SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 183
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
แนวข้อสอบ ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
1. ประเทศใดมีลักษณะการปกครองเหมือนประเทศไทย
1. ลาว
2. กัมพูชา**
3. มาเลเซีย
4. อินโดนิเชีย
2. ข้อใดคือหัวใจสําคัญของการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
1. เพื่อนร่วมกันจัดทําปฏิญญากรุงเทพ
2. เพื่อส่งเสริมการค้าและการแลกเปลี่ยน
3. เพื่อแก้ปัญหาสงครามระหว่างอาเซียน
4. เพื่อให้เกิดความมั่นคงของประเทศสมาชิกอาเซียน**
3. ข้อใดแสดงถึงการเห็นความสําคัญของสิทธิมนุษย์ชน
1. การคุ้มครองด้านสิทธิเด็ก**
2. การมีกฎหมายระหว่างประเทศ
3. การแต่งกายตามข้อบังคับของศาสนา
4. การปกครองตามระบบสังคมนิยม
4. ประเทศในกลุ่มอาเซียนประเทศใด มีหมู่เกาะใหญ่ที่สุดในโลก
1. ฟิลิปปินส์
2. มาเลเซีย
3. สิงคโปร์
4. อินโดนิเชีย**
5. ประเทศมาเลเซียเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศใด
1. ฝรั่งเศส
2. โปรตุเกส
3. สหรัฐอเมริกา
4. สหราชอาณาจักร**
6. อธิบดีกรมอาเซียนปัจจุบันคือใคร
1.
2.
3.
4.
7. ข้อใดแสดงถึงความมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การท่องเที่ยวโดยใช้เครื่องนาทาง (GPS)
2. การใช้ภาษาในการสื่อสารอย่างน้อยสามภาษา
3. การใช้คอมพิวเตอร์ในการแข่งขันระดับนานาชาติ
4. การสร้างสรรค์และแลกเปลี่ยนผลงานระดับอาเซียน**
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
8. การให้ความช่วยเหลือแก่ชาวต่างชาติที่อพยพเข้ามาในไทย เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. ไม่เหมาะสม เพราะเป็นภาระการเลี้ยงดู
2. เหมาะสม เพราะเป็นการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์**
3. เหมาะสม เพราะช่วยลดความตึงเครียดบริเวณชายแดน
4. ไม่เหมาะสม เพราะเป็นการสร้างความตึงเครียดกับประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น
9. ประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียนได้แก่ข้อใด ?
1. มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์**
2. มาเลเซีย พม่า ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์
3. มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม
4. อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ติมอร์ พม่า ไทย
10. รัฐมนตรีต่างประเทศของไทยในตอนลงนามปฏิญญาอาเซียนคือใคร ?
1. จอมพลถนอม กิตติขจร
2. นายปองพล อดิเรกสาร
3. พันเอก (พิเศษ)ดร.ถนัด คอมันตร์**
4. พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
11. การลงนามปฏิญญาอาเซียนลงนามเมื่อใด ?
1. เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๐**
2. เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๐๘
3. เมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๒
4. เมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๐
12. การลงนามปฏิญญาอาเซียนลงนามที่ใด ?
1. พระราชวังจันทรเกษม
2. พระบรมมหาราชวัง
3. พระราชวังสราญรมย์**
4. พระราชวังดุสิต
13. สมาชิกอีก ๕ ประเทศได้แก่ข้อใด ?
1. เวียดนาม จีน พม่า ลาว ติมอร์
2. เวียดนาม พม่า ลาว บรูไน กัมพูชา**
3. เวียดนาม พม่า ลาว อินโดนีเซีย เกาหลีใต้
4. พม่า ลาว อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ ไทย
14. สีบนพื้นธงอาเซียนมีกี่สี ?
1. ๓ สี
2. ๔ สี**
3. ๕ สี
4. ๖ สี
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
15. สัญลักษณ์ของอาเซียนคือข้อใด ?
1. รวงข้าว ๑๐ ต้น**
2. มัดหญ้า ๑๐ ต้น
3. ฝ้าย ๑๐ ต้น
4. มัดผักตบชวา ๑๐ ต้น
16. AFTA คืออะไร?
1. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
2. ความร่วมมือทางด้านอุตสาหกรรม
3. เขตการค้าเสรี**
4. เขตการลงทุนอาเซียน
17. AFTA ย่อมาจากอะไร?
1. ASEAN FREE TRADE AREA.
2. ASEAN FREE TRIDE AREA. **
3. ASEAN VISION ๒๐๒๐
4. ASEAN TROIKA.
18. ใครเป็นผู้เสนอให้ก่อตั้ง AFTA ?
1. ปรีดี พนมยงค์ (หลวงประดิษฐ์มนูธรรม)
2. หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
3. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
4. นายอานันท์ ปันยารชุน**
19. ข้อใดหมายถึง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ?
1. ASEAN COMMINITY.
2. ASEAN POLITICAL SECURITY COMMINITY.
3. ASEAN ECONOMIC COMMUNITY**
4. ASEAN SOCIO-CULTURAL COMMINITY.
20. สํานักเลขาธิการอาเซียนอยู่ที่ใด ?
1. กรุงจาการ์ต้า ประเทศอินโดนีเซีย**
2. บันดาร์เสรีเบกาวาน ประเทศบรูไน
3. เวียงจันทน์ ประเทศลาว
4. พนมเปญ ประเทศกัมพูชา
21. เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบันคือใคร ?
1.
2.
3.
4
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
22. การประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียนครั้งที่ ๑๓ ประชุมที่ประเทศใด ?
1. ประเทศอินโดนีเซีย
2. ประเทศลาว
3. ประเทศกัมพูชา
4. ประเทศสิงคโปร์**
23. ชื่อย่อของ เขตการลงทุนอาเซียน คือข้อใด ?
1. AIA**
2. IAI
3. AEC
4. ARF
24. หัวข้อหลักของการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๑๔ คือข้อใด ?
1. กฎบัตรอาเซียน**
2. การพยายามผลักดันให้อาเซียนเดินหน้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ๒๐๑๕
3. การพยายามให้ประชาคมอาเซียนมีบทบาทในประชาคมโลก
4. พิธีลงนามความตกลงอาเซียนว่าด้วยการจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนในการให้ความช่วยเหลือด้าน
มนุษยธรรม
25. การนําร่อง ๑๒ สาขาสําคัญ ประเทศพม่ามีทักษะอะไร?
1. การท่องเที่ยว การบิน
2. เกษตร ประมง**
3. ไม้ ยาง
4. สาขาสุขภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ
26. การนําร่อง ๑๒ สาขาสําคัญ ประเทศไทยมีทักษะอะไร?
1. การท่องเที่ยว การบิน**
2. อิเล็กทรอนิกส์ ประมง
3. เกษตร ประมง
4. ไม้ ยาง
27. การนําร่อง ๑๒ สาขาสําคัญ ประเทศฟิลิปปินส์มีทักษะอะไร?
1. อิเล็คทรอนิคส์**
2. ยานยนต์
3. สิ่งทอ
4. สาขาสุขภาพ
28. ข้อใดมิใช่ ประเทศคู่เจรจาของอาเซียน?
1. อินเดีย จีน
2. เเคนาดา สหภาพยุโรป
3. ญี่ปุ่น เกาหลีใต้
4. ศรีลังกา ไอซ์เเลนด์**
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
29. คําว่า“ASEAN” เป็นคาย่อมาจาก
1. “Association of Southeast Asian ”
2. “Association of Southeast Asiannations”
3. “Association of Southeast Asian Nations”**
4. “Association of Southeast Asian Nations”
30. คําว่า“ASEAN”แปลเป็นภาษาไทยอย่างเป็นทางการโดยกระทรวงการต่างประเทศของไทยว่า
1. “ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
2. “สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”**
3. “ประชาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
4. “ประชาคมแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
31. ประเทศใดเข้าเป็นสมาชิก อาเซียน (ASEAN) ก่อนประเทศอื่น
1. ลาว
2. พม่า
3. บรูไน**
4. เวียดนาม
32. ประเทศที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกหลังสุดคือข้อใด
1. ลาว
2. พม่า**
3. บรูไน
4. เวียดนาม
33. เรียล เป็นสกุลเงินของประเทศใด
1. ลาว
2. พม่า
3. กัมพูชา**
4. เวียดนาม
34. ประเทศบรูไน มีชื่อเป็นทางการว่าอย่างไร
1. บรูไนไดรุสซาลาม
2. บรูไนดารุสซาลาม**
3. บรูไนเดรุสโซลาม
4. บรูไนดารุสโซลาม
35. ประเทศที่ถูกจับตามองว่าจะเป็นคู่แข่งทางเศรษฐกิจที่สําคัญของไทย คือประเทศใด
1. บรูไน
2. สิงคโปร์
3. เวียตนาม**
4. พม่า
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
36. กลุ่มประเทศที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดคือข้อใด
1. NAM**
2. OIC
3. AIC
4. NIC
37. เมืองหลวงประเทศพม่าคือข้อใด
1. ร่างกุ้ง
2. ย่างกุ้ง
3. เนปิดอว์**
4. หงสาวดี
38. วัตถุประสง๕หลักของกฎบัตรอาเซียนคือข้อใด
1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการดําเนินการตามเป้าหมายต่างๆโดยเฉพาะความพยายามที่จะรวมตัว
กันเป็น“ประชาคม” ภายใน พ.ศ. ๒๕๕๘
2. เพื่อสร้างกลไกส่งเสริมให้รัฐสมาชิกปฏิบัติตามความตกลงต่างๆ ของอาเซียน
3. เพื่อทาให้อาเซียน เป็นองค์กรที่ใกล้ชิดและสร้างประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริงมากขึ้น โดยการบังคับ
ใช้กฎบัตรดังกล่าวจะทําให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีกติกาการดําเนินงานอย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น
4. ถูกทุกข้อ**
39. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
1. ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๑๓เมื่อปี ๒๕๕๐ที่ประเทศสิงคโปร์ ผู้นาอาเซียนได้ลงนามในกฎบัตร
อาเซียน
2. กฎบัตรอาเซียน จะให้สถานะนิติบุคคลแก่อาเซียนเป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental
Organization)
3. กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วยข้อบทต่างๆ ๑๓บท ๕๕ข้อ มีประเด็นใหม่ที่แสดงความก้าวหน้าของอาเซียน
4. ถูกทุกข้อ**
40. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ซึ่งเป็นองค์กรสูงสุดในการกําหนดนโยบาย จัดการประชุม ปีละ ๑ ครั้ง**
2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ซึ่งมีรัฐมนตรีต่างประเทศของแต่ละประเทศเป็นสมาชิกมีหน้าที่ประสาน
งานระหว่างเสาหลักทั้ง ๓ของการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียนมีหน้าที่ประสานงานและติดตามการดําเนินงาน เพื่อจัดตั้งประชาคมอาเซียน
ในแต่ละเสาหลัก
4. คณะผู้แทนถาวรประจาอาเซียน ซึ่งมีหน้าที่สนับสนุนการทางานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียน
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
41. กระบวนการตัดสินใจ หลักทั่วไป คือข้อใด
1. ฉันทามติ **
2. มติเอกฉันท์
3. มติเกินกึ่งหนึ่ง
4. มติสองในสาม
42. ในการระงับข้อพิพาท ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. การปรึกษาหารือและเจรจาระหว่างคู่พิพาทเป็นอันดับแรก
2. การให้ประธานอาเซียนหรือเลขาธิการอาเซียนเป็นผู้ไกล่เกลี่ย หากคู่พิพาทร้องขอ
3. การให้ที่ประชุมสุดยอดเป็นผู้หาข้อยุติกรณีพิพาท
4. ถูกทุกข้อ**
43. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เกี่ยวกับเรื่องบุคคลที่ถูกจับกุมหรือ
ควบคุมตัว พึงได้รับการปฏิบัติอย่างไร
1. บุคคลผู้ถูกจับกุมย่อมได้รับการแจ้งถึงเหตุผลในการจับกุมในขณะที่ถูกจับกุม
2. บุคคลที่ถูกจับกุมหรือควบคุมตัวในข้อหาทางอาญา ย่อมต้องถูกนําตัวไปศาลโดยพลันเพื่อที่จะมีการใช้
อํานาจทางตุลาการ และได้รับการพิจารณาคดีในเวลาอันสมควร
3. บุคคลที่ถูกจับกุมหรือควบคุมตัวโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้ชดเชยค่าสินไหมทด แทน
4. ถูกทุกข้อ**
44. ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย ๓ เสาหลัก (Pillar) ข้อใดไม่ใช่
1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
3. ประชาคมการค้าอาเซียน**
4. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
45. ASEAN Political-Security Communityหมายถึงข้อใด
1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน**
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
3. ประชาคมการค้าอาเซียน
4. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
46. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเขตการค้าเสรี
1. ประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ใน พ.ศ.
๒๕๓๕
2. พ.ศ. ๒๕๕๑ประเทศสมาชิกอาเซียน ๖ประเทศที่เข้าเป็นสมาชิกก่อน ได้แก่ ประเทศไทย มาเลเซีย
อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และบรูไนดารุสซาลาม ได้ลดภาษีสินค้าในกรอบ AFTA ทุกรายการลงเหลือ
ร้อยละ ๐-๕
3. ประเทศที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนทีหลัง ได้แก่ เวียดนาม ลาว พม่า และกัมพูชา มีกําหนดต้องลดภาษีสินค้า
ลงเหลือร้อยละ ๐-๕ใน พ.ศ. ๒๕๕๘
4. ทุกข้อกล่าวถูกต้องหมด**
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
47. ในการดําเนินการของเขตการค้าเสรีอาเซียนนําไปสู่การอํานวยความสะดวกต่อการค้าภายในภูมิภาค
อาเซียน โดยการปรับกระบวนการด้านตรวจคนเข้าเมือง ภาษี และลดอุปสรรคอันเกิดจากมาตรการกีดกันทาง
การค้า ในข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. ปรับ Tariff Nomenclature ให้สอดคล้องกัน
2. ให้ประเทศสมาชิกปฏิบัติตาม GATT Valuation Agreement
3. อํานวยความสะดวกพิธีการตรวจคนเข้าเมืองด้วย Green Lane
4. ปรับค่าธรรมเนียมการตรวจคนเข้าเมืองให้เท่ากัน**
48. เพื่อรองรับการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อาเซียได้จัดทําแผ่นงาน การจัดตั้งประชาคม
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint) ซึ่งประกอบด้วยความ
ร่วมมือใน ๕ ด้าน ข้อใดไม่ถูกต้อ
1. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคมทรัพยากรมนุษย์ (Human Social Welfare and Protection)**
2. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights)
3. ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability)
4. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Narrowing the Development Gap)
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
แนวข้อสอบวัฒนธรรมและประเพณี
1. สิ่งที่เป็นเครื่องมือในการควบคุมพฤติกรรมของกลุ่มคนนี้เราเรียกว่า
ก. วัฒนธรรม
ข. ประเพณี
ค. ศีล**
ง. ธรรม
2. พระราชบัญญัติ วัฒนธรรมแห่งชาติพุทธศักราช ๒๔๘๕ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๖ ได้ให้
ความหมายของวัฒนธรรมไว้ในข้อใด
1. "วัฒนธรรมมีความหมายครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่าง ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
หรือสังคมใดสังคมหนึ่ง มนุษย์ได้คิดสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ใช้ในการปฏิบัติ การจัดระเบียบตลอดจนระบบ
ความเชื่อ ค่านิยม ความรู้ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการควบคุมและใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ"
2. "วัฒนธรรมคือความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ หรือลักษณะประจําชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่อยู่ในสังคม ซึ่งไม่
เพียงแต่จะหมายถึงความสําเร็จในด้านศิลปกรรมหรือมารยาททางสังคมเท่านั้น กล่าวคือ ชนทุกกลุ่มต้องมี
วัฒนธรรม ดังนั้น เมื่อมีความแตกต่างระหว่างชนแต่ละกลุ่ม ก็ย่อมมีความแตกต่างทางวัฒนธรรมนั่นเอง เช่น
ชาวนาจีน กับชาวนาในสหรัฐอเมริกา ย่อมมีความแตกต่างกัน
3. "วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงหรือผลิตสร้างขึ้น เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีชีวิตและ
ส่วนรวม วัฒนธรรมคือวิถีแห่งชีวิตของมนุษย์ในส่วนร่วมที่ถ่ายทอดกันได้ เรียนกันได้ เอาอย่างกันได้
วัฒนธรรมจึงเป็นผลผลิตของส่วนร่วมที่มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนสมัยก่อน สืบต่อกันมาเป็นประเพณี
วัฒนธรรมจึงเป็นทั้งความคิดเห็นหรือการกระทําของมนุษย์ในส่วนร่วมที่เป็นลักษณะเดียวกัน และสําแดงให้
ปรากฏเป็นภาษา ความเชื่อ ระเบียบประเพณี
4. วัฒนธรรม คือ ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้า
ของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน**
3. วัฒนธรรมมีความสําคัญอย่างไร
1. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ชี้แสดงให้เห็นความแตกต่างของบุคคล กลุ่มคน หรือชุมชน
2. เป็นสิ่งที่ทําให้เห็นว่าตนมีความแตกต่างจากสัตว์
3. ช่วยให้เราเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ที่เรามองเห็น การแปลความหมายของสิ่งที่เรามองเห็นนั้นขึ้นอยู่กับวัฒนธรรม
ของกลุ่มชน ซึ่งเกิดจากการเรียนรู้และถ่ายทอดวัฒนธรรม เช่น ชาวเกาะซามัวมองเห็นดวงจันทร์ว่ามีหญิง
กําลังทอผ้า ชาวออสเตรเลียเห็นเป็นตาแมวใหญ่กําลังมองหาเหยื่อ ชาวไทยมองเห็นเหมือนรูปกระต่าย
4. ถูกทุกข้อ**
4. ข้อใดได้อธิบายถึงลักษณะของวัฒนธรรม ได้ถูกต้อง
1. วัฒนธรรมเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ ตรงที่มีการรู้จักคิด มีการเรียนรู้ จัด
ระเบียบชีวิตให้เจริญ อยู่ดีกินดี มีความสุขสะดวกสบาย รู้จักแก้ไขปัญหา ซึ่งแตกต่างไปจากสัตว์ที่เกิดการ
เรียนรู้โดยอาศัยความจําเท่านั้น
2. วัฒนธรรมเป็นมรดกของสังคม เนื่องจากมีการถ่ายทอดการเรียนรู้ จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนรุ่นหนึ่ง ทั้งโดย
ทางตรงและโดยทางอ้อม โดยไม่ขาดช่วงระยะเวลา และ มนุษย์ใช้ภาษาในการถ่ายทอดวัฒนธรรม ภาษาจึง
เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ถ่ายทอดวัฒนธรรมนั่นเอง
3. วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิต หรือเป็นแบแผนของการดําเนินชีวิตของ มนุษย์ มนุษย์เกิดในสังคมใดก็จะเรียนรู้และ
ซึมซับในวัฒนธรรมของสังคมที่ตนเองอาศัยอยู่ ดังนั้น วัฒนธรรมในแต่ละสังคมจึงแตกต่างกัน
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
4. ถูกทุกข้อ**
5. วัฒนธรรมเป็นตัวกําหนดรูปแบบของสถาบัน หมายถึงข้อใด
1. วัฒนธรรมอิสลามอนุญาตให้ชาย (ที่มีความสามารถเลี้ยงดูและ ให้ความ ยุติธรรมแก่ภรรยา) มีภรรยาได้
มากกว่า ๑ คน **
2. วัฒนธรรมในการพบปะทักทายของ ไทย ใช้ในการสวัสดีของชาวตะวันตกทั่วไปใช้ในการสัมผัสมือ ของชาว
ทิเบตใช้การแลบลิ้น ของชาว มุสลิมใช้การกล่าวสลาม
3. ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ให้แก่สังคม เพราะในวัฒนธรรมจะมีทั้งความศรัทธา ความเชื่อ ค่านิยม
บรรทัดฐาน เป็นต้น ตลอดจน ผลตอบแทนในการปฏิบัติและบทลงโทษเมื่อฝ่าฝืน
4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
6. วัฒนธรรมไทยมีที่มาจากปัจจัยต่าง ๆ ในข้อใด
1. สิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
2. ระบบการเกษตรกรรม
3. ค่านิยม (Values)
4. ถูกทุกข้อ**
7. ศาสนาพราหมณ์ ได้เผยแพร่เข้ามาในสังคมไทย โดยผ่านประเทศใด
1. ทางเขมร
2. อินโดนีเซีย
3. มลายู
4. ถูกทุกข้อ**
8. ประเพณีสงกรานต์ เกี่ยวข้องกับข้อใด
1. พุทธศาสนา
2. ศาสนาพราหมณ์**
3. ขอม
4. ไม่มีข้อถูก
9. ข้อใดไม่ใช่เส้นทางการเผยแพร่เของศาสนาพุธเข้ามาในสังคมไทย
1. จีน
2. พม่า
3. ขอม**
4. ลังกา
10. ข้อใดคือวัฒนธรรมตะวันตก
1. การสัมผัสมือ (shake hand)
2. ฟุตบอล
3. ผูกเน็คไท
4. ถูกทุกข้อ**
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
11. โลกุตรธรรมเป็นธรรมชั้นสูงที่พระพุทธเจ้า ทรงสอนปัญจวัคคีย์เป็นครั้งแรก คือ "อริยสัจสี่" หรือความจริง
อันประเสริฐ ๔ ประการ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค
1. โลกุตรธรรม**
2. อริยธรรม
3. โลกธรรม
4. ธรรมโลก
12. ความดับทุกข์หรือการดับตัณหาและ ความ ทะเยอทะยานต่าง ๆ ให้หมดสิ้นไป หมายถึงข้อใด
1. ทุกข์
2. สมุทัย
3. นิโรธ **
4. มรรค
13. กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา หมายถึงข้อใด
1. ทุกข์
2. สมุทัย**
3. นิโรธ
4. มรรค
14. ข้อใดคือธรรมข้อที่สาม
1. เลี้ยงชีพชอบในทางที่ถูกต้อง
2. มีความสํารวมระวังในกาม**
3. พูดแต่คําสัตย์จริง
4. มีสติระวังรักษาตนไว้เสมอ
15. ธรรมประจําใจของผู้ประเสริฐ หรือ ผู้มีจิตใจในอันดีงามประดุจดังพระพรหม หมายถึงข้อใด
1. เบญจธรรม
2. ฆราวาสธรรม
3. พรหมวิหาร**
4. สังคหวัตถุ
16. พลอยชื่นชมยินดีเมื่อเห็นผู้อื่นมีความสุขหมายถึงข้อใด
1. เมตตา
2. กรุณา
3. มุทิตา **
4. อุเบกขา
17. การสงเคราะห์หรือ ธรรมแห่งการ ยึด เหนี่ยวบุคคลให้เกิดความสามัคคีมี ๔ ประการ คือ
1. เบญจธรรม
2. ฆราวาสธรรม
3. พรหมวิหาร
4. สังคหวัตถุ**
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
18. การบําเพ็ญประโยชน์ ได้แก่ การ ช่วยเหลือด้วยแรงกาย บําเพ็ญประโยชน์ รวมทั้งช่วยแก้ไขปรับปรุงด้าน
จริยธรรม คือ
1. ทาน
2. ปิยวาจา
3. อัตถจริยา**
4. สมานัตตตา
19. การวางตน เสมอต้นเสมอปลาย ให้ความเสมอภาค ร่วมแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ส่วนรวม
ก. ทาน
ข. ปิยวาจา
ค. อัตถจริยา
ง. สมานัตตตา**
20. หลักธรรมที่ใช้ปฏิบัติสําหรับ ผู้ครองเรือน หมายถึงข้อใด
ก. เบญจธรรม
ข. ฆราวาสธรรม**
ค. พรหมวิหาร
ง. สังคหวัตถุ
21. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ทมะ คือ การรู้จักควบคุมจิตใจ ฝึกหัดดัดนิสัย แก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ปรับตัวปรับใจเข้าหากัน
2. ขันติ ความอดทน ได้แก่ การมีจิตใจเข้มแข็ง หนักแน่น ไม่วู่วาม อดทนต่อความล่วงล้ําก้ําเกินกัน ลําบาก
ตรากตรํา ฝ่าฟันอุปสรรคต่าง ๆ ไปด้วยกัน
3. จาคะ คือ การเสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วย เหลือ ซึ่งกันและกัน สามารถสละความสุขส่วนตัวเพื่อคู่ครองได้
4. ถูกทุกข้อ**
22. ในสังคมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ หมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านต่าง มี วัดประจําหมู่บ้านของตนเป็น
ศูนย์กลาง ซึ่งถือว่าเป็นสมบัติรวมของคนทั้งหมู่บ้าน วัดจึงเป็นศูนย์รวมประชาชนและมีบทบาทสําคัญๆต่อ
สังคมมากมาย ในข้อใดไม่ถูกต้อง
1. เป็นสถานพยาบาล
2. เป็นที่พักคนเดินทาง
3. เป็นสถานที่บันเทิง
4. ถูกทุกข้อ**
23. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่เชิดชูฐานะ ของ พระสงฆ์ ใน สังคมคือ
1. ความบริสุทธิ์
2. ความเสียสละบําเพ็ญประโยชน์
3. ความเป็นผู้นําทางสติปัญญา
4. ผู้นําทางสังคม**
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
24. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการที่คนเราสนใจไสยศาสตร์
1. ความกล้า**
2. ความกลัว
3. ความต้องการ
4. ถูกทุกข้อ
25. ผีที่คนไทยเชื่อว่าคุ้มครองการทําไร่นาให้ได้ผลดี คือข้อใด
1. แม่โพสพ **
2. นางกวัก
3. แม่ย่านาง
26. การทํานายฝัน เกี่ยวข้องกับข้อใด
1. โชคลาง
2. โหราศาสตร์**
3. ไสยศาสตร์
4. ถูกทุกข้อ
27. การปลูกต้นไม้ไว้ในบ้าน คนไทยส่วนใหญ่ควรปลูกต้อนไม้ใด
1. ต้นโศก
2. ระกํา
3. ลั่นทม
4. มะยม**
28. ใดบ่งบอกถึงความร่มเย็นและประสบความสําเร็จในชีวิต
1. เหลือง
2. ม่วง
3. เขียว**
4. ขาว
29. บ้านที่ลักษณะส่วนบนหัวจั่วลักษณะกาแล หมายถึงบ้านของภูมิภาคใด
1. ภาคเหนือ **
2. ภาคกลาง
3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4. ภาคใต้
30. บ้านที่ลักษณะหลังคาทรงปั้นหยาหมายถึงบ้านของภูมิภาคใด
ก. ภาคเหนือ
ข. ภาคกลาง
ค. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ง. ภาคใต้**
31. รูปภาพปั้นปูนเรื่องเรื่องทศชาติชาดกที่วัดไล อําเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี เป็นงานประติมากรรมไทย ใด
1. งานประติมากรรมที่มีลักษณะเป็นรูปทรงลอยตัว
2. งานประติมากรรมที่มีลักษณะเป็นรูปทรงแบบราบมีพื้นรองรับ**
3. งานประติมากรรมที่มีลักษณะเป็นรูปทรงจมอยู่ในพื้น
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
4. ไม่มีข้อถูก
32. งานช่างประดับมุก หมายถึงข้อใด
1. ประติมากรรม
2. จิตรกรรม
3. ประณีตศิลป์**
4. ไม่มีข้อถูก
33. วรรณคดีนิทานที่มีเค้าเรื่องจริง ซึ่งมักเป็นเรื่องราวของบุคคล ที่เชื่อว่ามีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ คือข้อ
ใด
1. ลิลิตพระลอ
2. ขุนช้างขุนแผน
3. ผาแดงนางไอ่
4. ถูกทุกข้อ**
34. คีตะ หมายถึงข้อใด
1. การร้องเป็นการร้องอย่างมีศิลป์**
2. เครื่องทํานองเพลง
3. การแสดงออกซึ่งมีลีลาท่ารําต่าง ๆ
4. ถูกทุกข้อ
35. ข้อใดไม่ใช่เครื่องดีด
1. เพ้ย
2. กระจับปี่
3. ซึง จะเข้
4. ซอล้อ**
36. ระบํา หมายถึงข้อใด
1. การแสดงนาฏศิลป์ไทยที่ไม่เป็นเรื่อง**
2. การแสดงเป็นเรื่อง
3. การเล่นโขนจัดเป็นนาฏกรรมประเภทมหรสพ
4. ถูกทุกข้อ
37. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. ประเพณี คือ ระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติที่เห็นว่าดีกว่า ถูกต้องกว่า หรือเป็นที่ยอมรับของคนส่วนใหญ่
ใน สังคมและมีการปฏิบัติสืบต่อกันมา
2. ประเพณี คือ ความประพฤติที่สืบต่อกันมาจนเป็นที่ยอมรับของคนส่วนใหญ่ในหมู่คณะ เป็นนิสัยสังคม ซึ่ง
เกิดขึ้นจากการที่ต้องเอาอย่างบุคคลอื่น ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตน หากจะกล่าวถึงประเพณีไทยก็หมายถึง นิสัยสังคม
ของคนไทยซึ่งได้รับมรดกตกทอดมาแต่ดั้งเดิมและมองเห็นได้ในทุกภาคของไทย
3. ธรรมเนียมประเพณี (Convention) หมายถึง ประเพณีที่ปฏิบัติกันอยู่ในชีวิตประจําวัน หากมี การฝ่าฝืนก็
ไม่ถือเป็นเรื่องผิด นอกจากจะเห็นว่าเป็นผู้เสียมารยาทเท่านั้น ไม่มีระเบียบแบบแผนเหมือนขนบประเพณี
4. ถูกทุกข้อ**
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
38. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. จารีตประเพณี หรือ กฎศีลธรรม (Mores) คือ ประเพณีที่สังคมถือว่าถ้าใครฝ่าฝืนงดเว้นไม่ กระทําตามถือ
ว่าเป็นความผิด จารีตประเพณีเกี่ยวข้องกับศีลธรรมของคนส่วนรวมในสังคมไทย เช่น การแสดงความ กตัญญู
ต่อผู้มีพระคุณ เป็นต้น
2. จารีตประเพณี หรือกฎศีลธรรมของแต่ละแห่งย่อมไม่เหมือนกัน เพราะมีค่านิยม (Value) ที่ยึดถือต่าง กัน
ดังนั้น ถ้าบุคคลใดนําจารีตประเพณีของตนไปเปรียบเทียบกับของคนอื่นว่าดีหรือเลวกว่าตนก็เป็นการ
เปรียบเทียบที่ไม่ถูกต้อง เพราะสภาพหรือสิ่งแวดล้อม ตลอดจนความเชื่อต่าง ๆ ย่อมต่างกันไป เช่น เรา
เคารพผู้ที่อาวุโสกว่า แต่ชาวอเมริกันรักความเท่าเทียมกัน
3. ขนบประเพณี (Institution) บางครั้งเรียกว่าระเบียบประเพณี หมายถึงประเพณีที่สังคมกําหนด ระเบียบ
แบบแผนไว้อย่างชัดว่า ควรจะประพฤติปฏิบัติเป็นขั้นตอนอย่างไร เช่น ประเพณีแต่งงานต้องเริ่มตั้งแต่การ
หมั้น การแต่ง ซึ่งแต่ละขั้นตอนจะมีพิธีมากมายสําหรับคู่บ่าวสาวต้องปฏิบัติตาม หรือพิธีศพ ซึ่งจะต้องเริ่ม
ตั้งแต่มีการรดน้ําศพ แต่งตัวศพ สวดศพ เผาศพ เป็นลําดับ
4. ถูกทุกข้อ**
39. เด็กชายที่จะบวชเป็นสามเณรได้ จะต้องมีอายุตั้งแต่กี่ปีขึ้นไป
1. ๕ ปี
2. ๗ ปี**
3. ๙ ปี
4. ๑๑ ปี
40. ชายที่จะบวชพระได้ต้องมีอายุครบกี่ปีบริบูรณ์
1. ๑๕ ปี
2. ๑๗ ปี
3. ๒๐ ปี**
4. ๒๑ ปี
41. การทําบุญบ้านหรือสถานที่ทํางาน นิยมนิมนต์พระกี่องค์
1. ๕
2. ๙
3. ๑๑
4. ถูกทั้งข้อ ๕ และข้อ ๙**
42. วันสงกรานต์ คือวันขึ้นปีใหม่ตามทางสุริยคติ หมายความว่า นับตามทางพระอาทิตย์ กล่าวคือโลกที่เราอยู่
หมุนไป ๑ รอบดวงอาทิตย์ก็เป็น ๑ ปี ซึ่งตรงกับวันที่ใด
1. ๑๑ เมษายน
2. ๑๒ เมษายน **
3. ๑๓ เมษายน
4. ๑๕ เมษายน
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
43. ไทยเราได้ประเพณีวันสงกรานต์มาจากชนชาติใด
1. มอญ**
2. พม่า
3. เขมร
4. ลาว
44. วันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ตั้งแต่สมัยใด
1. ก่อนสุโขทัย
2. สุโขทัย**
3. กรุงศรีอยุธยา
4. กรุงรัตนโกสินธร์
45. ประเทศไทยได้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จากวันสงกรานต์มาเป็นวันที่ ๑ มกราคมตั้งแต่เมื่อใด
1. พ.ศ. ๒๔๗๕
2. พ.ศ. ๒๔๘๓**
3. พ.ศ.๒๕๐๐
4. พ.ศ.๒๕๐๑
46. "ทําบุญวันสารท" ตรงกับวันใด
1. วันขึ้นสิบห้าค่ําเดือนสิบ**
2. วันขึ้นสิบห้าค่ําเดือนสิบเอ็ด
3. วันขึ้นสิบห้าค่ําเดือนสิบสอง
4. วันขึ้นสิบห้าค่ําเดือนเก้า
47. "สารท" เป็นคํามาจากภาษาใด
1. ลังกา
2. อินเดีย**
3. มอญ
4. ขอม
48. ประเพณีลอยกระทง มีมาตั้งแต่สมัยใด
ก. ก่อนสุโขทัย
ข. สุโขทัย**
ค. กรุงศรีอยุธยา
ง. กรุงรัตนโกสินธร์
49. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับวันมาฆบูชา ไม่ถูกต้อง
1. พระภิกษุจํานวน ๑,๕๒๐ รูป มาประชุมกันเข้าเฝ้าพระ พุทธเจ้าที่เวฬุวัน กรุงราชคฤห์ โดยมิได้นัดหมาย**
2. พระภิกษุเหล่านี้ล้วนเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น
3. พระภิกษุเหล่านี้เป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทา คือ พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ทั้งสิ้น
4. ในวันนั้น เป็นวันเพ็ญพระจันทร์เต็มดวง หรือเสวยมาฆะฤกษ์ ในวันนี้พุทธศาสนิกชนจะทําบุญตักบาตร ไป
วัด ฟังเทศน์ สวด มนต์ และเลี้ยงพระกลางคืนมีการเวียนเทียน
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
50. วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๘ วันนี้มี ปรากฏการณ์ที่สําคัญ คือ ข้อใด
1. เป็นวันที่พระพุทธศาสนาได้อุบัติขึ้นในโลก
2. เป็นวันแรกที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา "ธรรม จักรกัปปวัฒนสูตร" แก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕
3. เป็นวันแรกที่พระอริยสงฆ์สาวกองค์แรก บังเกิดขึ้นในโลก พระอัญญาโกณทัญญะ ได้รับเป็น
เอหิภิกขุอุปสัมปทา
4. ถูกทุกข้อ**
51. วันธรรมจักร หมายถึงข้อใด
1. วันอาสาฬหบูชา**
2. วันวิสาขบูชา
3. วันอาฬสาหบูชา
4. วันเข้าพรรษา
52. วันเข้าพรรษา ตรงกันวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๘ ซึ่งพระสงฆ์จะต้อง อยู่ประจํา ณ วัดใดวัดหนึ่งระหว่างฤดูฝน
กําหนดตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๘ จนถึงเมื่อใด
1. วันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒
2. วันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๑ **
3. วันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๑
4. วันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒
53. "วันปวารณา" หมายถึงวันใด
1. วันเข้าพรรษา
2. วันออกพรรษา**
3. วันอุปสมบท
4. วันลาอุปสมบท
54. ประเพณีทอดกฐิน กําหนดต้องทําในระยะเวลาใด
1. ระหว่างวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒
2. ระหว่างวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒
3. ระหว่างวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ **
4. ระหว่างวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒
55. ประเพณีทอดผ้าป่า กําหนดต้องทําในระยะเวลาใด
ก. ระหว่างวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒
ข. ระหว่างวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒
ค. ระหว่างวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒
ง. เวลาใดก็ได้**
56. ประชาชนตามข้อใดที่จะจัดตั้งศาลเพียงตาขึ้นทุกบ้าน
1. ไทยรามัญในจังหวัดปทุมธานี**
2. ไทยพวนในจังหวัดทุกจังหวัด
3. ชาวพม่าอพยพ
4. ทุกข้อที่กล่าวมา
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
57. "ฮีตสิบสองคองสิบสี่" เป็นประเพณีของภาคใด
1. เหนือ
2. กลาง
3. ใต้
4. ตะวันออกเฉียงเหนือ
58. งานบุญพระเวส จะทําในเดือนใด
1. เดือนสาม
2. เดือนสี่
3. เดือนห้า**
4. เดือนหก
59. ห้ามเดินเหยียบเงาพระสงฆ์ เกี่ยวเนื่องกับข้อใด
1. คองสิบสี่"
2. "ฮีตบ้านคองเมือง
3. ครรลองคลองธรรม
4. ถูกทุกข้อ**
60. งานสมโภชเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว มีในจังหวัดใด
1. นครศรีธรรมราช
2. ภูเก็ต
3. ปัตตานี**
4. ตรัง
61. สิ่งที่ดีงามที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา เรียกว่า
1. คุณธรรม
2. จริยธรรม
3. วัฒนธรรม**
4. ค่านิยม
62. ข้อใดคือวัฒนธรรมไทย
1. การเคารพพระสงฆ์**
2. สงกรานต์
3. ฮีตสิบสอง
4. การไหลเรื่อไฟ
63. การกราบครั้งที่สองของการกราบแบบเบญจางค์ประดิษฐ์ หมายถึงกราบใคร
1. กราบเพื่อระลึกถึงองค์พระพุทธเจ้า
2. กราบพระธรรมคําสั่งสอนพระพุทธเจ้า**
3. กราบพระสงฆ์ตัวแทนพระพุทธเจ้า
4. กราบพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
64. ข้อใดเป็นการกระทําที่ไม่ถูกต้อง
1. เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านให้ไหว้โดยให้ปลายนิ้วมือจรดตีนผม
2. ผู้ชายให้ถวายของให้พระต่อมือพระสงฆ์โดยตรงและคุกเข่ากราบไม่แบมือครั้งเดียว**
3. การตักบาตรควรถอดรองเท้าก่อน
4. ผู้หญิงไปหาพระต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย ไม่ควรอยู่ตามลําพังกับพระสงฆ์
65. เป็นครูควรมีมารยาททางใจ โดยนําหลักธรรมพรหมวิหาร ๔ มายึดและปฏิบัติ
1. เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา**
2. ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา
3. ทุกข์ สมุทัย นิโรจ มรรค
4. สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ
66. ข้อใดคือมารยาททางใจที่ถูกต้อง
1. ในงานมงคลควรแสดงสีหน้าเบิกบานสดชื่นอยู่เสมอ
2. การไปเยี่ยมคนป่วยควรใช้คําพูดที่อ่อนโยนปลอบใจผู้ป่วย
3. ในงานเผาศพควรแสดงกริยาสงบสงวนความรื่นเริงเอาไว้
4. ถูกทุกข้อ**
67. ข้อใดเป็นมารยาททางกายที่ไม่เหมาะสม
1. ถ้านั่งต่อหน้าผู้ใหญ่กับพื้นให้นั่งพับเพียบ หันหนําไปหาผู้ใหญ่ในลักษณะเงยหน้า
2. ไม่ถือวิสาสะใช้หรือรับประทานของที่เขาจัดไว้สําหรับผู้อื่นโดยเฉพาะ
3. ล้วง แคะ แกะเกา หาว เรอหากจําเป็น**
4. เห็นของผู้ใหญ่ตก หรืออาจจะเสียหายโดยที่เจ้าตัวไม่รู้ควรจะบอก
68. การับไหวในขณะที่ยืนและเราอยู่ในฐานะที่อาวุโสกว่า
1. พนมมือระดับอก**
2. พนมมือเหนือระดับอก นิ้วจรดคาง
3. พนมมือระดับอก ก้มศีรษะเล็กน้อย
4. พนมมือระดับอกและพยักหน้าเล็กน้อย
69. หากเราจะผ่านผู้คนมากๆและมีผู้ที่อาวุโสนั่งอยู่กับพื้นควรใช้วิธีการใด
1. เดินก้มหน้า
2. เดินย่อตัว**
3. หมอบ
4. คลาน
70. เมื่อใดควรยืนตรง
1. เมื่อเห็นคนเชิญธงชาติผ่านหน้า
2. เมื่อเห็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จมาถึงบริเวณพิธี
3. เมื่อได้ยินเสียงเพลงสรรเสริญพระบารมี
4. ถูกทุกข้อ**
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
71. ข้อใดคือมารยาทแบบสากลทางกายแสดงการทักทาย
1. การยิ้ม
2. การไหว้
3. การคํานับ
4. การจับมือ**
72. ข้อใดคือมารยาทในการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง
1. ให้ผู้อาวุโสรับประทานก่อนเราจึงรับประทาน
2. ไม่ท้าวศอกบนโต๊ะอาหาร และนั่งตัวตรง
3. แตะต้องหรือหยิบอาหารให้ผู้อาวุโสกว่าตามสมควร**
4. ควรถือช้อนด้วยมือขวาและส้อมด้วยมือซ้าย
73. มารยาทในการใช้วาจาที่ถูกต้องได้แก่ข้อใด
1. ต้องระวังมิใช้วาจาเท็จ ยุยงส่อเสียดให้ผู้อื่นแตกร้าว
2. ไม่พูดเสียงดังเกินไปหรือพูดพลางหัวเราะพลาง
3. รู้จักพูดให้ผู้ฟังพอใจและเป็นนักฟังที่สนใจ
4. ถูกทุกข้อ**
74. “ฮีตสิบสอง” จัดไว้ในข้อใด
1. วัฒนธรรมไทย
2. ประเพณี**
3. ความเชื่อ
4. ค่านิยม
75. เทศกาลไหมและประเพณีผูกเสี่ยวเป็นประเพณีท้องถิ่นของจังหวัดใด
1. กาฬสินธุ์
2. มหาสารคาม
3. ขอนแก่น**
4. อุดรธานี
76. ประเพณีไหลเรื่อไฟของจังหวัดนครพนม เป็นประเพณีที่เกิดจากความเชื่อของประเทศใด
1. จีน
2. อินเดีย**
3. เนปาล
4. อียีป
77. ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้งของจังหวัดบุรีรัมย์จัดในเดือนใด
1. ธันวาคม
2. มกราคม
3. เมษายน**
4. กรกฎาคม
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
78. ประเพณีบวชลูกแก้วนิยมจัดในภาคใด
1. ภาคเหนือ**
2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3. ภาคกลาง
4. ภาคใต้
79. ประเพณีท้องถิ่นที่นิยมจัดทุกภาคของไทย
1. บวชนาค
2. สงกรานต์
3. ลอยกระทง**
4. ถูกทุกข้อ
80. หากจะรักษาประเพณีไทยโดยการทําบุญ ควรปฏิบัติตามข้อใด
1. การให้ทาน
2. การรักษาศีล
3. ภาวนา
4. ถูกทุกข้อ**
81. ข้อใดต่อไปนี้ไม่เกี่ยวข้องกับประเพณีแต่งงาน
1. ขึ้นหอ**
2. สู่ขวัญ
3. ขันหมาก
4. หมั้น
82. ” ไม้เท้ายอดทองกระบองยอดเพชร” สัมพันธ์กับประเพณีใด
1. แต่งงาน**
2. บวช
3. ลอยกระทง
4. สงกรานต์
83. ประเพณีบายศรีสู่ขวัญมักพบอยู่ทุกจังหวัดทั้งภาคเหนือและอีสาน คําว่า “บายศรี”หมายถึงสิ่งใด
1. ดอกไม้
2. พาน
3. ข้าว**
4. ด้ายขาว
84. ความเชื่อตามประเพณีบุญป้องไฟสัมพันธ์กับอาชีพใด
1. ค้าขาย
2. ทํานา**
3. อุตสาหกรรม
4. ทุกอาชีพที่กล่าว
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
85. ประเพณีผีตาโขนเป็นของจังหวัดใด
1. ลําปาง
2. พะเยา
3. อุบลราชธานี
4. เลย**
86. “วันเนา” ของประเพณีสงกรานต์ตรงกับวันใด
1. ๑๒ เมษายน
2. ๑๓ เมษายน
3. ๑๔ เมษายน**
4. ๑๕ เมษายน
87. เหล้า ต้นกล้วย ต้นอ้อย จัดอยู่ในส่วนใดของประเพณีแต่งงาน
1. ค่าดอง
2. สู่ขวัญ
3. ขันหมากเอก
4. ขันหมากโท**
88. ประเพณีชักพระหรือลากพระมักนิยมจัดในภูมิภาคใด
1. ภาคเหนือ
2. ตะวันออกเฉียงเหนือ
3. ภาคกลาง
4. ภาคใต้**
89. ประเพณีอุ้มน้ําดําพระเป็นของจังหวัดใด
1. ตาก
2. เพชรบูรณ์**
3. ปัตตานี
4. นครศรีธรรมราช
90. ประเพณีท้องถิ่นต่อไปนี้ข้อใดต่างจากกลุ่ม
1. สู่ข้าวขวัญ
2. ก่อพระเจดีย์ทราย
3. ทอดกฐิน
4. บุญเบิกฟ้า**
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
แนวข้อสอบ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ชุดที่ ๑
1. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เป็นไปตามบทบัญญัติใน รธน. ๒๕๔๐ มาตราใด
1. ๒๙
2. ๔๐
3. ๕๐
4. ๘๑*
2.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ
จํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญัติให้กระทําได้โดย
อาศัยอํานาจตามมาตราใด
1. ก มาตรา ๒๙ มาตรา ๔๐
2. มาตรา ๒๙ มาตรา ๕๐*
3. มาตรา ๓๙ มาตรา ๕๐
4. มาตรา ๓๙ มาตรา ๔
3. พรบ.การศึกษาแห่งชาติถือว่าเป็น
1. กฎหมายแม่บทการจัดการศึกษา*
2. แนวทางจัดการศึกษาของรัฐ
3. การปรับปรุงการศึกษาสอดคล้องรัฐธรรมนูญ
4. การปฏิรูปการศึกษาครั้งใหญ่ของไทย
4. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ฉบับแรก มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เมื่อใด
ก. ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๒
ข. ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒*
ค. ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๕
ง. ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๕
5. วัตถุประสงค์ของการจัดทํา พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒
ก. ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม*
ข. ปฏิรูปการศึกษาของไทย
ค. พัฒนาคนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายจิตใจ
ง. พัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
6. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมแห่งชาติ
ข. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
ค. แผนการศึกษาแห่งชาติ*
ง. แผนพัฒนาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของกระทรวงศึกษาธิการ
7. “การศึกษา” หมายความว่า
ก. กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล
ข. กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม*
ค. กระบวนการสอนเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
ง. กระบวนการสอนเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม
8. ต่อไปนี้ ข้อใดไม่สอดคล้องกับความหมายการศึกษา ตาม พรบ.
ก. การถ่ายทอดความรู้
ข. การฝึกอบรม
ค. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์*
ง. การสืบสานทางวัฒนธรรม
9. ข้อใดให้ความหมายไม่ตรงกับ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน คือการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
2. สถานศึกษาคือสถานที่จัดการสอนตั้งแต่ก่อนประถมถึงระดับก่อนอุดมศึกษา*
3. มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่พึงประสงค์ และมาตรฐานที่ต้องการให้
เกิดในสถานศึกษาทุกแห่ง
4. กระทรวง หมายความว่ากระทรวงการศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม
10. ข้อใดต่างจากพวก
ก. ครู
ข. คณาจารย์*
ค. ผู้บริหารสถานศึกษา
ง. ผู้บริหารการศึกษา
11. ข้อใดไม่ใช่หลักการ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒
ก. เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อปวงชน*
ข. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน
ค. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ง. พัฒนา สาระ และกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
12. ข้อใดไม่สอดคล้องการจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการการจัดการศึกษา
ก. กระจายอํานาจสู่สถานศึกษาทั้งหมด*
ข. กําหนดมาตรฐานการศึกษา จัดระบบประกันคุณภาพ
ค. มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ง. รวมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาไว้ในการจัดการศึกษา
13. คําว่า “เอกภาพด้านนโยบาย หลากหลายการปฏิบัติ” สอดคล้องกับข้อใด
ก. ส่วนกลางกําหนดนโยบาย ส่วนภูมิภาคกําหนดแนวทางปฏิบัติ
ข. กระทรวงกําหนดนโยบายมาตรฐานสนับสนุนเขตพื้นที่และสถานศึกษาบริหารจัดการด้วยตนเอง
ค. มีนโยบายเดียวกัน แต่การปฏิบัติหลากหลายวิธี
ง. ถูกทุกข้อ*
14. ต่อไปนี้นี้ ข้อใดไม่มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. รัฐ
ข. เอกชน
ค. องค์กรปกครองท้องถิ่น
ง. โรงเรียน*
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
15. ข้อใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ บิดามารดา ผู้ปกครอง พึงได้รับในการจัดการศึกษา
ก. การสนับสนุนจากรัฐ ให้ความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู
ข. การยกเงินภาษีสําหรับค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา*
ค. เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของคนในการดูแล
ง. การให้การศึกษาแก่บุตรหรือบุคคลในการดูแล
16. จุดที่ต่างกันของการศึกษาระบบต่างๆ ที่สําคัญคือข้อใด
ก. ระยะเวลาที่จัดการศึกษา
ข. สถานที่จัดการศึกษา
ค. ตัวผู้เข้ารับการศึกษา
ง. จุดหมาย วิธีการ หลักสูตร*
17. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการศึกษาตามอัธยาศัย
ก. สถานศึกษา ต้องจัดการศึกษา ทั้งในระบบนอกระบบ และตามอัธยาศัย*
ข. ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพร้อม โอกาส
ค. จัดการเรียนรู้ทุกที่ ทุกเวลา
ง. ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเป็นแหล่งเรียนรู้
18. ต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่ สถานศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. โรงเรียน
ข. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ค. ศูนย์พัฒนาชุมชน*
ง. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ สถาบันศาสนา
19. ข้อใดไม่ถูกต้องในด้านการกระจายอํานาจให้เขตพื้นที่และสถานศึกษา
ก. ด้านวิชาการ
ข. งบประมาณ
ค. หลักสูตรการสอน*
ง. การบริหารทั่วไป
20. ต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่กรรมการโรงเรียน
1. ผู้แทนครู
2. ผู้แทนองค์กรเอกชน*
3. ผู้แทนศิษย์เก่า
4. ผู้แทนคุณวุฒิ
21. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิ์จัดการศึกษาระดับใด
1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. การศึกษาอุดมศึกษา
3. การศึกษานอกโรงเรียน
4. ทุกระดับ*
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
22. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบประกันคุณภาพภายในได้แก่
1. สถานศึกษาเท่านั้น
2. สถานศึกษาและเขตพื้นที่
3. สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4. สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง ศึกษาธิการ*
23. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกครั้งแรกใน ๕ ปี*
2. สํานักงานรับรองมาตรฐานมีฐานะเป็นองค์กรมหาชน
3. การประเมินผลคํานึงถึงความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา
4. เสนอผลประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
24. หลักการจัดการศึกษาข้อใด ไม่สอดคล้องตามพรบ.
1. ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
2. ครูต้องมีจิตสํานึกที่จะพัฒนาเด็กอย่างเต็มความสามารถ*
3. ผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด
4. ต้องส่งเสริมผู้เรียนพัฒนาตามศักยภาพ
25. ข้อใดสําคัญที่สุดเกี่ยวกับหลักสูตร
1. พัฒนาคุณภาพชีวิตบุคคลให้เหมาะสมกับวัยตามศักยภาพ*
2. สอดคล้องความต้องการชุมชน
3. คํานึงถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น
4. เหมาะสมกับความจริงก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
26. พ.ร.บ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นกฎหมายที่ตราขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
๒๕๔๐ มาตราใด
1. มาตรา ๔๓
2. มาตรา ๘๑*
3. มาตรา ๒๘๙
4. มาตรา ๓๓๖
27. ต่อไปนี้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายความว่าการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
2. ผู้สอน หมายความว่าครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่างๆ
3. กระทรวง หมายความว่ากระทรวงการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมแห่งชาติ*
4. ครู หมายความว่าบุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
28. ข้อใดไม่หลักการจัดการศึกษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
1. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน
2. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
3. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
4. การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์สังคม*
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
29. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ไม่ได้กําหนดให้หน่วยงานใดมีสิทธิจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. หน่วยงานหรือสถานศึกษาของรัฐและเอกชน
2. มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน*
3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4. องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา และสถานประกอบการ
30. การจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักอะไรบ้าง
1. มีเอกภาพด้านนโยบายและหลากหลายในการปฏิบัติ
2. มีการกระจายอํานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา
3. ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
4. ถูกทั้ง ก ข และ ค*
31. “สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า
1. สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน*
2. สถานศึกษาที่จัดการศึกษาตั้งแต่ ป.๑-ม.๖
3. สถานศึกษาที่จัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาล-ม.๖
4. ถูกทุกข้อ
32. “มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า
1. ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการ ให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุก
แห่ง
2. เป็นหลักในการเทียบเคียงสําหรับการส่งเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการ
ประกันคุณภาพทางการศึกษา
3. ถูกทั้ง ก และ ข*
4. ไม่มีข้อถูก
33. “การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า
1. การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก
2. โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่สํานักงาน
ดังกล่าวรับรอง
3. เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
4. ถูกทุกข้อรวมกัน*
34. ข้อใดไม่สอดคล้องกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามความมุ่งหมายของ พรบ.
1. ปลูกฝังจิตสํานึกการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยมีพระมหา กษัตริย์เป็นประมุข
2. รักษา และส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เคารพกฎหมาย
3. รู้จักรักษาผลประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศชาติ
4. กระจายการพัฒนาไปสู่ชนบทโดยการมีส่วนร่วมของภูมิปัญญาท้องถิ่น*
35. การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยอย่างไร
1. สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม
2. มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต
3. สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน
4. ถูกทุกข้อ*
36. ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสํานึกที่ถูกต้อง ข้อใดไม่ใช่
1. การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย กล้าแสดงออก มีสิทธิ เสรีภาพ ทางการเมือง *
2. รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็น
มนุษย์
3.มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทยรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริม
ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล
4. ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มี
ความริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
37. การจัดการศึกษาให้ยึดหลักในข้อใด
1. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน
2. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
3. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
4. ถูกทุกข้อ *
38. ข้อใดไม่ถูกต้องในการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
1. มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
2. มีการกระจายอํานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3. มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน *
4. การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน
องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
39. การจัดการศึกษา ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี
2. ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
3. การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ต้องจัดด้วยรูป แบบที่เหมาะสมโดยคํานึงถึง
ความสามารถของบุคคลนั้น
4.ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและ
สถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กําหนดในพระราชบัญญัติ *
40.การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสาร
และการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแลหรือ
ด้อยโอกาส ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
2. ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
3. ให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอํานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กําหนดในกฎกระทรวง
4. ถูกทุกข้อ *
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืน
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืนสังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืน
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืนTaraya Srivilas
 

Was ist angesagt? (20)

3.แบบทดสอบ เรื่อง อาเซียน
3.แบบทดสอบ  เรื่อง  อาเซียน3.แบบทดสอบ  เรื่อง  อาเซียน
3.แบบทดสอบ เรื่อง อาเซียน
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืน
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืนสังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืน
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืน
 

Andere mochten auch

ข้อสอบก่อนเรียน หลังเรียน
ข้อสอบก่อนเรียน หลังเรียนข้อสอบก่อนเรียน หลังเรียน
ข้อสอบก่อนเรียน หลังเรียนOrapan Chamnan
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจKunlaya Kamwut
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3Teacher Sophonnawit
 
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8Krudoremon
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........ประพันธ์ เวารัมย์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 

Andere mochten auch (9)

ข้อสอบก่อนเรียน หลังเรียน
ข้อสอบก่อนเรียน หลังเรียนข้อสอบก่อนเรียน หลังเรียน
ข้อสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน  หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน  หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
เฉลยข้อสอบ หน้าที่พลเมือง ม 3
 
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
ข้อสอบ พลเมือง
ข้อสอบ พลเมืองข้อสอบ พลเมือง
ข้อสอบ พลเมือง
 

Ähnlich wie รวมข้อสอบ 183 หน้า

ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนnook555
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunitysiripon25
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติthnaporn999
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนkhanittawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนการจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนคน ขี้เล่า
 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]กุลเศรษฐ บานเย็น
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Kruthai Kidsdee
 
บทที่ 2 แก้ใหม่
บทที่ 2 แก้ใหม่บทที่ 2 แก้ใหม่
บทที่ 2 แก้ใหม่naret khamwut
 

Ähnlich wie รวมข้อสอบ 183 หน้า (20)

กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
58210401121
5821040112158210401121
58210401121
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 
Social onet
Social onetSocial onet
Social onet
 
Social onet
Social onetSocial onet
Social onet
 
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
 
การก่อตั้ง
การก่อตั้งการก่อตั้ง
การก่อตั้ง
 
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียนการจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
การจัดการศึกษาสู่ประชาชมอาเซียน
 
25570612 113536 5504
25570612 113536 550425570612 113536 5504
25570612 113536 5504
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
บทที่ 2 แก้ใหม่
บทที่ 2 แก้ใหม่บทที่ 2 แก้ใหม่
บทที่ 2 แก้ใหม่
 
58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s
 

รวมข้อสอบ 183 หน้า

  • 1. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน แนวข้อสอบ ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 1. ประเทศใดมีลักษณะการปกครองเหมือนประเทศไทย 1. ลาว 2. กัมพูชา** 3. มาเลเซีย 4. อินโดนิเชีย 2. ข้อใดคือหัวใจสําคัญของการจัดตั้งประชาคมอาเซียน 1. เพื่อนร่วมกันจัดทําปฏิญญากรุงเทพ 2. เพื่อส่งเสริมการค้าและการแลกเปลี่ยน 3. เพื่อแก้ปัญหาสงครามระหว่างอาเซียน 4. เพื่อให้เกิดความมั่นคงของประเทศสมาชิกอาเซียน** 3. ข้อใดแสดงถึงการเห็นความสําคัญของสิทธิมนุษย์ชน 1. การคุ้มครองด้านสิทธิเด็ก** 2. การมีกฎหมายระหว่างประเทศ 3. การแต่งกายตามข้อบังคับของศาสนา 4. การปกครองตามระบบสังคมนิยม 4. ประเทศในกลุ่มอาเซียนประเทศใด มีหมู่เกาะใหญ่ที่สุดในโลก 1. ฟิลิปปินส์ 2. มาเลเซีย 3. สิงคโปร์ 4. อินโดนิเชีย** 5. ประเทศมาเลเซียเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศใด 1. ฝรั่งเศส 2. โปรตุเกส 3. สหรัฐอเมริกา 4. สหราชอาณาจักร** 6. อธิบดีกรมอาเซียนปัจจุบันคือใคร 1. 2. 3. 4. 7. ข้อใดแสดงถึงความมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การท่องเที่ยวโดยใช้เครื่องนาทาง (GPS) 2. การใช้ภาษาในการสื่อสารอย่างน้อยสามภาษา 3. การใช้คอมพิวเตอร์ในการแข่งขันระดับนานาชาติ 4. การสร้างสรรค์และแลกเปลี่ยนผลงานระดับอาเซียน**
  • 2. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 8. การให้ความช่วยเหลือแก่ชาวต่างชาติที่อพยพเข้ามาในไทย เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. ไม่เหมาะสม เพราะเป็นภาระการเลี้ยงดู 2. เหมาะสม เพราะเป็นการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์** 3. เหมาะสม เพราะช่วยลดความตึงเครียดบริเวณชายแดน 4. ไม่เหมาะสม เพราะเป็นการสร้างความตึงเครียดกับประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น 9. ประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียนได้แก่ข้อใด ? 1. มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์** 2. มาเลเซีย พม่า ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ 3. มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม 4. อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ติมอร์ พม่า ไทย 10. รัฐมนตรีต่างประเทศของไทยในตอนลงนามปฏิญญาอาเซียนคือใคร ? 1. จอมพลถนอม กิตติขจร 2. นายปองพล อดิเรกสาร 3. พันเอก (พิเศษ)ดร.ถนัด คอมันตร์** 4. พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ 11. การลงนามปฏิญญาอาเซียนลงนามเมื่อใด ? 1. เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๐** 2. เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๐๘ 3. เมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๒ 4. เมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๐ 12. การลงนามปฏิญญาอาเซียนลงนามที่ใด ? 1. พระราชวังจันทรเกษม 2. พระบรมมหาราชวัง 3. พระราชวังสราญรมย์** 4. พระราชวังดุสิต 13. สมาชิกอีก ๕ ประเทศได้แก่ข้อใด ? 1. เวียดนาม จีน พม่า ลาว ติมอร์ 2. เวียดนาม พม่า ลาว บรูไน กัมพูชา** 3. เวียดนาม พม่า ลาว อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ 4. พม่า ลาว อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ ไทย 14. สีบนพื้นธงอาเซียนมีกี่สี ? 1. ๓ สี 2. ๔ สี** 3. ๕ สี 4. ๖ สี
  • 3. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 15. สัญลักษณ์ของอาเซียนคือข้อใด ? 1. รวงข้าว ๑๐ ต้น** 2. มัดหญ้า ๑๐ ต้น 3. ฝ้าย ๑๐ ต้น 4. มัดผักตบชวา ๑๐ ต้น 16. AFTA คืออะไร? 1. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ 2. ความร่วมมือทางด้านอุตสาหกรรม 3. เขตการค้าเสรี** 4. เขตการลงทุนอาเซียน 17. AFTA ย่อมาจากอะไร? 1. ASEAN FREE TRADE AREA. 2. ASEAN FREE TRIDE AREA. ** 3. ASEAN VISION ๒๐๒๐ 4. ASEAN TROIKA. 18. ใครเป็นผู้เสนอให้ก่อตั้ง AFTA ? 1. ปรีดี พนมยงค์ (หลวงประดิษฐ์มนูธรรม) 2. หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 3. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ 4. นายอานันท์ ปันยารชุน** 19. ข้อใดหมายถึง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ? 1. ASEAN COMMINITY. 2. ASEAN POLITICAL SECURITY COMMINITY. 3. ASEAN ECONOMIC COMMUNITY** 4. ASEAN SOCIO-CULTURAL COMMINITY. 20. สํานักเลขาธิการอาเซียนอยู่ที่ใด ? 1. กรุงจาการ์ต้า ประเทศอินโดนีเซีย** 2. บันดาร์เสรีเบกาวาน ประเทศบรูไน 3. เวียงจันทน์ ประเทศลาว 4. พนมเปญ ประเทศกัมพูชา 21. เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบันคือใคร ? 1. 2. 3. 4
  • 4. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 22. การประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียนครั้งที่ ๑๓ ประชุมที่ประเทศใด ? 1. ประเทศอินโดนีเซีย 2. ประเทศลาว 3. ประเทศกัมพูชา 4. ประเทศสิงคโปร์** 23. ชื่อย่อของ เขตการลงทุนอาเซียน คือข้อใด ? 1. AIA** 2. IAI 3. AEC 4. ARF 24. หัวข้อหลักของการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๑๔ คือข้อใด ? 1. กฎบัตรอาเซียน** 2. การพยายามผลักดันให้อาเซียนเดินหน้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ๒๐๑๕ 3. การพยายามให้ประชาคมอาเซียนมีบทบาทในประชาคมโลก 4. พิธีลงนามความตกลงอาเซียนว่าด้วยการจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนในการให้ความช่วยเหลือด้าน มนุษยธรรม 25. การนําร่อง ๑๒ สาขาสําคัญ ประเทศพม่ามีทักษะอะไร? 1. การท่องเที่ยว การบิน 2. เกษตร ประมง** 3. ไม้ ยาง 4. สาขาสุขภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ 26. การนําร่อง ๑๒ สาขาสําคัญ ประเทศไทยมีทักษะอะไร? 1. การท่องเที่ยว การบิน** 2. อิเล็กทรอนิกส์ ประมง 3. เกษตร ประมง 4. ไม้ ยาง 27. การนําร่อง ๑๒ สาขาสําคัญ ประเทศฟิลิปปินส์มีทักษะอะไร? 1. อิเล็คทรอนิคส์** 2. ยานยนต์ 3. สิ่งทอ 4. สาขาสุขภาพ 28. ข้อใดมิใช่ ประเทศคู่เจรจาของอาเซียน? 1. อินเดีย จีน 2. เเคนาดา สหภาพยุโรป 3. ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ 4. ศรีลังกา ไอซ์เเลนด์**
  • 5. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 29. คําว่า“ASEAN” เป็นคาย่อมาจาก 1. “Association of Southeast Asian ” 2. “Association of Southeast Asiannations” 3. “Association of Southeast Asian Nations”** 4. “Association of Southeast Asian Nations” 30. คําว่า“ASEAN”แปลเป็นภาษาไทยอย่างเป็นทางการโดยกระทรวงการต่างประเทศของไทยว่า 1. “ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” 2. “สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”** 3. “ประชาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” 4. “ประชาคมแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” 31. ประเทศใดเข้าเป็นสมาชิก อาเซียน (ASEAN) ก่อนประเทศอื่น 1. ลาว 2. พม่า 3. บรูไน** 4. เวียดนาม 32. ประเทศที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกหลังสุดคือข้อใด 1. ลาว 2. พม่า** 3. บรูไน 4. เวียดนาม 33. เรียล เป็นสกุลเงินของประเทศใด 1. ลาว 2. พม่า 3. กัมพูชา** 4. เวียดนาม 34. ประเทศบรูไน มีชื่อเป็นทางการว่าอย่างไร 1. บรูไนไดรุสซาลาม 2. บรูไนดารุสซาลาม** 3. บรูไนเดรุสโซลาม 4. บรูไนดารุสโซลาม 35. ประเทศที่ถูกจับตามองว่าจะเป็นคู่แข่งทางเศรษฐกิจที่สําคัญของไทย คือประเทศใด 1. บรูไน 2. สิงคโปร์ 3. เวียตนาม** 4. พม่า
  • 6. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 36. กลุ่มประเทศที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดคือข้อใด 1. NAM** 2. OIC 3. AIC 4. NIC 37. เมืองหลวงประเทศพม่าคือข้อใด 1. ร่างกุ้ง 2. ย่างกุ้ง 3. เนปิดอว์** 4. หงสาวดี 38. วัตถุประสง๕หลักของกฎบัตรอาเซียนคือข้อใด 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการดําเนินการตามเป้าหมายต่างๆโดยเฉพาะความพยายามที่จะรวมตัว กันเป็น“ประชาคม” ภายใน พ.ศ. ๒๕๕๘ 2. เพื่อสร้างกลไกส่งเสริมให้รัฐสมาชิกปฏิบัติตามความตกลงต่างๆ ของอาเซียน 3. เพื่อทาให้อาเซียน เป็นองค์กรที่ใกล้ชิดและสร้างประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริงมากขึ้น โดยการบังคับ ใช้กฎบัตรดังกล่าวจะทําให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีกติกาการดําเนินงานอย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น 4. ถูกทุกข้อ** 39. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง 1. ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๑๓เมื่อปี ๒๕๕๐ที่ประเทศสิงคโปร์ ผู้นาอาเซียนได้ลงนามในกฎบัตร อาเซียน 2. กฎบัตรอาเซียน จะให้สถานะนิติบุคคลแก่อาเซียนเป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental Organization) 3. กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วยข้อบทต่างๆ ๑๓บท ๕๕ข้อ มีประเด็นใหม่ที่แสดงความก้าวหน้าของอาเซียน 4. ถูกทุกข้อ** 40. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง 1. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ซึ่งเป็นองค์กรสูงสุดในการกําหนดนโยบาย จัดการประชุม ปีละ ๑ ครั้ง** 2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ซึ่งมีรัฐมนตรีต่างประเทศของแต่ละประเทศเป็นสมาชิกมีหน้าที่ประสาน งานระหว่างเสาหลักทั้ง ๓ของการจัดตั้งประชาคมอาเซียน 3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียนมีหน้าที่ประสานงานและติดตามการดําเนินงาน เพื่อจัดตั้งประชาคมอาเซียน ในแต่ละเสาหลัก 4. คณะผู้แทนถาวรประจาอาเซียน ซึ่งมีหน้าที่สนับสนุนการทางานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียน
  • 7. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 41. กระบวนการตัดสินใจ หลักทั่วไป คือข้อใด 1. ฉันทามติ ** 2. มติเอกฉันท์ 3. มติเกินกึ่งหนึ่ง 4. มติสองในสาม 42. ในการระงับข้อพิพาท ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1. การปรึกษาหารือและเจรจาระหว่างคู่พิพาทเป็นอันดับแรก 2. การให้ประธานอาเซียนหรือเลขาธิการอาเซียนเป็นผู้ไกล่เกลี่ย หากคู่พิพาทร้องขอ 3. การให้ที่ประชุมสุดยอดเป็นผู้หาข้อยุติกรณีพิพาท 4. ถูกทุกข้อ** 43. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เกี่ยวกับเรื่องบุคคลที่ถูกจับกุมหรือ ควบคุมตัว พึงได้รับการปฏิบัติอย่างไร 1. บุคคลผู้ถูกจับกุมย่อมได้รับการแจ้งถึงเหตุผลในการจับกุมในขณะที่ถูกจับกุม 2. บุคคลที่ถูกจับกุมหรือควบคุมตัวในข้อหาทางอาญา ย่อมต้องถูกนําตัวไปศาลโดยพลันเพื่อที่จะมีการใช้ อํานาจทางตุลาการ และได้รับการพิจารณาคดีในเวลาอันสมควร 3. บุคคลที่ถูกจับกุมหรือควบคุมตัวโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้ชดเชยค่าสินไหมทด แทน 4. ถูกทุกข้อ** 44. ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย ๓ เสาหลัก (Pillar) ข้อใดไม่ใช่ 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3. ประชาคมการค้าอาเซียน** 4. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 45. ASEAN Political-Security Communityหมายถึงข้อใด 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน** 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3. ประชาคมการค้าอาเซียน 4. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 46. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเขตการค้าเสรี 1. ประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ใน พ.ศ. ๒๕๓๕ 2. พ.ศ. ๒๕๕๑ประเทศสมาชิกอาเซียน ๖ประเทศที่เข้าเป็นสมาชิกก่อน ได้แก่ ประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และบรูไนดารุสซาลาม ได้ลดภาษีสินค้าในกรอบ AFTA ทุกรายการลงเหลือ ร้อยละ ๐-๕ 3. ประเทศที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนทีหลัง ได้แก่ เวียดนาม ลาว พม่า และกัมพูชา มีกําหนดต้องลดภาษีสินค้า ลงเหลือร้อยละ ๐-๕ใน พ.ศ. ๒๕๕๘ 4. ทุกข้อกล่าวถูกต้องหมด**
  • 8. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 47. ในการดําเนินการของเขตการค้าเสรีอาเซียนนําไปสู่การอํานวยความสะดวกต่อการค้าภายในภูมิภาค อาเซียน โดยการปรับกระบวนการด้านตรวจคนเข้าเมือง ภาษี และลดอุปสรรคอันเกิดจากมาตรการกีดกันทาง การค้า ในข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง 1. ปรับ Tariff Nomenclature ให้สอดคล้องกัน 2. ให้ประเทศสมาชิกปฏิบัติตาม GATT Valuation Agreement 3. อํานวยความสะดวกพิธีการตรวจคนเข้าเมืองด้วย Green Lane 4. ปรับค่าธรรมเนียมการตรวจคนเข้าเมืองให้เท่ากัน** 48. เพื่อรองรับการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อาเซียได้จัดทําแผ่นงาน การจัดตั้งประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint) ซึ่งประกอบด้วยความ ร่วมมือใน ๕ ด้าน ข้อใดไม่ถูกต้อ 1. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคมทรัพยากรมนุษย์ (Human Social Welfare and Protection)** 2. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) 3. ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) 4. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Narrowing the Development Gap)
  • 9. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน แนวข้อสอบวัฒนธรรมและประเพณี 1. สิ่งที่เป็นเครื่องมือในการควบคุมพฤติกรรมของกลุ่มคนนี้เราเรียกว่า ก. วัฒนธรรม ข. ประเพณี ค. ศีล** ง. ธรรม 2. พระราชบัญญัติ วัฒนธรรมแห่งชาติพุทธศักราช ๒๔๘๕ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๖ ได้ให้ ความหมายของวัฒนธรรมไว้ในข้อใด 1. "วัฒนธรรมมีความหมายครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่าง ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง หรือสังคมใดสังคมหนึ่ง มนุษย์ได้คิดสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ใช้ในการปฏิบัติ การจัดระเบียบตลอดจนระบบ ความเชื่อ ค่านิยม ความรู้ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการควบคุมและใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ" 2. "วัฒนธรรมคือความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ หรือลักษณะประจําชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่อยู่ในสังคม ซึ่งไม่ เพียงแต่จะหมายถึงความสําเร็จในด้านศิลปกรรมหรือมารยาททางสังคมเท่านั้น กล่าวคือ ชนทุกกลุ่มต้องมี วัฒนธรรม ดังนั้น เมื่อมีความแตกต่างระหว่างชนแต่ละกลุ่ม ก็ย่อมมีความแตกต่างทางวัฒนธรรมนั่นเอง เช่น ชาวนาจีน กับชาวนาในสหรัฐอเมริกา ย่อมมีความแตกต่างกัน 3. "วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงหรือผลิตสร้างขึ้น เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีชีวิตและ ส่วนรวม วัฒนธรรมคือวิถีแห่งชีวิตของมนุษย์ในส่วนร่วมที่ถ่ายทอดกันได้ เรียนกันได้ เอาอย่างกันได้ วัฒนธรรมจึงเป็นผลผลิตของส่วนร่วมที่มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนสมัยก่อน สืบต่อกันมาเป็นประเพณี วัฒนธรรมจึงเป็นทั้งความคิดเห็นหรือการกระทําของมนุษย์ในส่วนร่วมที่เป็นลักษณะเดียวกัน และสําแดงให้ ปรากฏเป็นภาษา ความเชื่อ ระเบียบประเพณี 4. วัฒนธรรม คือ ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้า ของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน** 3. วัฒนธรรมมีความสําคัญอย่างไร 1. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ชี้แสดงให้เห็นความแตกต่างของบุคคล กลุ่มคน หรือชุมชน 2. เป็นสิ่งที่ทําให้เห็นว่าตนมีความแตกต่างจากสัตว์ 3. ช่วยให้เราเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ที่เรามองเห็น การแปลความหมายของสิ่งที่เรามองเห็นนั้นขึ้นอยู่กับวัฒนธรรม ของกลุ่มชน ซึ่งเกิดจากการเรียนรู้และถ่ายทอดวัฒนธรรม เช่น ชาวเกาะซามัวมองเห็นดวงจันทร์ว่ามีหญิง กําลังทอผ้า ชาวออสเตรเลียเห็นเป็นตาแมวใหญ่กําลังมองหาเหยื่อ ชาวไทยมองเห็นเหมือนรูปกระต่าย 4. ถูกทุกข้อ** 4. ข้อใดได้อธิบายถึงลักษณะของวัฒนธรรม ได้ถูกต้อง 1. วัฒนธรรมเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ ตรงที่มีการรู้จักคิด มีการเรียนรู้ จัด ระเบียบชีวิตให้เจริญ อยู่ดีกินดี มีความสุขสะดวกสบาย รู้จักแก้ไขปัญหา ซึ่งแตกต่างไปจากสัตว์ที่เกิดการ เรียนรู้โดยอาศัยความจําเท่านั้น 2. วัฒนธรรมเป็นมรดกของสังคม เนื่องจากมีการถ่ายทอดการเรียนรู้ จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนรุ่นหนึ่ง ทั้งโดย ทางตรงและโดยทางอ้อม โดยไม่ขาดช่วงระยะเวลา และ มนุษย์ใช้ภาษาในการถ่ายทอดวัฒนธรรม ภาษาจึง เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ถ่ายทอดวัฒนธรรมนั่นเอง 3. วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิต หรือเป็นแบแผนของการดําเนินชีวิตของ มนุษย์ มนุษย์เกิดในสังคมใดก็จะเรียนรู้และ ซึมซับในวัฒนธรรมของสังคมที่ตนเองอาศัยอยู่ ดังนั้น วัฒนธรรมในแต่ละสังคมจึงแตกต่างกัน
  • 10. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 4. ถูกทุกข้อ** 5. วัฒนธรรมเป็นตัวกําหนดรูปแบบของสถาบัน หมายถึงข้อใด 1. วัฒนธรรมอิสลามอนุญาตให้ชาย (ที่มีความสามารถเลี้ยงดูและ ให้ความ ยุติธรรมแก่ภรรยา) มีภรรยาได้ มากกว่า ๑ คน ** 2. วัฒนธรรมในการพบปะทักทายของ ไทย ใช้ในการสวัสดีของชาวตะวันตกทั่วไปใช้ในการสัมผัสมือ ของชาว ทิเบตใช้การแลบลิ้น ของชาว มุสลิมใช้การกล่าวสลาม 3. ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ให้แก่สังคม เพราะในวัฒนธรรมจะมีทั้งความศรัทธา ความเชื่อ ค่านิยม บรรทัดฐาน เป็นต้น ตลอดจน ผลตอบแทนในการปฏิบัติและบทลงโทษเมื่อฝ่าฝืน 4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 6. วัฒนธรรมไทยมีที่มาจากปัจจัยต่าง ๆ ในข้อใด 1. สิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ 2. ระบบการเกษตรกรรม 3. ค่านิยม (Values) 4. ถูกทุกข้อ** 7. ศาสนาพราหมณ์ ได้เผยแพร่เข้ามาในสังคมไทย โดยผ่านประเทศใด 1. ทางเขมร 2. อินโดนีเซีย 3. มลายู 4. ถูกทุกข้อ** 8. ประเพณีสงกรานต์ เกี่ยวข้องกับข้อใด 1. พุทธศาสนา 2. ศาสนาพราหมณ์** 3. ขอม 4. ไม่มีข้อถูก 9. ข้อใดไม่ใช่เส้นทางการเผยแพร่เของศาสนาพุธเข้ามาในสังคมไทย 1. จีน 2. พม่า 3. ขอม** 4. ลังกา 10. ข้อใดคือวัฒนธรรมตะวันตก 1. การสัมผัสมือ (shake hand) 2. ฟุตบอล 3. ผูกเน็คไท 4. ถูกทุกข้อ**
  • 11. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 11. โลกุตรธรรมเป็นธรรมชั้นสูงที่พระพุทธเจ้า ทรงสอนปัญจวัคคีย์เป็นครั้งแรก คือ "อริยสัจสี่" หรือความจริง อันประเสริฐ ๔ ประการ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค 1. โลกุตรธรรม** 2. อริยธรรม 3. โลกธรรม 4. ธรรมโลก 12. ความดับทุกข์หรือการดับตัณหาและ ความ ทะเยอทะยานต่าง ๆ ให้หมดสิ้นไป หมายถึงข้อใด 1. ทุกข์ 2. สมุทัย 3. นิโรธ ** 4. มรรค 13. กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา หมายถึงข้อใด 1. ทุกข์ 2. สมุทัย** 3. นิโรธ 4. มรรค 14. ข้อใดคือธรรมข้อที่สาม 1. เลี้ยงชีพชอบในทางที่ถูกต้อง 2. มีความสํารวมระวังในกาม** 3. พูดแต่คําสัตย์จริง 4. มีสติระวังรักษาตนไว้เสมอ 15. ธรรมประจําใจของผู้ประเสริฐ หรือ ผู้มีจิตใจในอันดีงามประดุจดังพระพรหม หมายถึงข้อใด 1. เบญจธรรม 2. ฆราวาสธรรม 3. พรหมวิหาร** 4. สังคหวัตถุ 16. พลอยชื่นชมยินดีเมื่อเห็นผู้อื่นมีความสุขหมายถึงข้อใด 1. เมตตา 2. กรุณา 3. มุทิตา ** 4. อุเบกขา 17. การสงเคราะห์หรือ ธรรมแห่งการ ยึด เหนี่ยวบุคคลให้เกิดความสามัคคีมี ๔ ประการ คือ 1. เบญจธรรม 2. ฆราวาสธรรม 3. พรหมวิหาร 4. สังคหวัตถุ**
  • 12. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 18. การบําเพ็ญประโยชน์ ได้แก่ การ ช่วยเหลือด้วยแรงกาย บําเพ็ญประโยชน์ รวมทั้งช่วยแก้ไขปรับปรุงด้าน จริยธรรม คือ 1. ทาน 2. ปิยวาจา 3. อัตถจริยา** 4. สมานัตตตา 19. การวางตน เสมอต้นเสมอปลาย ให้ความเสมอภาค ร่วมแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ส่วนรวม ก. ทาน ข. ปิยวาจา ค. อัตถจริยา ง. สมานัตตตา** 20. หลักธรรมที่ใช้ปฏิบัติสําหรับ ผู้ครองเรือน หมายถึงข้อใด ก. เบญจธรรม ข. ฆราวาสธรรม** ค. พรหมวิหาร ง. สังคหวัตถุ 21. ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. ทมะ คือ การรู้จักควบคุมจิตใจ ฝึกหัดดัดนิสัย แก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ปรับตัวปรับใจเข้าหากัน 2. ขันติ ความอดทน ได้แก่ การมีจิตใจเข้มแข็ง หนักแน่น ไม่วู่วาม อดทนต่อความล่วงล้ําก้ําเกินกัน ลําบาก ตรากตรํา ฝ่าฟันอุปสรรคต่าง ๆ ไปด้วยกัน 3. จาคะ คือ การเสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วย เหลือ ซึ่งกันและกัน สามารถสละความสุขส่วนตัวเพื่อคู่ครองได้ 4. ถูกทุกข้อ** 22. ในสังคมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ หมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านต่าง มี วัดประจําหมู่บ้านของตนเป็น ศูนย์กลาง ซึ่งถือว่าเป็นสมบัติรวมของคนทั้งหมู่บ้าน วัดจึงเป็นศูนย์รวมประชาชนและมีบทบาทสําคัญๆต่อ สังคมมากมาย ในข้อใดไม่ถูกต้อง 1. เป็นสถานพยาบาล 2. เป็นที่พักคนเดินทาง 3. เป็นสถานที่บันเทิง 4. ถูกทุกข้อ** 23. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่เชิดชูฐานะ ของ พระสงฆ์ ใน สังคมคือ 1. ความบริสุทธิ์ 2. ความเสียสละบําเพ็ญประโยชน์ 3. ความเป็นผู้นําทางสติปัญญา 4. ผู้นําทางสังคม**
  • 13. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 24. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการที่คนเราสนใจไสยศาสตร์ 1. ความกล้า** 2. ความกลัว 3. ความต้องการ 4. ถูกทุกข้อ 25. ผีที่คนไทยเชื่อว่าคุ้มครองการทําไร่นาให้ได้ผลดี คือข้อใด 1. แม่โพสพ ** 2. นางกวัก 3. แม่ย่านาง 26. การทํานายฝัน เกี่ยวข้องกับข้อใด 1. โชคลาง 2. โหราศาสตร์** 3. ไสยศาสตร์ 4. ถูกทุกข้อ 27. การปลูกต้นไม้ไว้ในบ้าน คนไทยส่วนใหญ่ควรปลูกต้อนไม้ใด 1. ต้นโศก 2. ระกํา 3. ลั่นทม 4. มะยม** 28. ใดบ่งบอกถึงความร่มเย็นและประสบความสําเร็จในชีวิต 1. เหลือง 2. ม่วง 3. เขียว** 4. ขาว 29. บ้านที่ลักษณะส่วนบนหัวจั่วลักษณะกาแล หมายถึงบ้านของภูมิภาคใด 1. ภาคเหนือ ** 2. ภาคกลาง 3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. ภาคใต้ 30. บ้านที่ลักษณะหลังคาทรงปั้นหยาหมายถึงบ้านของภูมิภาคใด ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง ค. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ง. ภาคใต้** 31. รูปภาพปั้นปูนเรื่องเรื่องทศชาติชาดกที่วัดไล อําเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี เป็นงานประติมากรรมไทย ใด 1. งานประติมากรรมที่มีลักษณะเป็นรูปทรงลอยตัว 2. งานประติมากรรมที่มีลักษณะเป็นรูปทรงแบบราบมีพื้นรองรับ** 3. งานประติมากรรมที่มีลักษณะเป็นรูปทรงจมอยู่ในพื้น
  • 14. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 4. ไม่มีข้อถูก 32. งานช่างประดับมุก หมายถึงข้อใด 1. ประติมากรรม 2. จิตรกรรม 3. ประณีตศิลป์** 4. ไม่มีข้อถูก 33. วรรณคดีนิทานที่มีเค้าเรื่องจริง ซึ่งมักเป็นเรื่องราวของบุคคล ที่เชื่อว่ามีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ คือข้อ ใด 1. ลิลิตพระลอ 2. ขุนช้างขุนแผน 3. ผาแดงนางไอ่ 4. ถูกทุกข้อ** 34. คีตะ หมายถึงข้อใด 1. การร้องเป็นการร้องอย่างมีศิลป์** 2. เครื่องทํานองเพลง 3. การแสดงออกซึ่งมีลีลาท่ารําต่าง ๆ 4. ถูกทุกข้อ 35. ข้อใดไม่ใช่เครื่องดีด 1. เพ้ย 2. กระจับปี่ 3. ซึง จะเข้ 4. ซอล้อ** 36. ระบํา หมายถึงข้อใด 1. การแสดงนาฏศิลป์ไทยที่ไม่เป็นเรื่อง** 2. การแสดงเป็นเรื่อง 3. การเล่นโขนจัดเป็นนาฏกรรมประเภทมหรสพ 4. ถูกทุกข้อ 37. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง 1. ประเพณี คือ ระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติที่เห็นว่าดีกว่า ถูกต้องกว่า หรือเป็นที่ยอมรับของคนส่วนใหญ่ ใน สังคมและมีการปฏิบัติสืบต่อกันมา 2. ประเพณี คือ ความประพฤติที่สืบต่อกันมาจนเป็นที่ยอมรับของคนส่วนใหญ่ในหมู่คณะ เป็นนิสัยสังคม ซึ่ง เกิดขึ้นจากการที่ต้องเอาอย่างบุคคลอื่น ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตน หากจะกล่าวถึงประเพณีไทยก็หมายถึง นิสัยสังคม ของคนไทยซึ่งได้รับมรดกตกทอดมาแต่ดั้งเดิมและมองเห็นได้ในทุกภาคของไทย 3. ธรรมเนียมประเพณี (Convention) หมายถึง ประเพณีที่ปฏิบัติกันอยู่ในชีวิตประจําวัน หากมี การฝ่าฝืนก็ ไม่ถือเป็นเรื่องผิด นอกจากจะเห็นว่าเป็นผู้เสียมารยาทเท่านั้น ไม่มีระเบียบแบบแผนเหมือนขนบประเพณี 4. ถูกทุกข้อ**
  • 15. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 38. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง 1. จารีตประเพณี หรือ กฎศีลธรรม (Mores) คือ ประเพณีที่สังคมถือว่าถ้าใครฝ่าฝืนงดเว้นไม่ กระทําตามถือ ว่าเป็นความผิด จารีตประเพณีเกี่ยวข้องกับศีลธรรมของคนส่วนรวมในสังคมไทย เช่น การแสดงความ กตัญญู ต่อผู้มีพระคุณ เป็นต้น 2. จารีตประเพณี หรือกฎศีลธรรมของแต่ละแห่งย่อมไม่เหมือนกัน เพราะมีค่านิยม (Value) ที่ยึดถือต่าง กัน ดังนั้น ถ้าบุคคลใดนําจารีตประเพณีของตนไปเปรียบเทียบกับของคนอื่นว่าดีหรือเลวกว่าตนก็เป็นการ เปรียบเทียบที่ไม่ถูกต้อง เพราะสภาพหรือสิ่งแวดล้อม ตลอดจนความเชื่อต่าง ๆ ย่อมต่างกันไป เช่น เรา เคารพผู้ที่อาวุโสกว่า แต่ชาวอเมริกันรักความเท่าเทียมกัน 3. ขนบประเพณี (Institution) บางครั้งเรียกว่าระเบียบประเพณี หมายถึงประเพณีที่สังคมกําหนด ระเบียบ แบบแผนไว้อย่างชัดว่า ควรจะประพฤติปฏิบัติเป็นขั้นตอนอย่างไร เช่น ประเพณีแต่งงานต้องเริ่มตั้งแต่การ หมั้น การแต่ง ซึ่งแต่ละขั้นตอนจะมีพิธีมากมายสําหรับคู่บ่าวสาวต้องปฏิบัติตาม หรือพิธีศพ ซึ่งจะต้องเริ่ม ตั้งแต่มีการรดน้ําศพ แต่งตัวศพ สวดศพ เผาศพ เป็นลําดับ 4. ถูกทุกข้อ** 39. เด็กชายที่จะบวชเป็นสามเณรได้ จะต้องมีอายุตั้งแต่กี่ปีขึ้นไป 1. ๕ ปี 2. ๗ ปี** 3. ๙ ปี 4. ๑๑ ปี 40. ชายที่จะบวชพระได้ต้องมีอายุครบกี่ปีบริบูรณ์ 1. ๑๕ ปี 2. ๑๗ ปี 3. ๒๐ ปี** 4. ๒๑ ปี 41. การทําบุญบ้านหรือสถานที่ทํางาน นิยมนิมนต์พระกี่องค์ 1. ๕ 2. ๙ 3. ๑๑ 4. ถูกทั้งข้อ ๕ และข้อ ๙** 42. วันสงกรานต์ คือวันขึ้นปีใหม่ตามทางสุริยคติ หมายความว่า นับตามทางพระอาทิตย์ กล่าวคือโลกที่เราอยู่ หมุนไป ๑ รอบดวงอาทิตย์ก็เป็น ๑ ปี ซึ่งตรงกับวันที่ใด 1. ๑๑ เมษายน 2. ๑๒ เมษายน ** 3. ๑๓ เมษายน 4. ๑๕ เมษายน
  • 16. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 43. ไทยเราได้ประเพณีวันสงกรานต์มาจากชนชาติใด 1. มอญ** 2. พม่า 3. เขมร 4. ลาว 44. วันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ตั้งแต่สมัยใด 1. ก่อนสุโขทัย 2. สุโขทัย** 3. กรุงศรีอยุธยา 4. กรุงรัตนโกสินธร์ 45. ประเทศไทยได้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จากวันสงกรานต์มาเป็นวันที่ ๑ มกราคมตั้งแต่เมื่อใด 1. พ.ศ. ๒๔๗๕ 2. พ.ศ. ๒๔๘๓** 3. พ.ศ.๒๕๐๐ 4. พ.ศ.๒๕๐๑ 46. "ทําบุญวันสารท" ตรงกับวันใด 1. วันขึ้นสิบห้าค่ําเดือนสิบ** 2. วันขึ้นสิบห้าค่ําเดือนสิบเอ็ด 3. วันขึ้นสิบห้าค่ําเดือนสิบสอง 4. วันขึ้นสิบห้าค่ําเดือนเก้า 47. "สารท" เป็นคํามาจากภาษาใด 1. ลังกา 2. อินเดีย** 3. มอญ 4. ขอม 48. ประเพณีลอยกระทง มีมาตั้งแต่สมัยใด ก. ก่อนสุโขทัย ข. สุโขทัย** ค. กรุงศรีอยุธยา ง. กรุงรัตนโกสินธร์ 49. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับวันมาฆบูชา ไม่ถูกต้อง 1. พระภิกษุจํานวน ๑,๕๒๐ รูป มาประชุมกันเข้าเฝ้าพระ พุทธเจ้าที่เวฬุวัน กรุงราชคฤห์ โดยมิได้นัดหมาย** 2. พระภิกษุเหล่านี้ล้วนเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น 3. พระภิกษุเหล่านี้เป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทา คือ พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ทั้งสิ้น 4. ในวันนั้น เป็นวันเพ็ญพระจันทร์เต็มดวง หรือเสวยมาฆะฤกษ์ ในวันนี้พุทธศาสนิกชนจะทําบุญตักบาตร ไป วัด ฟังเทศน์ สวด มนต์ และเลี้ยงพระกลางคืนมีการเวียนเทียน
  • 17. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 50. วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๘ วันนี้มี ปรากฏการณ์ที่สําคัญ คือ ข้อใด 1. เป็นวันที่พระพุทธศาสนาได้อุบัติขึ้นในโลก 2. เป็นวันแรกที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา "ธรรม จักรกัปปวัฒนสูตร" แก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ 3. เป็นวันแรกที่พระอริยสงฆ์สาวกองค์แรก บังเกิดขึ้นในโลก พระอัญญาโกณทัญญะ ได้รับเป็น เอหิภิกขุอุปสัมปทา 4. ถูกทุกข้อ** 51. วันธรรมจักร หมายถึงข้อใด 1. วันอาสาฬหบูชา** 2. วันวิสาขบูชา 3. วันอาฬสาหบูชา 4. วันเข้าพรรษา 52. วันเข้าพรรษา ตรงกันวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๘ ซึ่งพระสงฆ์จะต้อง อยู่ประจํา ณ วัดใดวัดหนึ่งระหว่างฤดูฝน กําหนดตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๘ จนถึงเมื่อใด 1. วันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ 2. วันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๑ ** 3. วันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๑ 4. วันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ 53. "วันปวารณา" หมายถึงวันใด 1. วันเข้าพรรษา 2. วันออกพรรษา** 3. วันอุปสมบท 4. วันลาอุปสมบท 54. ประเพณีทอดกฐิน กําหนดต้องทําในระยะเวลาใด 1. ระหว่างวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ 2. ระหว่างวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ 3. ระหว่างวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ ** 4. ระหว่างวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ 55. ประเพณีทอดผ้าป่า กําหนดต้องทําในระยะเวลาใด ก. ระหว่างวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ ข. ระหว่างวันแรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ ค. ระหว่างวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ ง. เวลาใดก็ได้** 56. ประชาชนตามข้อใดที่จะจัดตั้งศาลเพียงตาขึ้นทุกบ้าน 1. ไทยรามัญในจังหวัดปทุมธานี** 2. ไทยพวนในจังหวัดทุกจังหวัด 3. ชาวพม่าอพยพ 4. ทุกข้อที่กล่าวมา
  • 18. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 57. "ฮีตสิบสองคองสิบสี่" เป็นประเพณีของภาคใด 1. เหนือ 2. กลาง 3. ใต้ 4. ตะวันออกเฉียงเหนือ 58. งานบุญพระเวส จะทําในเดือนใด 1. เดือนสาม 2. เดือนสี่ 3. เดือนห้า** 4. เดือนหก 59. ห้ามเดินเหยียบเงาพระสงฆ์ เกี่ยวเนื่องกับข้อใด 1. คองสิบสี่" 2. "ฮีตบ้านคองเมือง 3. ครรลองคลองธรรม 4. ถูกทุกข้อ** 60. งานสมโภชเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว มีในจังหวัดใด 1. นครศรีธรรมราช 2. ภูเก็ต 3. ปัตตานี** 4. ตรัง 61. สิ่งที่ดีงามที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา เรียกว่า 1. คุณธรรม 2. จริยธรรม 3. วัฒนธรรม** 4. ค่านิยม 62. ข้อใดคือวัฒนธรรมไทย 1. การเคารพพระสงฆ์** 2. สงกรานต์ 3. ฮีตสิบสอง 4. การไหลเรื่อไฟ 63. การกราบครั้งที่สองของการกราบแบบเบญจางค์ประดิษฐ์ หมายถึงกราบใคร 1. กราบเพื่อระลึกถึงองค์พระพุทธเจ้า 2. กราบพระธรรมคําสั่งสอนพระพุทธเจ้า** 3. กราบพระสงฆ์ตัวแทนพระพุทธเจ้า 4. กราบพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
  • 19. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 64. ข้อใดเป็นการกระทําที่ไม่ถูกต้อง 1. เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านให้ไหว้โดยให้ปลายนิ้วมือจรดตีนผม 2. ผู้ชายให้ถวายของให้พระต่อมือพระสงฆ์โดยตรงและคุกเข่ากราบไม่แบมือครั้งเดียว** 3. การตักบาตรควรถอดรองเท้าก่อน 4. ผู้หญิงไปหาพระต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย ไม่ควรอยู่ตามลําพังกับพระสงฆ์ 65. เป็นครูควรมีมารยาททางใจ โดยนําหลักธรรมพรหมวิหาร ๔ มายึดและปฏิบัติ 1. เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา** 2. ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา 3. ทุกข์ สมุทัย นิโรจ มรรค 4. สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ 66. ข้อใดคือมารยาททางใจที่ถูกต้อง 1. ในงานมงคลควรแสดงสีหน้าเบิกบานสดชื่นอยู่เสมอ 2. การไปเยี่ยมคนป่วยควรใช้คําพูดที่อ่อนโยนปลอบใจผู้ป่วย 3. ในงานเผาศพควรแสดงกริยาสงบสงวนความรื่นเริงเอาไว้ 4. ถูกทุกข้อ** 67. ข้อใดเป็นมารยาททางกายที่ไม่เหมาะสม 1. ถ้านั่งต่อหน้าผู้ใหญ่กับพื้นให้นั่งพับเพียบ หันหนําไปหาผู้ใหญ่ในลักษณะเงยหน้า 2. ไม่ถือวิสาสะใช้หรือรับประทานของที่เขาจัดไว้สําหรับผู้อื่นโดยเฉพาะ 3. ล้วง แคะ แกะเกา หาว เรอหากจําเป็น** 4. เห็นของผู้ใหญ่ตก หรืออาจจะเสียหายโดยที่เจ้าตัวไม่รู้ควรจะบอก 68. การับไหวในขณะที่ยืนและเราอยู่ในฐานะที่อาวุโสกว่า 1. พนมมือระดับอก** 2. พนมมือเหนือระดับอก นิ้วจรดคาง 3. พนมมือระดับอก ก้มศีรษะเล็กน้อย 4. พนมมือระดับอกและพยักหน้าเล็กน้อย 69. หากเราจะผ่านผู้คนมากๆและมีผู้ที่อาวุโสนั่งอยู่กับพื้นควรใช้วิธีการใด 1. เดินก้มหน้า 2. เดินย่อตัว** 3. หมอบ 4. คลาน 70. เมื่อใดควรยืนตรง 1. เมื่อเห็นคนเชิญธงชาติผ่านหน้า 2. เมื่อเห็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จมาถึงบริเวณพิธี 3. เมื่อได้ยินเสียงเพลงสรรเสริญพระบารมี 4. ถูกทุกข้อ**
  • 20. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 71. ข้อใดคือมารยาทแบบสากลทางกายแสดงการทักทาย 1. การยิ้ม 2. การไหว้ 3. การคํานับ 4. การจับมือ** 72. ข้อใดคือมารยาทในการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง 1. ให้ผู้อาวุโสรับประทานก่อนเราจึงรับประทาน 2. ไม่ท้าวศอกบนโต๊ะอาหาร และนั่งตัวตรง 3. แตะต้องหรือหยิบอาหารให้ผู้อาวุโสกว่าตามสมควร** 4. ควรถือช้อนด้วยมือขวาและส้อมด้วยมือซ้าย 73. มารยาทในการใช้วาจาที่ถูกต้องได้แก่ข้อใด 1. ต้องระวังมิใช้วาจาเท็จ ยุยงส่อเสียดให้ผู้อื่นแตกร้าว 2. ไม่พูดเสียงดังเกินไปหรือพูดพลางหัวเราะพลาง 3. รู้จักพูดให้ผู้ฟังพอใจและเป็นนักฟังที่สนใจ 4. ถูกทุกข้อ** 74. “ฮีตสิบสอง” จัดไว้ในข้อใด 1. วัฒนธรรมไทย 2. ประเพณี** 3. ความเชื่อ 4. ค่านิยม 75. เทศกาลไหมและประเพณีผูกเสี่ยวเป็นประเพณีท้องถิ่นของจังหวัดใด 1. กาฬสินธุ์ 2. มหาสารคาม 3. ขอนแก่น** 4. อุดรธานี 76. ประเพณีไหลเรื่อไฟของจังหวัดนครพนม เป็นประเพณีที่เกิดจากความเชื่อของประเทศใด 1. จีน 2. อินเดีย** 3. เนปาล 4. อียีป 77. ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้งของจังหวัดบุรีรัมย์จัดในเดือนใด 1. ธันวาคม 2. มกราคม 3. เมษายน** 4. กรกฎาคม
  • 21. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 78. ประเพณีบวชลูกแก้วนิยมจัดในภาคใด 1. ภาคเหนือ** 2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. ภาคกลาง 4. ภาคใต้ 79. ประเพณีท้องถิ่นที่นิยมจัดทุกภาคของไทย 1. บวชนาค 2. สงกรานต์ 3. ลอยกระทง** 4. ถูกทุกข้อ 80. หากจะรักษาประเพณีไทยโดยการทําบุญ ควรปฏิบัติตามข้อใด 1. การให้ทาน 2. การรักษาศีล 3. ภาวนา 4. ถูกทุกข้อ** 81. ข้อใดต่อไปนี้ไม่เกี่ยวข้องกับประเพณีแต่งงาน 1. ขึ้นหอ** 2. สู่ขวัญ 3. ขันหมาก 4. หมั้น 82. ” ไม้เท้ายอดทองกระบองยอดเพชร” สัมพันธ์กับประเพณีใด 1. แต่งงาน** 2. บวช 3. ลอยกระทง 4. สงกรานต์ 83. ประเพณีบายศรีสู่ขวัญมักพบอยู่ทุกจังหวัดทั้งภาคเหนือและอีสาน คําว่า “บายศรี”หมายถึงสิ่งใด 1. ดอกไม้ 2. พาน 3. ข้าว** 4. ด้ายขาว 84. ความเชื่อตามประเพณีบุญป้องไฟสัมพันธ์กับอาชีพใด 1. ค้าขาย 2. ทํานา** 3. อุตสาหกรรม 4. ทุกอาชีพที่กล่าว
  • 22. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 85. ประเพณีผีตาโขนเป็นของจังหวัดใด 1. ลําปาง 2. พะเยา 3. อุบลราชธานี 4. เลย** 86. “วันเนา” ของประเพณีสงกรานต์ตรงกับวันใด 1. ๑๒ เมษายน 2. ๑๓ เมษายน 3. ๑๔ เมษายน** 4. ๑๕ เมษายน 87. เหล้า ต้นกล้วย ต้นอ้อย จัดอยู่ในส่วนใดของประเพณีแต่งงาน 1. ค่าดอง 2. สู่ขวัญ 3. ขันหมากเอก 4. ขันหมากโท** 88. ประเพณีชักพระหรือลากพระมักนิยมจัดในภูมิภาคใด 1. ภาคเหนือ 2. ตะวันออกเฉียงเหนือ 3. ภาคกลาง 4. ภาคใต้** 89. ประเพณีอุ้มน้ําดําพระเป็นของจังหวัดใด 1. ตาก 2. เพชรบูรณ์** 3. ปัตตานี 4. นครศรีธรรมราช 90. ประเพณีท้องถิ่นต่อไปนี้ข้อใดต่างจากกลุ่ม 1. สู่ข้าวขวัญ 2. ก่อพระเจดีย์ทราย 3. ทอดกฐิน 4. บุญเบิกฟ้า**
  • 23. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน แนวข้อสอบ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ชุดที่ ๑ 1. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เป็นไปตามบทบัญญัติใน รธน. ๒๕๔๐ มาตราใด 1. ๒๙ 2. ๔๐ 3. ๕๐ 4. ๘๑* 2.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญัติให้กระทําได้โดย อาศัยอํานาจตามมาตราใด 1. ก มาตรา ๒๙ มาตรา ๔๐ 2. มาตรา ๒๙ มาตรา ๕๐* 3. มาตรา ๓๙ มาตรา ๕๐ 4. มาตรา ๓๙ มาตรา ๔ 3. พรบ.การศึกษาแห่งชาติถือว่าเป็น 1. กฎหมายแม่บทการจัดการศึกษา* 2. แนวทางจัดการศึกษาของรัฐ 3. การปรับปรุงการศึกษาสอดคล้องรัฐธรรมนูญ 4. การปฏิรูปการศึกษาครั้งใหญ่ของไทย 4. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ฉบับแรก มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เมื่อใด ก. ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๒ ข. ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒* ค. ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๕ ง. ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๕ 5. วัตถุประสงค์ของการจัดทํา พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒ ก. ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม* ข. ปฏิรูปการศึกษาของไทย ค. พัฒนาคนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายจิตใจ ง. พัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 6. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมแห่งชาติ ข. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ค. แผนการศึกษาแห่งชาติ* ง. แผนพัฒนาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของกระทรวงศึกษาธิการ 7. “การศึกษา” หมายความว่า ก. กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล ข. กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม* ค. กระบวนการสอนเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล
  • 24. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน ง. กระบวนการสอนเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม 8. ต่อไปนี้ ข้อใดไม่สอดคล้องกับความหมายการศึกษา ตาม พรบ. ก. การถ่ายทอดความรู้ ข. การฝึกอบรม ค. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์* ง. การสืบสานทางวัฒนธรรม 9. ข้อใดให้ความหมายไม่ตรงกับ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน คือการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา 2. สถานศึกษาคือสถานที่จัดการสอนตั้งแต่ก่อนประถมถึงระดับก่อนอุดมศึกษา* 3. มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่พึงประสงค์ และมาตรฐานที่ต้องการให้ เกิดในสถานศึกษาทุกแห่ง 4. กระทรวง หมายความว่ากระทรวงการศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม 10. ข้อใดต่างจากพวก ก. ครู ข. คณาจารย์* ค. ผู้บริหารสถานศึกษา ง. ผู้บริหารการศึกษา 11. ข้อใดไม่ใช่หลักการ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒ ก. เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อปวงชน* ข. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ค. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ง. พัฒนา สาระ และกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง 12. ข้อใดไม่สอดคล้องการจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการการจัดการศึกษา ก. กระจายอํานาจสู่สถานศึกษาทั้งหมด* ข. กําหนดมาตรฐานการศึกษา จัดระบบประกันคุณภาพ ค. มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ง. รวมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาไว้ในการจัดการศึกษา 13. คําว่า “เอกภาพด้านนโยบาย หลากหลายการปฏิบัติ” สอดคล้องกับข้อใด ก. ส่วนกลางกําหนดนโยบาย ส่วนภูมิภาคกําหนดแนวทางปฏิบัติ ข. กระทรวงกําหนดนโยบายมาตรฐานสนับสนุนเขตพื้นที่และสถานศึกษาบริหารจัดการด้วยตนเอง ค. มีนโยบายเดียวกัน แต่การปฏิบัติหลากหลายวิธี ง. ถูกทุกข้อ* 14. ต่อไปนี้นี้ ข้อใดไม่มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ก. รัฐ ข. เอกชน ค. องค์กรปกครองท้องถิ่น ง. โรงเรียน*
  • 25. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 15. ข้อใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ บิดามารดา ผู้ปกครอง พึงได้รับในการจัดการศึกษา ก. การสนับสนุนจากรัฐ ให้ความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู ข. การยกเงินภาษีสําหรับค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา* ค. เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของคนในการดูแล ง. การให้การศึกษาแก่บุตรหรือบุคคลในการดูแล 16. จุดที่ต่างกันของการศึกษาระบบต่างๆ ที่สําคัญคือข้อใด ก. ระยะเวลาที่จัดการศึกษา ข. สถานที่จัดการศึกษา ค. ตัวผู้เข้ารับการศึกษา ง. จุดหมาย วิธีการ หลักสูตร* 17. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการศึกษาตามอัธยาศัย ก. สถานศึกษา ต้องจัดการศึกษา ทั้งในระบบนอกระบบ และตามอัธยาศัย* ข. ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพร้อม โอกาส ค. จัดการเรียนรู้ทุกที่ ทุกเวลา ง. ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเป็นแหล่งเรียนรู้ 18. ต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่ สถานศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน ก. โรงเรียน ข. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ค. ศูนย์พัฒนาชุมชน* ง. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ สถาบันศาสนา 19. ข้อใดไม่ถูกต้องในด้านการกระจายอํานาจให้เขตพื้นที่และสถานศึกษา ก. ด้านวิชาการ ข. งบประมาณ ค. หลักสูตรการสอน* ง. การบริหารทั่วไป 20. ต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่กรรมการโรงเรียน 1. ผู้แทนครู 2. ผู้แทนองค์กรเอกชน* 3. ผู้แทนศิษย์เก่า 4. ผู้แทนคุณวุฒิ 21. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิ์จัดการศึกษาระดับใด 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. การศึกษาอุดมศึกษา 3. การศึกษานอกโรงเรียน 4. ทุกระดับ*
  • 26. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 22. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบประกันคุณภาพภายในได้แก่ 1. สถานศึกษาเท่านั้น 2. สถานศึกษาและเขตพื้นที่ 3. สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง ศึกษาธิการ* 23. ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกครั้งแรกใน ๕ ปี* 2. สํานักงานรับรองมาตรฐานมีฐานะเป็นองค์กรมหาชน 3. การประเมินผลคํานึงถึงความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา 4. เสนอผลประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน 24. หลักการจัดการศึกษาข้อใด ไม่สอดคล้องตามพรบ. 1. ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ 2. ครูต้องมีจิตสํานึกที่จะพัฒนาเด็กอย่างเต็มความสามารถ* 3. ผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด 4. ต้องส่งเสริมผู้เรียนพัฒนาตามศักยภาพ 25. ข้อใดสําคัญที่สุดเกี่ยวกับหลักสูตร 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตบุคคลให้เหมาะสมกับวัยตามศักยภาพ* 2. สอดคล้องความต้องการชุมชน 3. คํานึงถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. เหมาะสมกับความจริงก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี 26. พ.ร.บ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นกฎหมายที่ตราขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตราใด 1. มาตรา ๔๓ 2. มาตรา ๘๑* 3. มาตรา ๒๘๙ 4. มาตรา ๓๓๖ 27. ต่อไปนี้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายความว่าการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา 2. ผู้สอน หมายความว่าครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่างๆ 3. กระทรวง หมายความว่ากระทรวงการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมแห่งชาติ* 4. ครู หมายความว่าบุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของ ผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน 28. ข้อใดไม่หลักการจัดการศึกษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ 1. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน 2. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 3. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง 4. การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์สังคม*
  • 27. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 29. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ไม่ได้กําหนดให้หน่วยงานใดมีสิทธิจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. หน่วยงานหรือสถานศึกษาของรัฐและเอกชน 2. มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน* 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา และสถานประกอบการ 30. การจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักอะไรบ้าง 1. มีเอกภาพด้านนโยบายและหลากหลายในการปฏิบัติ 2. มีการกระจายอํานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา 3. ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา 4. ถูกทั้ง ก ข และ ค* 31. “สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า 1. สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน* 2. สถานศึกษาที่จัดการศึกษาตั้งแต่ ป.๑-ม.๖ 3. สถานศึกษาที่จัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาล-ม.๖ 4. ถูกทุกข้อ 32. “มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า 1. ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการ ให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุก แห่ง 2. เป็นหลักในการเทียบเคียงสําหรับการส่งเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการ ประกันคุณภาพทางการศึกษา 3. ถูกทั้ง ก และ ข* 4. ไม่มีข้อถูก 33. “การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า 1. การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก 2. โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่สํานักงาน ดังกล่าวรับรอง 3. เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 4. ถูกทุกข้อรวมกัน* 34. ข้อใดไม่สอดคล้องกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามความมุ่งหมายของ พรบ. 1. ปลูกฝังจิตสํานึกการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยมีพระมหา กษัตริย์เป็นประมุข 2. รักษา และส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เคารพกฎหมาย 3. รู้จักรักษาผลประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศชาติ 4. กระจายการพัฒนาไปสู่ชนบทโดยการมีส่วนร่วมของภูมิปัญญาท้องถิ่น* 35. การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยอย่างไร 1. สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม 2. มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต 3. สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
  • 28. รองไผ่ ขอบคุณทุกการแบ่งปัน 4. ถูกทุกข้อ* 36. ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสํานึกที่ถูกต้อง ข้อใดไม่ใช่ 1. การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย กล้าแสดงออก มีสิทธิ เสรีภาพ ทางการเมือง * 2. รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์ 3.มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทยรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริม ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล 4. ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มี ความริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง 37. การจัดการศึกษาให้ยึดหลักในข้อใด 1. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน 2. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 3. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง 4. ถูกทุกข้อ * 38. ข้อใดไม่ถูกต้องในการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา 1. มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ 2. มีการกระจายอํานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน * 4. การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น 39. การจัดการศึกษา ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี 2. ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย 3. การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ต้องจัดด้วยรูป แบบที่เหมาะสมโดยคํานึงถึง ความสามารถของบุคคลนั้น 4.ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและ สถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กําหนดในพระราชบัญญัติ * 40.การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสาร และการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแลหรือ ด้อยโอกาส ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ 2. ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 3. ให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอํานวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กําหนดในกฎกระทรวง 4. ถูกทุกข้อ *