (Bronchus):  แยกเป็น 2 ข้าง ซ้ายขวา  ข้างขวาสั้นกว่า กว้างกว่า และอยู่ ในแนวดิ่งมากกว่าข้างซ้าย  ส่วนที่ไม่ได้ฝังไปในเนื้อปอด กระดูกอ่อนรูปตัว C  ส่วนที่ฝังลงไปในเนื้อปอดกระดูก อ่อนแยกเป็นชิ้นๆ รอบ bronchus
  • 19. โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน  แขนงขั้วปอด/หลอดลมฝอย (Bronchiole):  ไม่มีกระดูกอ่อน  ไม่มีต่อมสร้างน้าเมือก  มีกล้ามเนื้อเรียบและ elastic fiber มาก  ปรับขนาดทางเดินหายใจได้
  • 20. โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน  Respiration bronchiole: เริ่มมี การแลกเปลี่ยนแก๊สครั้งแรก  Alveolar duct: ท่อถุงลมปอด  ถุงลมปอด (alveolus):  เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สมากที่สุด  เซลล์เรียงตัวชั้นเดียว  มีจานวน ≈ 300 ล้านถุง  Capillary ล้อมรอบจานวนมาก  อาศัยความดันระหว่างเส้นเลือด กับปอดในการแลกเปลี่ยนแก๊ส (CO2 แพร่เข้าสู่ถุงลม O2 แพร่ เข้าสู่เส้นเลือด)  ถ้าถูกทาลายมากๆ จะเป็นโรคถุง ลมโป่งพอง
  • 21. รูจมูก (nostrils)โพรงจมูก (nasal cavity)คอหอย (Pharynx)หลอดลม (trachea)ขั้วปอด (bronchus)แขนงขั้วปอด (bronchiole)ถุงลม (alveolus)หลอด เลือดฝอย (capillary) ทางเดินหายใจของคน (Respiratory System)
  • 22.  การทางานร่วมกันของ กระบังลม (Diaphragm) กล้ามเนื้อระหว่างซี่โครง (Inter- costal muscle) และกระดูกซี่โครง (Ribs)  ปอด : เป็นการแลกเปลี่ยนก๊าชระหว่างถุงลมกับหลอดเลือดฝอย  เซลล์ของเนื้อเยื่อ : เป็นการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างหลอดเลือดฝอยกับเนื้อเยื่อ กลไกการหายใจเข้า-ออก หายใจ ปริมาตร ปอด ความดัน ปอด กระดูก ซี่โครง กล้ามเนื้อ กระบังลม กล้ามเนื้อยืดซี่โครง กล้ามเนื้อ หน้าทองแถบนอก แถบใน เข้า เพิ่ม ลด ยกขึ้น หด หด คลาย คลาย ท้องป่อง ออก ลด เพิ่ม กดต่า คลาย คลาย หด หด ท้องแฟบ
  • 23. ภาพ ก การหายใจเข้า ภาพ ข การหายใจออก กลไกการหายใจเข้า-ออก
  • 24.  การหายใจเข้า (Inspiration):  กระบังลมหดตัว: ขึงตึงแบนราบ ช่วยเพิ่มปริมาตรของช่องอกในแนวดิ่ง  กล้ามเนื้อกระดูกซี่โครงแถบนอกหดตัว แถบในคลายตัว: ทาให้กระดูกซี่โครงยก สูง ช่วยเพิ่มปริมาตรของช่องอกในแนวรัศมี  ช่องปอดขยาย: ความดันในช่องปอดลดลงต่ากว่าความดันภายนอก อากาศ ภายนอกจึงดันไหลเข้าสู่ปอด  การหายใจออก (Expiration):  กระบังลมคลายตัว: จะโค้งเป็นรูปโดมกลับเข้าตาแหน่งเดิม  กล้ามเนื้อกระดูกซี่โครงแถบนอกคลายตัว แถบในหดตัว: ทาให้กระดูกซี่โครงลด ระดับต่าลง  ช่องปอดเล็กลง: ความดันในปอดจึงสูงกว่าอากาศภายนอก ทาให้ดันอากาศ ภายในปอดออกมาข้างนอก กลไกการหายใจเข้า-ออก
  • 28.  มีก๊าช 2 ชนิดที่ถูกลาเลียงโดยเลือด คือ ก๊าช O2 ลาเลียงเข้า และ CO2 ลาเลียงออก  การลาเลียงก๊าชออกซิเจน:  ละลายใน plasma (น้าเลือด) 3% = ละลายได้น้อยมาก  จับ Hb ใน RBC 97%  Hb + 4O2 Hb(O2)4 (Oxyhemoglobin/HbO2) เลือดมีสีแดงสด  Hb 1 โมเลกุล มี heme 4 โมเลกุล , 1 heme มี Fe 1 อะตอม ซึ่งใช้จับ O2  Hb 1 โมเลกุล จับ O2 ได้ 4 โมเลกุล การลาเลียงแก๊สผ่านระบบเลือด บริเวณปอด บริเวณเนื้อเยื่อ
  • 29.  การลาเลียงคาร์บอนไดออกไซด์:  ละลายอยู่ในพลาสมา (น้าเลือด) 7%  จับกับ Hb ใน RBC 23%  Hb + CO2 HbCO2 (carbaminohemoglobin) เลือดสีคล้า  ขนส่งในรูป HCO3 - โดยรวมกับน้าใน RBC 70% H2O + CO2 H2CO3 H+ + HCO3 - การลาเลียงแก๊สผ่านระบบเลือด บริเวณเนื้อเยื่อ บริเวณปอด ในเม็ดเลือดแดง ในเม็ดเลือดแดง
  • 30.  Hemoglobin/Hb: โปรตีนที่มี 4 หน่วยย่อย แต่ละหน่วยมีฮีม สามารถจับกับโมเลกุล ต่างๆ เรียงจากมากไปน้อย CO: เร็วมาก จับที่ Fe กลายเป็น Carboxyhemoglobin (HbCO) O2: Fe ในฮีมเป็นตัวจับกลายเป็นออกซีฮีโมโกลบิน (Oxy-Hemoglobin) CO2: จับกันได้น้อยมาก จับกันกลายเป็น Carbaminohemoglobin (HbCO2)  ไมโอโกลบิน (Myoglobin/Mb):  โปรตีนทรงกลมคล้าย Hemoglobin  กล้ามเนื้อที่มี Mb มากมีสีแดง  Mb จับกับ O2 สูงกว่า Hb ทาให้ O2 จาก Hb ในเลือด เคลื่อนที่เข้าสู่ Mb ใน กล้ามเนื้อ รงควัตถุที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
  • 31.  อุณหภูมิ:  อุณหภูมิสูงขึ้น Hb จะจับกับ O2 ได้น้อยลง แต่ถ้าอุณหภูมิต่าลงจะจับกันได้ดีมาก ขึ้น  เมื่อออกกาลังกาย กล้ามเนื้อจะได้รับ O2 จาก Hb เนื่องจากอุณหภูมิร่างกายสูง Hb จะปลดปล่อย O2 ออกทาให้เกิดประโยชน์แก่กล้ามเนื้อ  ค่า pH:  pH ลดลง (เป็นกรดเพิ่มขึ้น) Hb จะจับกับ O2 ได้น้อยลง ถ้า pH เพิ่มขึ้น (เป็นเบส เพิ่มขึ้น) Hb จะจับกับ O2 เพิ่มขึ้น  เมื่อออกกาลังกาย CO2 สูงขึ้น เลือดเป็นกรดมากขึ้น Hb จะปลดปล่อย O2 ออก ปัจจัยที่มีผลต่อการจับกันของฮีโมโกลบิน (Hb) และออกซิเจน (O2)
  • 32.  แบบอัตโนวัติ หรือทางระบบประสาท:  นอกอานาจจิตใจ  บังคับไม่ได้  เมดุลลาออบลองกาตา และพอนด์  ภายใต้อานาจจิตใจหรือทางรีเฟลกซ์ :  บังคับได้  สมองส่วนหน้าคือ ซีรีบรัลคอร์เทกซ์ ไฮโพ ทาลามัส และสมองส่วนหลังคือ ซีรีเบลลัม  ควบคุมการหายใจให้เหมาะสมกับ พฤติกรรมต่างๆ ของร่างกาย o การควบคุมทางเคมี: o สารเคมีที่สาคัญ เช่น O2, CO2 และ H+ o การหายใจเข้า CO2 กระตุ้นศูนย์ควบคุม การหายใจ (Medulla oblongata) การควบคุมการหายใจ
  • 33.  จาม: ร่างกายพยายามขับสิ่ง แปลกปลอมโดยหายใจเข้าลึกๆ แล้ว หายใจออกทันที  หาว: มีปริมาณ CO2 ในเลือดมาก จึง ขับออกโดยหายใจเข้ายาวและลึก เพื่อรับ O2 เพื่อแลกเปลี่ยน CO2 ให้ ออกจากเลือด  สะอึก: กระบังลมหดตัวเป็นจังหวะ ขณะหดตัวอากาศถูกดันผ่านสู่ปอด ทันที ทาให้สายเสียงสั่นเกิดเสียงขึ้น  ไอ: การหายใจอย่างรุนแรงเพื่อ ป้องกันไม่ให้สิ่งแปลกปลอมหลุดเข้า ไปในกล่องเสียง และหลอดลม อาการที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
  • 34.  โรคปอดบวม (Pneumonia): เกิดจาก การอักเสบและติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส ทาให้พื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ลดลง  โรคถุงลมโป่งพอง (emphysema): เกิด จากการสูดแก๊สพิษ ทาให้ถุงลมขาดความ ยืดหยุ่น ขาดง่าย ทาให้พื้นที่ผิว แลกเปลี่ยนแก๊สลดลง  โรคภูมิแพ้จมูก/แพ้อากาศ (Allergic Rhinitis): เมื่อมีสารก่อภูมิแพ้เข้าร่างกาย ร่างกายส่ง antibody ไปทาปฏิกิริยา กับ สารก่อภูมิแพ้ที่หายใจเข้าไป ทาให้เซลล์ บางชนิดในจมูก มีการแตกตัวและหลั่ง สารเคมีออกมาทาให้เกิดการอักเสบ ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับปอด และโรคของระบบทางเดินหายใจ