SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
วิชา ธรรม 
สา หรับธรรมศึกษา ตรี 
ทุกะ หมวด ๒ 
ธรรมมีอุปการะมาก (พหุการธรรม) ๒ อย่าง 
๑. สติ ความระลึกได้ ๒. สัมปชัญญะ ความรูตั้ว 
พหุการธรรม คือ ธรรมอันเป็นเครื่องป้องกันมิใหเ้กิความผิดพลาด พลงั้เผลอ 
สติเป็นความระลึกไดท้งั้อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ก่อนที่จะคิด จะพูด จะทา 
เสมือนดวงไฟ 
สัมปชัญญะ เป็นความรูตั้วทัว่พอ้ง ในขณะคิด พูด หรือ ทา อยู่ 
เป็นเครื่องสนับสนุนสติใหส้า เร็จตามตอ้งการ เสมือนแสงของดวงไฟ 
ธรรมคุ้มครองโลก/โลกปาลธรรม ๒ อย่าง 
๑. หิริ ความละอายแก่ใจ ๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลัว 
โลกปาลธรรม คือ ธรรมอันเป็นเครื่องคุง้ครองโลก 
คือหมู่สัตว์ที่อาศัยอยู่บนพื้นภิภพนี้ใหอ้ยู่เย็นเป็นสุข เรียกอีกอย่างว่า เทวธรรม 
หิริ เป็นความละอายใจต่อตนเองเมื่อจะประพฤติทุจริตอันเป็นความชัว่ 
ทงั้ในลับและที่แจง้ 
โอตตัปปะ เป็นความเกรงกลัวต่อผลของการทา ชัว่ โดยคิดว่า ทา ดีไดดี้ ทา ชัว่ไดชั้ว่ 
ธรรมอันทา ให้งาม (โสภณธรรม) ๒ อย่าง 
๑. ขันติ ความอดทน ๒. โสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม 
โสภณธรรม คือ ธรรมอันเป็นเครื่องทา ใหบุ้คคลงามดว้ยกาย วาจา และจิตใจ 
ขันติ เป็นความอดทนต่อความลา บาก การตรากตรา และความเจ็บใจ 
เป็นเครื่องตัดมูลแห่งอกุศล 
โสรัจจะ เป็นความสงบเสงี่ยมเรียบรอ้ย มีใจองอาจ สูท้น ไม่วู่วาม คุมสติอารมณ์ใหค้งที่ 
ใจคอหนักแน่น เป็นเครื่องสนับสนุนขันติใหส้า เร็จประโยชน์ ธรรมอันเป็นขา้ศึกของโสรัจจะ คือ 
โทสะ 
บุคคลหาได้ยาก (ทุลลภธรรม) ๒ อย่าง 
๑. บุพพการี บุคคลผูท้า อุปการะคุณมาก่อน 
๒. กตัญญูกตเวที บุคคลผูรู้อุ้ปการคุณที่คนอื่นทา แลว้และทา ตอบแทน 
บุพพการี ไดแ้ก่ผูมี้พระคุณมาก่อน ไดท้า ประโยชน์แก่เรามาก่อน มี ๔ จา พวก คือ 
๑) บิดามารดา ๒) อุปัชฌาย์อาจารย์ 
๓) พระมหากษัตริย์ ๔) พระสัมมาสัมพุทธเจา้ 
กตัญญูกตเวที ไดแ้ก่ ผูรู้คุ้ณท่านแลว้ทา การตอบแทน มี ๔ จา พวก คือ 
๑) บุตรธิดา ๒) สัทธิวิหาริกอันเตวาสิก 
๓) ราษฎร ๔) พุทธบริษัท 
ติกะ หมวด ๓ 
รัตนะ คือ แก้วอันประเสริฐ ๓ (รัตนตรัย) 
๑. พระพุทธเจ้า คอื ท่านผูส้อนใหป้ระชุมชนประพฤติดีปฏิบัติชอบดว้ยกาย วาจา ใจ 
ตามพระธรรมวินัย 
๒. พระธรรม คอื ขอ้ที่เป็นคา สัง่สอนของพระพุทธเจา้
๓. พระสงฆ์ คอื หมู่ชนที่ฟังคา สัง่สอนของท่านแลว้ ปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัย 
คุณของพระรัตนตรัย ๓ 
๑. พระพุทธเจา้รูดี้รูช้อบดว้ยพระองค์เองก่อนแลว้ สอนผูอื้่นใหรู้ต้ามดว้ย 
๒. พระธรรมย่อรักษาผูป้ฏิบัติไม่ใหต้กไปสู่โลกที่ชัว่ 
๓. พระสงฆ์ปฏิบัติชอบตามคา สัง่สอนของพระพุทธเจา้แลว้ สอนใหผู้อื้่นรูต้ามดว้ย 
โอวาทของพุทธเจ้า (โอวาทปาติโมกข์) ๓ อย่าง 
ประวมลคา สัง่สอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ที่เป็นหลักสา คัญ 
อันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา 
๑. สพฺพปาปสฺสอกรณ เวน้จากทุจริต คอื ประพฤติชัว่ดว้ยกาย วาจา ใจ 
๒. กุสลสฺสูปสมฺปทา ประกอบสุจริต คอื ประพฤติชอบดว้ยกาย วาจา ใจ 
๓. สจิตฺตปริโยทปน ทา ใจของตนใหห้มดจดจากเครื่องเศรา้หมองมีโลภ โกรธ หลงเป็นตน้ 
ทุจริต ๓ อย่าง 
๑. กายทุจริต ประพฤติชัว่ดว้ยกาย 
๒. วจีทุจริต ประพฤติชัว่ดว้ยวาจา 
๓. มโนทุจริต ประพฤติชัว่ดว้ยใจ 
กายทุจริต มี ๓ อย่าง คือ 
๑. ปาณาติบาต ฆ่าสัตว์ ๒. อทินนาทาน ลักของผูอื้่น 
๓. กาเมสุมิจฉาจาร ประพฤติผิดในกาม 
วจีทุจริต มี ๔ อย่าง คือ 
๑. มุสาวาท พูดเท็จ ๒. ปิสุณาวาจา พูดส่อเสียด 
๓. ผรุสวาจา พูดคา หยาบ ๔. สัมผับปลาปะ พูดเพอ้เจอ้ 
มโนทุจริต มี ๓ อย่าง คือ 
๑. อภิชา โลภอยากไดข้องเขา ๒. พยาบาท ปองรา้ยเขา 
๓. มิจฉาทิฏฐิ เห็นผิดจากคลองธรรม 
สุจริต ๓ อย่าง 
๑. กายสุจริต ประพฤติชอบดว้ยกาย 
๒. วจีสุจริต ประพฤติชอบดว้ยวาจา 
๓. มโนสุจริต ประพฤติชอบดว้ยใจ 
กายสุจริต ๓ อย่าง คือ 
๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เวน้จากการฆ่าสัตว์ 
๒. อทินนาทานา เวรมณี เวน้จากการลักของที่เขาไม่ให้ 
๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี เวน้จากการประพฤติผิดในกาม 
วจีสุจริต ๔ อย่าง 
๑. มุสาวาทา เวรมณี เวน้จากการพูดเท็จ 
๒. ปิสุณาย วาจาย เวรมณี เวน้จากการพูดส่อเสียด 
๓. ผรุสาย วาจาย เวรมณี เวน้จากการพูดคา หยาบ 
๔. สัมผัปปลาปา เวรมณี เวน้จากการพูดเพอ้เจอ้ 
มโนสุจริต ๓ อย่าง 
๑. อนภิชฌา ไม่โลภอยากไดข้องเขา ๒. อพยาบาท ไม่พยาบาทปองรา้ยเขา 
๓. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบตามคลองธรรม 
อกุศลมูล ๓ อย่าง 
รากเหงา้ของอกุศล หรือความชัว่ เรียก อกุศลมูล 
๑. โลภะ อยากได้ ๒. โทสะ คิดประทุษรา้ย
๓. โมหะ หลงไม่รูจ้ริง 
อกุศลธรรมอันเป็นตน้เหตุใหเ้กิดอกุศลมูลคือ 
ตัณหา ทา ใหเ้กิด โลภะ 
มานะ ทา ใหเ้กิด โทสะ 
ทิฏฐิ ทา ใหเ้กิด โมหะ 
ธรรมอันเป็นขา้ศึกของ โลภะ คอื จาคะ 
ธรรมอันเป็นขา้ศึกของ โทสะ คอื เมตตา กรุณา 
ธรรมอันเป็นขา้ศึกของ โมหะ คอื ปัญญา 
กุศลมูล ๓ 
รากเหงา้ของกุศลหรือความดี เรียก กุศลมูล มี ๓ อย่าง คือ 
๑. อโลภะ ไม่อยากได้ ๒. อโทสะ ไม่คิดปองรา้ยเขา 
๓. อโมหะ ไม่หลง 
สัปปุริสบัญญัติ คือ ข้อที่สัตบุรุษตั้งไว้ ๓ อย่าง 
๑. ทาน เสียสละสิ่งของ ๆ ตน เพื่อประโยชน์แก่ผูอื้่น 
๒. ปัพพัชชา ถือบวช เป็นการเวน้จากการเบียดเบียนกันและกัน 
๓. มาตาปิตุอุปัฏฐาน บา รุงมารดาบิดาของตนใหเ้ป็นสุข 
บุญกิริยาวัตถุ คือ สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งการบา เพ็ญบุญ 
มี ๓ อย่าง คือ 
๑. ทานมัย บุญสา เร็จดว้ยการบริจาคทาน 
๒. สีลมัย บุญสา เร็จดว้ยการรักษาศีล 
๓. ภาวนามัย บุญสา เร็จดว้ยการเจริญภาวนา 
จตุกะ หมวด ๔ 
วุฑฒิ คือ ธรรมเป็นเครื่องเจริญ ๔ อย่าง 
๑. สัปปุริสสังเสวะ คบท่านผูป้ระพฤติชอบดว้ยกาย วาจา ใจ ที่เรียกว่า สัตบุรุษ 
๒. สัทธัมมัสสวนะ ฟังคา สัง่สอนของท่านโดยเคารพ 
๓. โยนิโสมนสิการ ตริตรองใหรู้จั้กสิ่งที่ดีหรือชัว่โดยอุบายที่ชอบ 
๔. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรมซึ่งไดต้รองเห็นแลว้ 
จักร คือ ธรรมประดุจวงล้อ ๔ 
๑. ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในประเทศอันสมควร 
๒. สัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ 
๓. อัตตสัมมาปณิธิ ตงั้ตนไวช้อบ 
๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเป็นผูไ้ดท้า ความดีไวใ้นปางก่อน 
อคติ คือ ความลาเอียง ๔ 
๑. ฉันทาคติ ลา เอียงเพราะรักใคร่กัน 
๒. โทสาคติ ลา เอียงเพราะไม่ชอบกัน 
๓. โมหาคติ ลา เอียงเพราะเขลา 
๔. ภยาคติ ลา เอียงเพราะกลัว 
ปธาน คือ ความเพียร ๔ อย่าง 
๑. สังวรปธาน เพียรระวังไม่ใหบ้าปเกิดขึ้นในสันดาน 
๒. ปหานปธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแลว้ 
๓. ภาวนาปธาน เพียรใหกุ้ศลเกิดขึ้นในสันดาน 
๔. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแลว้ไม่ใหเ้สื่อมไป
อธิษฐานธรรม คือ ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ 
เพื่อคุณอันยิ่ง คือ มรรค ผล และนิพพาน 
๑. ปัญญา รอบรูส้ิ่งที่ควรรู้ 
๒. สัจจะ ความจริงใจคือประพฤติสิ่งใดก็ใหไ้ดจ้ริง 
๓. จาคะ สละสิ่งที่เป็นขา้ศึกแก่ความจริงใจ 
๔. อุปสมะ สงบใจจากสิ่งที่เป็นขา้ศึกแก่ความสงบ 
อิทธิบาท คือ คุณเครื่องให้สา เร็จความประสงค์ ๔ 
๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนนั้ 
๒. วิริยะ เพียรหมัน่ประกอบสิ่งนนั้ 
๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนนั้ไม่วางธุระ 
๔. วิมังสา หมัน่ตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนนั้ 
ฉันทะ เป็นขอ้ที่สา คัญที่สุด เพราะเมื่อเกิดความพอใจแลว้ ความเพียรพยายาม เอาใจใส่ 
หมัน่ตริตรอง ย่อมตามมา 
อิทธิบาท ๔ เป็นธรรมอันยิ่งที่ทา ลายนิวรณ์ ๕ 
ควรทา ความไม่ประมาทในที่ ๔ สถาน 
๑. ในการละกายทุจริต ประพฤติกายสุจริต 
๒. ในการละวจีทุจริต ประพฤติวจีสุจริต 
๓. ในการละมโนทุจริต ประพฤติมโนสุจริต 
๔. ในการละความเห็นผิด ทา ความเห็นใหถู้ก 
อีกอย่างหนึ่ง 
๑. ระวังใจไม่ใหก้า หนัดในอารมณ์ เป็นที่ตงั้แห่งความกา หนัด 
๒. ระวังใจไม่ใหขั้ดเคืองในอารมณ์ เป็นที่ตงั้แห่งความขัดเคือง 
๓. ระวังใจไม่ใหห้ลงใหลในอารมณ์ เป็นที่ตงั้แห่งความหลง 
๔. ระวังใจไม่ใหมั้วเมาในอารมณ ์ เป็นที่ตงั้แห่งความมัวเมา 
พรหมวิหาร ๔ คือ ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่ 
๑. เมตตา ความรักใคร่ ปรารถนาจะใหเ้ขาเป็นสุข 
๒. กรุณา ความสงสาร คิดช่วยใหพ้น้ทุกข์ 
๓. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื่อผูอื้่นไดดี้ 
๔. อุเบกขา ความวางเฉย ไม่ดีใจ ไม่เสียใจเมื่อผูอื้่นถึงความวิบัติ 
อริยสัจ ๔ 
๑. ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ 
๒. สมุทัย คอื เหตุใหเ้กิดทุกข์ (ตัณหา ๓ คอื กามตัณหา อยากในกาม ภวตัณหา 
อยากมี-เป็น วิภวตัณหา ไม่อยากมี-เป็น) 
๓. นิโรธ คอื ความดับทุกข์ 
๔. มรรค คอื ขอ้ปฏิบัติใหถึ้งความดับทุกข์ 
ในอริยสัจ ๔ ขอ้นี้ ทุกข์ เป็นสิ่งควรกา หนดรู้ , สมุทัย เป็นสิ่งที่ควรกา หนดละ, 
นิโรธ เป็นสิ่งที่ควรกระทา ใหแ้จง้, มรรค เป็นสิ่งที่ควรทา ใหเ้จริญ. 
ปัญจกะ หมวด ๕ 
อนันตริยกรรม ๕ 
๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา 
๒. ปิตุฆาต ฆ่าบิดา 
๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์ 
๔. โลหิตุปบาท ทา รา้ยพระพุทธเจา้จนถึงยังพระโลหิตใหห้อ้ขึ้น 
๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ใหแ้ตกจากกัน ฯ
กรรมทงั้ ๕ นี้ เป็นกรรมอันหนัก หา้มสวรรค์ หา้มนิพพาน 
ตงั้อยู่ในฐานปาราชิกของผูนั้บถือพระพุทธศาสนา 
ขอ้ที่หนักที่สุดของกรรมทงั้ ๕ คือ สังฆเภท เพราะย่อมทา ลายประโยชน์ของคนส่วนมาก 
เป็นการทา ลายพระพุทธศาสนาไม่ใหยั้ง่ยืน 
อภิณหปัจจเวกขณะ ๕ 
๑. ควรพิจารณาทุกๆ วันว่า เรามีความแก่เป็นธรรมดา เราไม่สามารถล่วงพน้ความแก่ไปได้ 
๒. ควรพิจารณาทุกๆ วันว่า เรามีความเจ็บเป็นธรรมดา เราไม่สามารถล่วงพน้ความเจ็บไปได้ 
๓. ควรพิจารณาทุกๆ วันว่า เรามีความตายเป็นธรรมดา เราไม่สามารถล่วงพน้ความตายไปได้ 
๔. ควรพิจารณาทุกๆ วันว่า เรามีกรรมเป็นจองตัว เราทา ดีจักไดดี้ ทา ชัว่จักไดชั้ว่ 
ขันธ์ ๕ ( กอง หรือหมวดหมู่) 
๑. รูป คอื การประชุมของธาตุ ๔ (ดิน น้า ลม ไฟ) 
๒. เวทนา คอื การเสวยอารมณ์ สุข ทุกข์ ไม่สุขไม่ทุกข์ 
๓. สัญญา คอื ความจา ไดห้มายรู้(ในอายตนะภายนอก) 
๔. สังขาร คอื เจตสิกธรรม คือ อารมณ์ที่ปรุงแต่งจิตใหเ้ป็นส่วนดี เรียก กุศล 
ใหเ้ป็นส่วนชัว่ เรียก อกุศล ใหเ้ป็นกลางๆ เรียก อัพยากฤต 
๕. วิญญาณ คอื การรับรูอ้ารมณ์ 
ธัมมัสสวนานิสงส์ คอื อานิสงส์แห่งการฟังธรรม ๕ 
๑. ผูฟั้งย่อมไดฟั้งสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง 
๒. สิ่งใดไดเ้คยฟังแลว้ แต่ไม่เขา้ใจชัด ย่อมเขา้ใจสิ่งนนั้ชัด 
๓. บรรเทาความสงสัยเสียได้ 
๔. ทา ความเห็นใหถู้กตอ้งได้ 
๕. จิตของผูฟั้งย่อมผ่องใส 
พลธรรม คอื ธรรมเป็นกา ลังอุดหนุนใหส้า เร็จกิจที่พึงทา ๕ อย่าง 
๑. สัทธา ความเชื่อ ๒. วิริยะ ความเพียร 
๓. สติ ความระลึกได้ ๔. สมาธิ ความตงั้ใจมัน่ 
๕. ปัญญา ความรอบรู้ 
พลธรรมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อินทรีย์ ๕ เพราะเป็นใหญ่ในกิจที่ตนพึงทา 
ฉักกะ หมวด ๖ 
คารวะ ๖ 
๑. พุทธคารวตา ความเคารพในพระพุทธเจา้ 
๒. ธัมมคารวตา ความเคารพในพระธรรม 
๓. สังฆคารวตา ความเคารพในพระสงฆ์ 
๔. สิกขาคารวตา ความเคารพในการศึกษา 
๕. อัปมาทคารวตา ความเคารพในความไม่ประมาท 
๖. ปฏิสันถารคารวตา ความเคารพในปฏิสันถาร คือการตอ้นรับ 
สาราณียธรรม คือ ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึง ๖ 
๑. เมตตากายกรรม เขา้ไปตงั้กายกรรมประกอบดว้ยเมตตา ในเพื่อน สพรหมจรรย์ 
ทงั้ต่อหน้าและลับหลัง 
๒. เมตตาวจีกรรม เขา้ไปตงั้วจีกรรมประกอบดว้ยเมตตา ในเพื่อน สพรหมจรรย์ 
ทงั้ต่อหน้าและลับหลัง 
๓. เมตตามโนกรรม เขา้ไปตงั้มโนกรรมประกอบดว้ยเมตตา ในเพื่อน สพรหมจรรย์ 
ทงั้ต่อหน้าและลับหลัง
๔. สาธารณโภคี แบง่ปันลาภที่ตนไดม้าโดยชอบธรรม ใหแ้ก่เพื่อน สพรหมจรรย์ 
ไม่หวงบริโภคจา เพาะผูเ้ดียว 
๕. สีลสามัญญตา รักษาศีลบริสุทธ์ิเสมอกันกับเพื่อนสพรหมจรรย์ 
ไม่ทา ตนใหเ้ป็นที่รังเกียจของผูอื้่น 
๖. ทิฏฐิสามัญญตา มีความเห็นร่วมกันกับเพื่อนสพรหมจรรย์ ไม่วิวาทกับใคร ๆ 
เพราะมีความเห็นผิดกัน 
สัปปุริสธรรม ธรรมของสัตบุรุษ(คนดี) ๗ 
๑. ธัมมัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กเหตุ 
๒. อัตถัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กผล 
๓. อัตตัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กตน 
๔. มัตตัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กประมาณ 
๕. กาลัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กกาล 
๖. ปริสัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กบริษัท/ประชุมชน 
๗. ปุคคลปโรปรัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กบคุคล 
อริยทรัพย์ ทรัพย์คือความดีอย่างประเสริฐ มี ๗ คอื 
๑. สัทธา เชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ 
๒. ศีล รักษากายวาจาใหเ้รียบรอ้ย 
๓. หิริ ความละอายต่อบาปทุจริต 
๔. โอตตัปปะ ความสะดุง้กลัวต่อบาป 
๕. พาหุสัจจะ ความเป็นคนเคยไดยิ้นไดฟั้งมามาก 
๖. จาคะ สละใหปั้นสิ่งของ ๆ ตนแก่คนที่ควรใหปั้น 
๗. ปัญญา รอบรูส้ิ่งที่เป็นประโยชน์ และไม่เป็นประโยชน์ 
อฏัฐกะ หมวด ๘ 
โลกธรรม ๘ 
คอื ธรรมที่ครอบงา สัตว์โลกอยู่ แลสัตว์โลกย่อมเป็นไปตามธรรมนนั้ เรียกว่า โลกธรรม 
คือ 
ฝ่ายอิฏฐารมณ์(ดี) ฝ่ายอนิฏฐารมณ์ (ไม่ดี) 
ลาภะ มีลาภ อลาภะ เสื่อมลาภ 
ยสะ มียศ อยสะ เสื่อมยศ 
ปสังสา สรรเสริญ นินทา นินทา 
สุขะ สุข ทุกขะ ทุกข์ 
ทสกะ หมวด ๑๐ 
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ 
คอื วัตถุอันเป็นที่ตงั้แห่งการบา เพ็ญบุญ ๑๐ อย่าง 
๑. ทานมัย บุญสา เร็จดว้ยการใหท้าน 
๒. สีลมัย บุญสา เร็จดว้ยการรักษาศีล 
๓. ภาวนามัย บุญสา เร็จดว้ยการเจริญภาวนา 
๔. อปจายนมัย บุญสา เร็จดว้ยการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตนต่อ ผูใ้หญ่ 
๕. เวยยาวัจจมัย บุญสา เร็จดว้ยการช่วยเหลือขวนขวายในกิจที่ชอบ 
๖. ปัตติทานมัย บุญสา เร็จดว้ยการใหส้่วนบุญ 
๗. ปัตตานุโมทนามัย บุญสา เร็จดว้ยการอนุโมทนาส่วนบุญ 
๘. ธัมมัสสวนมัย บุญสา เร็จดว้ยการฟังธรรม 
๙. ธัมมเทศนามัย บุญสา เร็จดว้ยการแสดงธรรม 
๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ การทา ความเห็นใหต้รง
ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ นี้ ขอ้ ๔-๕ จัดเป็น ศีล, ขอ้ ๖-๗ จัดเป็น ทาน, ขอ้ ๘- 
๙ จัดเป็น ภาวนา ส่วนขอ้ ๑๐ จัดลงไดท้งั้ ๓ ประการ 
คิหิปฏิบัติ 
เป็นธรรมอันเป็นขอ้ปฏิบัติสา หรับคฤหัสถ์ หรอืฆราวาส 
ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ คอื ประโยชน์ในปัจจุบัน ๔ 
๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยความหมัน่เพียรเอาจริงเอาจัง 
๒. อารักขสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยความรักษา คุม้ครองมิใหภ้ารกิจบกพร่อง 
๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชัว่เป็นมิตร 
๔. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควร 
สัมปรายิกัตถประโยชน์ คอื ประโยชน์ในภายหน้า ๔ 
๑. สัทธาสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยศรัทธา 
๒. สีลสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยศีล 
๓. จาคสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยการบริจาค 
๔. ปัญญาสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยปัญญา 
สังคหวัตถุ คอื ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจกัน ๔ 
๑. ทาน ใหปั้นสิ่งของ ๆ ตนแก่ผูท้ี่ควรใหปั้น 
๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน 
๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผูอื้่น 
๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว 
ฆราวาสธรรม คือธรรมของฆราวาส/ผูค้รองเรือน ๔ 
๑. สัจจะ ซื่อสัตย์ต่อกัน ๒. ทมะ รูจั้กข่มจิตของตน เอาใจเขามาใส่ใจเรา 
๓. ขันติ อดทน ๔. จาคะ สละใหปั้นสิ่งของ ๆ ตนแก่ผูอื้่น 
มิตรปฏิรูป คือ คนเทียมมิตร/มิตรไม่แท้ ๔ จา พวก 
๑. คนปอกลอก ๒. คนดีแต่พูด 
๓. คนหัวประจบ ๔. คนชักชวนในทางฉิบหาย 
คนปอกลอก มีลักษณะ ๔ 
๑. คิดเอาแต่ไดฝ้่ายเดียว 
๒. เสียใหน้้อย คิดเอาใหไ้ดม้าก 
๓. เมื่อเห็นภัยแก่ตัว จึงรับทา กิจของเพื่อน 
๔. คบเพื่อนเพราะเห็นแก่ประโยชน์ของตัว 
คนดีแต่พูด มีลักษณะ ๔ 
๑. เก็บเอาสิ่งล่วงแลว้มาปราศรัย 
๒. อา้งเอาสิ่งที่ยังไม่มีมาปราศรัย 
๓. สงเคราะห์ดว้ยสิ่งหาประโยชน์มิได้ 
๔. ออกปากพึ่งมิได้ 
คนหัวประจบ มีลักษณะ ๔ 
๑. จะทา ความชัว่ ก็คลอ้ยตาม 
๒. จะทา ความดี ก็คลอ้ยตาม 
๓. ต่อหน้า ว่าสรรเสริญ 
๔. ลับหลัง ตงั้นินทา
คนชักชวนในทางฉิบหาย มีลักษณะ ๔ 
๑. ชักชวนดื่มน้า เมา 
๒. ชักชวนเที่ยวกลางคืน 
๓. ชักชวนใหมั้วเมาในการเล่น 
๔. ชักชวนในการเล่นพนัน 
มิตรแท้ ๔ จา พวก 
๑. มิตรมีอุปการะ ๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ 
๓. มิตรแนะประโยชน์ ๔. มิตรมีความรักใคร่ 
มิตรมีอุปการะ มีลักษณะ ๔ 
๑. ป้องกันเพื่อนผูป้ระมาทแลว้ 
๒. ป้องกันทรัพย์สมบัติของเพื่อนผูป้ระมาท 
๓. เมื่อมีภัย เป็นที่พึ่งพา นักได้ 
๔. เมื่อมีธุระ ช่วยออกทรัพย์ใหเ้กินกว่าที่ออกปาก 
มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ มีลักษณะ ๔ 
๑. ขยายความลับของตนแก่เพื่อน 
๒. ปิดความลับของเพื่อนไม่ใหแ้พร่งพราย 
๓. ไม่ละทิ้งในยามวิบัติ 
๔. แมชี้วิตก็อาจสละแทนได้ 
มิตรแนะประโยชน์ มีลักษณะ ๔ 
๑. หา้มไม่ใหท้า ความชัว่ 
๒. แนะนา ใหต้งั้อยู่ในความดี 
๓. ใหฟั้งสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง 
๔. บอกทางสวรรค์ให้ 
มิตรมีความรักใคร่ มีลักษณะ ๔ 
๑. ทุกข์ ๆ ดว้ย ๒. สุข ๆ ดว้ย 
๓. โตเ้ถียงคนที่พูดติเตียนเพื่อน 
๔. รับรองคนที่พูดสรรเสริญเพื่อน 
สมบัติของอุบาสก ๕ ประการ 
๑. ประกอบดว้ยศรัทธา ๒. มีศีลบริสุทธ์ิ 
๓. ไม่ถือมงคลต่นืข่าว คอื เชื่อกรรมไม่เชื่อมงคล 
๔. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพุทธศาสนา (พาหิรทักขิไนย) 
๕. บา เพ็ญบุญแต่ในพุทธศาสนา 
มิจฉาวณิชชา การค้าขายที่ผิด ๕ 
๑. คา้ขายเครื่องประหาร ๒. คา้ขายมนุษย์ 
๓. คา้ขายสัตว์เป็นสา หรับฆ่าเพื่อเป็นอาหาร 
๔. คา้ขายน้า เมา ๕. คา้ขายยาพิษ 
ทิศ ๖ (ตรัสสอนแก่ สิงคาลกมาณพ) 
๑. ปุรัตถิมทิศ คือ ทิศเบื้องหน้า ไดแ้ก่ มารดาบิดา 
๒. ทักขิณทิศ คือ ทิศเบื้องขวา ไดแ้ก่ ครูอาจารย์ 
๓. ปัจฉิมทิศ คอื ทิศเบื้องหลัง ไดแ้ก่ บุตรภรรยา 
๔. อุตตรทิศ คอื ทิศเบื้องซา้ย ไดแ้ก่ มิตร
๕. เหฏฐิมทิศ คอื ทิศเบื้องต่า ไดแ้ก่ บ่าวไพร่ 
๖. อุปริมทิศ คอื ทิศเบื้องบน ไดแ้ก่ สมณพราหมณ์ 
บุตรพึงบา รุงบิดามารดาด้วยสถาน ๕ 
๑. ท่านไดเ้ลี้ยงมาแลว้ เลี้ยงท่านตอบ 
๒. ช่วยทา กิจธุระของท่าน ๓. ดา รงวงศ์สกุล 
๔. ประพฤติตนใหเ้ป็นผูค้วรรับทรัพย์มรดก 
๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแลว้ ทา บุญอุทิศใหท้่าน 
มารดาบิดา ย่อมอนุเคราะห์บุตรด้วยสถาน ๕ 
๑. หา้มมิใหท้า ความชัว่ ๒. ใหต้งั้อยู่ในความดี 
๓. ใหศึ้กษาศิลปวิทยา ๔. หาภรรยาที่สมควรให้ 
๕. มอบทรัพย์ใหใ้นสมัย 
ศิษย์พึงบา รุงครูอาจารย์ด้วยสถาน ๕ 
๑. ดว้ยลุกขึ้นยืนรับ ๒. ดว้ยเขา้ไปยืนคอยรับใช้ 
๓. ดว้ยเชื่อฟัง ๔. ดว้ยอุปัฏฐาก 
๕. ดว้ยเรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ 
ครูอาจารย์ย่อมอนุเคราะห์ศิษย์ด้วยสถาน ๕ 
๑. แนะนา ดี ๒. ใหเ้รียนดี 
๓. บอกศิลปใหส้ิ้นเชิง ไม่ปิดบังอา พราง 
๔. ยกย่อง ใหป้รากฏในเพื่อนฝูง 
๕. ทา ความป้องกันในทิศทงั้หลาย 
สมณพรามหณ์ ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วยสถาน ๖ 
๑. หา้มไม่ใหท้า ความชัว่ ๒. ใหต้งั้อยู่ในความดี 
๓. อนุเคราะห์ดว้ยน้า ใจงาม ๔. ใหไ้ดฟั้งสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง 
๕. ทา สิ่งที่เคยฟังแลว้ใหแ้จ่มแจง้ ๖. บอกทางสวรรค์ให้ 
อบายมุข ๖ คอื เหตุเครื่องฉิบหาย /ทางแห่งความเสื่อม ๖ อย่าง 
๑. ดื่มน้า เมา ๒. เที่ยวกลางคืน 
๓. เที่ยวดูการเล่น ๔. เล่นการพนัน 
๕. คบคนชัว่เป็นมิตร ๖. เกียจครา้นทา การงาน 
ดื่มน้าเมา มีโทษ ๖ 
๑. เสียทรัพย์ ๒. ก่อการทะเลาะวิวาท 
๓. เกิดโรค ๔. ตอ้งติเตียน 
๕. ไม่รูจั้กอาย ๖. ทอนกา ลังปัญญา 
เที่ยวกลางคืน มีโทษ ๖ 
๑. ชื่อว่าไม่รักษาตัว ๒. ชื่อว่าไม่รักษาลูกเมีย 
๓. ชื่อว่าไม่รักษาทรัพย์สมบัติ ๔. เป็นที่ระแวงของคนทงั้หลาย 
๕. มักถูกใส่ความ ๖. ไดรั้บความลา บากมาก 
เที่ยวดูการเล่น มีโทษตามวัตถุที่ไปดู ๖ 
๑. รา ที่ไหนไปที่นัน่ ๒. ขับรอ้งที่ไหนไปที่นัน่ 
๓. ดีดสีตีเป่าที่ไหนไปที่นัน่ ๔. เสภาที่ไหนไปที่นัน่ 
๕. เพลงที่ไหนไปที่นัน่ ๖. เถิดเทิงที่ไหนไปที่นัน่
เล่นการพนัน มีโทษ ๖ 
๑. เมื่อชนะย่อมก่อเวร 
๒. เมื่อแพย้่อมเสียดายทรัพย์ที่เสียไป 
๓. ทรัพย์ย่อมฉิบหาย 
๔. ไม่มีใครเชื่อถือถอ้ยคา 
๕. เป็นที่หมิ่นประมาทของเพื่อน 
๖. ไม่มีใครประสงค์จะแต่งงานดว้ย 
คบคนชั่วเป็นมิตร มีโทษตามบุคคลที่คบ ๖ 
๑. นา ใหเ้ป็นนักเลงการพนัน 
๒. นา ใหเ้ป็นนักเลงเจา้ชู้ 
๓. นา ใหเ้ป็นนักเลงสุรา 
๔. นา ใหเ้ป็นคนลวงเขาดว้ยของปลอม 
๕. นา ใหเ้ป็นคนลวงเขาซึ่งหน้า 
๖. นา ใหเ้ป็นนักเลงหัวไม้ 
เกียจคร้านทา การงาน มีโทษ ๖ 
๑. มักอา้งว่า หนาวนัก แลว้ไม่ทา งาน 
๒. มักอา้งว่า รอ้นนัก แลว้ไม่ทา งาน 
๓. มักอา้งว่า เวลาเย็นแลว้ แลว้ไม่ทา งาน 
๔. มักอา้งว่า ยังเชา้อยู่ แลว้ไม่ทา งาน 
๕´ มักอา้งว่า หิวนัก แลว้ไม่ทา งาน 
๖. มักอา้งว่า กระหายนัก แลว้ไม่ทา งาน 
************************** 
“โย โข อานนฺท ภิกฺขุ วา ภิกฺขุนี วา อุปาสโก วา อุปาสิกา วา 
ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน วิหรติ สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี โส 
ตถาคต สกฺกโรติ ครุกโรติ มาเนติ ปูเชติ ปรมาย ปูชาย.” 
ดูก่อนอานนท์ ผูใ้ดแล จะเป็นภิกษุก็ตาม 
เป็นภิกษุณีก็ตาม เป็นอุบาสกก็ตาม เป็นอุบาสิกาก็ตาม 
ถา้เป็นผูป้ระพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบยิ่ง 
ปฏิบัติธรรมอยู่ ผูน้นั้ชื่อว่า สักการะ เคารพ นับถือ 
บูชาพระตถาคต ดว้ยการบูชาอย่างยิ่ง 
มหาปรินิพพานสูตร ๑๐/๑๒๙ 
รวบรวมและเรียบเรียงโดย 
พระธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร 
ครูพระสอนศีลธรรมฯ 
สังกัด มมร. วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย 
วัดชากหมาก ต.สา นักทอ้น อ.บา้นฉาง จ.ระยอง 
๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๓

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
Punya Benja
 
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าพระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
Kasetsart University
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
CUPress
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
Onpa Akaradech
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
Maha Duangthip Dhamma
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
Padvee Academy
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
Evesu Goodevening
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
Onpa Akaradech
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
Tongsamut vorasan
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
Padvee Academy
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
Tongsamut vorasan
 

Was ist angesagt? (20)

พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าพระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
เกด
เกดเกด
เกด
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 

Ähnlich wie รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
Onpa Akaradech
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
Net'Net Zii
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
Orraya Swager
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
Net'Net Zii
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
Taweedham Dhamtawee
 
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธ
reemary
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ampy48
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
Onpa Akaradech
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
 

Ähnlich wie รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี (20)

073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธ
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
Onet social
Onet socialOnet social
Onet social
 
Onet social
Onet socialOnet social
Onet social
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 

Mehr von Theeraphisith Candasaro

Mehr von Theeraphisith Candasaro (20)

หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
 
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีเอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
 
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
 
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATEแผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
 
e-Donatin
e-Donatine-Donatin
e-Donatin
 
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อคู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
 
คำแผ่บุญกุศล
คำแผ่บุญกุศลคำแผ่บุญกุศล
คำแผ่บุญกุศล
 
แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์
 
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาคคำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
 
หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
Put the right man on the right job
Put the right man on the right jobPut the right man on the right job
Put the right man on the right job
 
ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์
 
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติโครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
 
คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ
 

รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี

  • 1. วิชา ธรรม สา หรับธรรมศึกษา ตรี ทุกะ หมวด ๒ ธรรมมีอุปการะมาก (พหุการธรรม) ๒ อย่าง ๑. สติ ความระลึกได้ ๒. สัมปชัญญะ ความรูตั้ว พหุการธรรม คือ ธรรมอันเป็นเครื่องป้องกันมิใหเ้กิความผิดพลาด พลงั้เผลอ สติเป็นความระลึกไดท้งั้อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ก่อนที่จะคิด จะพูด จะทา เสมือนดวงไฟ สัมปชัญญะ เป็นความรูตั้วทัว่พอ้ง ในขณะคิด พูด หรือ ทา อยู่ เป็นเครื่องสนับสนุนสติใหส้า เร็จตามตอ้งการ เสมือนแสงของดวงไฟ ธรรมคุ้มครองโลก/โลกปาลธรรม ๒ อย่าง ๑. หิริ ความละอายแก่ใจ ๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลัว โลกปาลธรรม คือ ธรรมอันเป็นเครื่องคุง้ครองโลก คือหมู่สัตว์ที่อาศัยอยู่บนพื้นภิภพนี้ใหอ้ยู่เย็นเป็นสุข เรียกอีกอย่างว่า เทวธรรม หิริ เป็นความละอายใจต่อตนเองเมื่อจะประพฤติทุจริตอันเป็นความชัว่ ทงั้ในลับและที่แจง้ โอตตัปปะ เป็นความเกรงกลัวต่อผลของการทา ชัว่ โดยคิดว่า ทา ดีไดดี้ ทา ชัว่ไดชั้ว่ ธรรมอันทา ให้งาม (โสภณธรรม) ๒ อย่าง ๑. ขันติ ความอดทน ๒. โสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม โสภณธรรม คือ ธรรมอันเป็นเครื่องทา ใหบุ้คคลงามดว้ยกาย วาจา และจิตใจ ขันติ เป็นความอดทนต่อความลา บาก การตรากตรา และความเจ็บใจ เป็นเครื่องตัดมูลแห่งอกุศล โสรัจจะ เป็นความสงบเสงี่ยมเรียบรอ้ย มีใจองอาจ สูท้น ไม่วู่วาม คุมสติอารมณ์ใหค้งที่ ใจคอหนักแน่น เป็นเครื่องสนับสนุนขันติใหส้า เร็จประโยชน์ ธรรมอันเป็นขา้ศึกของโสรัจจะ คือ โทสะ บุคคลหาได้ยาก (ทุลลภธรรม) ๒ อย่าง ๑. บุพพการี บุคคลผูท้า อุปการะคุณมาก่อน ๒. กตัญญูกตเวที บุคคลผูรู้อุ้ปการคุณที่คนอื่นทา แลว้และทา ตอบแทน บุพพการี ไดแ้ก่ผูมี้พระคุณมาก่อน ไดท้า ประโยชน์แก่เรามาก่อน มี ๔ จา พวก คือ ๑) บิดามารดา ๒) อุปัชฌาย์อาจารย์ ๓) พระมหากษัตริย์ ๔) พระสัมมาสัมพุทธเจา้ กตัญญูกตเวที ไดแ้ก่ ผูรู้คุ้ณท่านแลว้ทา การตอบแทน มี ๔ จา พวก คือ ๑) บุตรธิดา ๒) สัทธิวิหาริกอันเตวาสิก ๓) ราษฎร ๔) พุทธบริษัท ติกะ หมวด ๓ รัตนะ คือ แก้วอันประเสริฐ ๓ (รัตนตรัย) ๑. พระพุทธเจ้า คอื ท่านผูส้อนใหป้ระชุมชนประพฤติดีปฏิบัติชอบดว้ยกาย วาจา ใจ ตามพระธรรมวินัย ๒. พระธรรม คอื ขอ้ที่เป็นคา สัง่สอนของพระพุทธเจา้
  • 2. ๓. พระสงฆ์ คอื หมู่ชนที่ฟังคา สัง่สอนของท่านแลว้ ปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัย คุณของพระรัตนตรัย ๓ ๑. พระพุทธเจา้รูดี้รูช้อบดว้ยพระองค์เองก่อนแลว้ สอนผูอื้่นใหรู้ต้ามดว้ย ๒. พระธรรมย่อรักษาผูป้ฏิบัติไม่ใหต้กไปสู่โลกที่ชัว่ ๓. พระสงฆ์ปฏิบัติชอบตามคา สัง่สอนของพระพุทธเจา้แลว้ สอนใหผู้อื้่นรูต้ามดว้ย โอวาทของพุทธเจ้า (โอวาทปาติโมกข์) ๓ อย่าง ประวมลคา สัง่สอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ที่เป็นหลักสา คัญ อันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ๑. สพฺพปาปสฺสอกรณ เวน้จากทุจริต คอื ประพฤติชัว่ดว้ยกาย วาจา ใจ ๒. กุสลสฺสูปสมฺปทา ประกอบสุจริต คอื ประพฤติชอบดว้ยกาย วาจา ใจ ๓. สจิตฺตปริโยทปน ทา ใจของตนใหห้มดจดจากเครื่องเศรา้หมองมีโลภ โกรธ หลงเป็นตน้ ทุจริต ๓ อย่าง ๑. กายทุจริต ประพฤติชัว่ดว้ยกาย ๒. วจีทุจริต ประพฤติชัว่ดว้ยวาจา ๓. มโนทุจริต ประพฤติชัว่ดว้ยใจ กายทุจริต มี ๓ อย่าง คือ ๑. ปาณาติบาต ฆ่าสัตว์ ๒. อทินนาทาน ลักของผูอื้่น ๓. กาเมสุมิจฉาจาร ประพฤติผิดในกาม วจีทุจริต มี ๔ อย่าง คือ ๑. มุสาวาท พูดเท็จ ๒. ปิสุณาวาจา พูดส่อเสียด ๓. ผรุสวาจา พูดคา หยาบ ๔. สัมผับปลาปะ พูดเพอ้เจอ้ มโนทุจริต มี ๓ อย่าง คือ ๑. อภิชา โลภอยากไดข้องเขา ๒. พยาบาท ปองรา้ยเขา ๓. มิจฉาทิฏฐิ เห็นผิดจากคลองธรรม สุจริต ๓ อย่าง ๑. กายสุจริต ประพฤติชอบดว้ยกาย ๒. วจีสุจริต ประพฤติชอบดว้ยวาจา ๓. มโนสุจริต ประพฤติชอบดว้ยใจ กายสุจริต ๓ อย่าง คือ ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เวน้จากการฆ่าสัตว์ ๒. อทินนาทานา เวรมณี เวน้จากการลักของที่เขาไม่ให้ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี เวน้จากการประพฤติผิดในกาม วจีสุจริต ๔ อย่าง ๑. มุสาวาทา เวรมณี เวน้จากการพูดเท็จ ๒. ปิสุณาย วาจาย เวรมณี เวน้จากการพูดส่อเสียด ๓. ผรุสาย วาจาย เวรมณี เวน้จากการพูดคา หยาบ ๔. สัมผัปปลาปา เวรมณี เวน้จากการพูดเพอ้เจอ้ มโนสุจริต ๓ อย่าง ๑. อนภิชฌา ไม่โลภอยากไดข้องเขา ๒. อพยาบาท ไม่พยาบาทปองรา้ยเขา ๓. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบตามคลองธรรม อกุศลมูล ๓ อย่าง รากเหงา้ของอกุศล หรือความชัว่ เรียก อกุศลมูล ๑. โลภะ อยากได้ ๒. โทสะ คิดประทุษรา้ย
  • 3. ๓. โมหะ หลงไม่รูจ้ริง อกุศลธรรมอันเป็นตน้เหตุใหเ้กิดอกุศลมูลคือ ตัณหา ทา ใหเ้กิด โลภะ มานะ ทา ใหเ้กิด โทสะ ทิฏฐิ ทา ใหเ้กิด โมหะ ธรรมอันเป็นขา้ศึกของ โลภะ คอื จาคะ ธรรมอันเป็นขา้ศึกของ โทสะ คอื เมตตา กรุณา ธรรมอันเป็นขา้ศึกของ โมหะ คอื ปัญญา กุศลมูล ๓ รากเหงา้ของกุศลหรือความดี เรียก กุศลมูล มี ๓ อย่าง คือ ๑. อโลภะ ไม่อยากได้ ๒. อโทสะ ไม่คิดปองรา้ยเขา ๓. อโมหะ ไม่หลง สัปปุริสบัญญัติ คือ ข้อที่สัตบุรุษตั้งไว้ ๓ อย่าง ๑. ทาน เสียสละสิ่งของ ๆ ตน เพื่อประโยชน์แก่ผูอื้่น ๒. ปัพพัชชา ถือบวช เป็นการเวน้จากการเบียดเบียนกันและกัน ๓. มาตาปิตุอุปัฏฐาน บา รุงมารดาบิดาของตนใหเ้ป็นสุข บุญกิริยาวัตถุ คือ สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งการบา เพ็ญบุญ มี ๓ อย่าง คือ ๑. ทานมัย บุญสา เร็จดว้ยการบริจาคทาน ๒. สีลมัย บุญสา เร็จดว้ยการรักษาศีล ๓. ภาวนามัย บุญสา เร็จดว้ยการเจริญภาวนา จตุกะ หมวด ๔ วุฑฒิ คือ ธรรมเป็นเครื่องเจริญ ๔ อย่าง ๑. สัปปุริสสังเสวะ คบท่านผูป้ระพฤติชอบดว้ยกาย วาจา ใจ ที่เรียกว่า สัตบุรุษ ๒. สัทธัมมัสสวนะ ฟังคา สัง่สอนของท่านโดยเคารพ ๓. โยนิโสมนสิการ ตริตรองใหรู้จั้กสิ่งที่ดีหรือชัว่โดยอุบายที่ชอบ ๔. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรมซึ่งไดต้รองเห็นแลว้ จักร คือ ธรรมประดุจวงล้อ ๔ ๑. ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในประเทศอันสมควร ๒. สัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ ๓. อัตตสัมมาปณิธิ ตงั้ตนไวช้อบ ๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเป็นผูไ้ดท้า ความดีไวใ้นปางก่อน อคติ คือ ความลาเอียง ๔ ๑. ฉันทาคติ ลา เอียงเพราะรักใคร่กัน ๒. โทสาคติ ลา เอียงเพราะไม่ชอบกัน ๓. โมหาคติ ลา เอียงเพราะเขลา ๔. ภยาคติ ลา เอียงเพราะกลัว ปธาน คือ ความเพียร ๔ อย่าง ๑. สังวรปธาน เพียรระวังไม่ใหบ้าปเกิดขึ้นในสันดาน ๒. ปหานปธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแลว้ ๓. ภาวนาปธาน เพียรใหกุ้ศลเกิดขึ้นในสันดาน ๔. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแลว้ไม่ใหเ้สื่อมไป
  • 4. อธิษฐานธรรม คือ ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ เพื่อคุณอันยิ่ง คือ มรรค ผล และนิพพาน ๑. ปัญญา รอบรูส้ิ่งที่ควรรู้ ๒. สัจจะ ความจริงใจคือประพฤติสิ่งใดก็ใหไ้ดจ้ริง ๓. จาคะ สละสิ่งที่เป็นขา้ศึกแก่ความจริงใจ ๔. อุปสมะ สงบใจจากสิ่งที่เป็นขา้ศึกแก่ความสงบ อิทธิบาท คือ คุณเครื่องให้สา เร็จความประสงค์ ๔ ๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนนั้ ๒. วิริยะ เพียรหมัน่ประกอบสิ่งนนั้ ๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนนั้ไม่วางธุระ ๔. วิมังสา หมัน่ตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนนั้ ฉันทะ เป็นขอ้ที่สา คัญที่สุด เพราะเมื่อเกิดความพอใจแลว้ ความเพียรพยายาม เอาใจใส่ หมัน่ตริตรอง ย่อมตามมา อิทธิบาท ๔ เป็นธรรมอันยิ่งที่ทา ลายนิวรณ์ ๕ ควรทา ความไม่ประมาทในที่ ๔ สถาน ๑. ในการละกายทุจริต ประพฤติกายสุจริต ๒. ในการละวจีทุจริต ประพฤติวจีสุจริต ๓. ในการละมโนทุจริต ประพฤติมโนสุจริต ๔. ในการละความเห็นผิด ทา ความเห็นใหถู้ก อีกอย่างหนึ่ง ๑. ระวังใจไม่ใหก้า หนัดในอารมณ์ เป็นที่ตงั้แห่งความกา หนัด ๒. ระวังใจไม่ใหขั้ดเคืองในอารมณ์ เป็นที่ตงั้แห่งความขัดเคือง ๓. ระวังใจไม่ใหห้ลงใหลในอารมณ์ เป็นที่ตงั้แห่งความหลง ๔. ระวังใจไม่ใหมั้วเมาในอารมณ ์ เป็นที่ตงั้แห่งความมัวเมา พรหมวิหาร ๔ คือ ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่ ๑. เมตตา ความรักใคร่ ปรารถนาจะใหเ้ขาเป็นสุข ๒. กรุณา ความสงสาร คิดช่วยใหพ้น้ทุกข์ ๓. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื่อผูอื้่นไดดี้ ๔. อุเบกขา ความวางเฉย ไม่ดีใจ ไม่เสียใจเมื่อผูอื้่นถึงความวิบัติ อริยสัจ ๔ ๑. ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ๒. สมุทัย คอื เหตุใหเ้กิดทุกข์ (ตัณหา ๓ คอื กามตัณหา อยากในกาม ภวตัณหา อยากมี-เป็น วิภวตัณหา ไม่อยากมี-เป็น) ๓. นิโรธ คอื ความดับทุกข์ ๔. มรรค คอื ขอ้ปฏิบัติใหถึ้งความดับทุกข์ ในอริยสัจ ๔ ขอ้นี้ ทุกข์ เป็นสิ่งควรกา หนดรู้ , สมุทัย เป็นสิ่งที่ควรกา หนดละ, นิโรธ เป็นสิ่งที่ควรกระทา ใหแ้จง้, มรรค เป็นสิ่งที่ควรทา ใหเ้จริญ. ปัญจกะ หมวด ๕ อนันตริยกรรม ๕ ๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา ๒. ปิตุฆาต ฆ่าบิดา ๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์ ๔. โลหิตุปบาท ทา รา้ยพระพุทธเจา้จนถึงยังพระโลหิตใหห้อ้ขึ้น ๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ใหแ้ตกจากกัน ฯ
  • 5. กรรมทงั้ ๕ นี้ เป็นกรรมอันหนัก หา้มสวรรค์ หา้มนิพพาน ตงั้อยู่ในฐานปาราชิกของผูนั้บถือพระพุทธศาสนา ขอ้ที่หนักที่สุดของกรรมทงั้ ๕ คือ สังฆเภท เพราะย่อมทา ลายประโยชน์ของคนส่วนมาก เป็นการทา ลายพระพุทธศาสนาไม่ใหยั้ง่ยืน อภิณหปัจจเวกขณะ ๕ ๑. ควรพิจารณาทุกๆ วันว่า เรามีความแก่เป็นธรรมดา เราไม่สามารถล่วงพน้ความแก่ไปได้ ๒. ควรพิจารณาทุกๆ วันว่า เรามีความเจ็บเป็นธรรมดา เราไม่สามารถล่วงพน้ความเจ็บไปได้ ๓. ควรพิจารณาทุกๆ วันว่า เรามีความตายเป็นธรรมดา เราไม่สามารถล่วงพน้ความตายไปได้ ๔. ควรพิจารณาทุกๆ วันว่า เรามีกรรมเป็นจองตัว เราทา ดีจักไดดี้ ทา ชัว่จักไดชั้ว่ ขันธ์ ๕ ( กอง หรือหมวดหมู่) ๑. รูป คอื การประชุมของธาตุ ๔ (ดิน น้า ลม ไฟ) ๒. เวทนา คอื การเสวยอารมณ์ สุข ทุกข์ ไม่สุขไม่ทุกข์ ๓. สัญญา คอื ความจา ไดห้มายรู้(ในอายตนะภายนอก) ๔. สังขาร คอื เจตสิกธรรม คือ อารมณ์ที่ปรุงแต่งจิตใหเ้ป็นส่วนดี เรียก กุศล ใหเ้ป็นส่วนชัว่ เรียก อกุศล ใหเ้ป็นกลางๆ เรียก อัพยากฤต ๕. วิญญาณ คอื การรับรูอ้ารมณ์ ธัมมัสสวนานิสงส์ คอื อานิสงส์แห่งการฟังธรรม ๕ ๑. ผูฟั้งย่อมไดฟั้งสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง ๒. สิ่งใดไดเ้คยฟังแลว้ แต่ไม่เขา้ใจชัด ย่อมเขา้ใจสิ่งนนั้ชัด ๓. บรรเทาความสงสัยเสียได้ ๔. ทา ความเห็นใหถู้กตอ้งได้ ๕. จิตของผูฟั้งย่อมผ่องใส พลธรรม คอื ธรรมเป็นกา ลังอุดหนุนใหส้า เร็จกิจที่พึงทา ๕ อย่าง ๑. สัทธา ความเชื่อ ๒. วิริยะ ความเพียร ๓. สติ ความระลึกได้ ๔. สมาธิ ความตงั้ใจมัน่ ๕. ปัญญา ความรอบรู้ พลธรรมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อินทรีย์ ๕ เพราะเป็นใหญ่ในกิจที่ตนพึงทา ฉักกะ หมวด ๖ คารวะ ๖ ๑. พุทธคารวตา ความเคารพในพระพุทธเจา้ ๒. ธัมมคารวตา ความเคารพในพระธรรม ๓. สังฆคารวตา ความเคารพในพระสงฆ์ ๔. สิกขาคารวตา ความเคารพในการศึกษา ๕. อัปมาทคารวตา ความเคารพในความไม่ประมาท ๖. ปฏิสันถารคารวตา ความเคารพในปฏิสันถาร คือการตอ้นรับ สาราณียธรรม คือ ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึง ๖ ๑. เมตตากายกรรม เขา้ไปตงั้กายกรรมประกอบดว้ยเมตตา ในเพื่อน สพรหมจรรย์ ทงั้ต่อหน้าและลับหลัง ๒. เมตตาวจีกรรม เขา้ไปตงั้วจีกรรมประกอบดว้ยเมตตา ในเพื่อน สพรหมจรรย์ ทงั้ต่อหน้าและลับหลัง ๓. เมตตามโนกรรม เขา้ไปตงั้มโนกรรมประกอบดว้ยเมตตา ในเพื่อน สพรหมจรรย์ ทงั้ต่อหน้าและลับหลัง
  • 6. ๔. สาธารณโภคี แบง่ปันลาภที่ตนไดม้าโดยชอบธรรม ใหแ้ก่เพื่อน สพรหมจรรย์ ไม่หวงบริโภคจา เพาะผูเ้ดียว ๕. สีลสามัญญตา รักษาศีลบริสุทธ์ิเสมอกันกับเพื่อนสพรหมจรรย์ ไม่ทา ตนใหเ้ป็นที่รังเกียจของผูอื้่น ๖. ทิฏฐิสามัญญตา มีความเห็นร่วมกันกับเพื่อนสพรหมจรรย์ ไม่วิวาทกับใคร ๆ เพราะมีความเห็นผิดกัน สัปปุริสธรรม ธรรมของสัตบุรุษ(คนดี) ๗ ๑. ธัมมัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กเหตุ ๒. อัตถัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กผล ๓. อัตตัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กตน ๔. มัตตัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กประมาณ ๕. กาลัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กกาล ๖. ปริสัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กบริษัท/ประชุมชน ๗. ปุคคลปโรปรัญญุตา ความเป็นผูรู้จั้กบคุคล อริยทรัพย์ ทรัพย์คือความดีอย่างประเสริฐ มี ๗ คอื ๑. สัทธา เชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ ๒. ศีล รักษากายวาจาใหเ้รียบรอ้ย ๓. หิริ ความละอายต่อบาปทุจริต ๔. โอตตัปปะ ความสะดุง้กลัวต่อบาป ๕. พาหุสัจจะ ความเป็นคนเคยไดยิ้นไดฟั้งมามาก ๖. จาคะ สละใหปั้นสิ่งของ ๆ ตนแก่คนที่ควรใหปั้น ๗. ปัญญา รอบรูส้ิ่งที่เป็นประโยชน์ และไม่เป็นประโยชน์ อฏัฐกะ หมวด ๘ โลกธรรม ๘ คอื ธรรมที่ครอบงา สัตว์โลกอยู่ แลสัตว์โลกย่อมเป็นไปตามธรรมนนั้ เรียกว่า โลกธรรม คือ ฝ่ายอิฏฐารมณ์(ดี) ฝ่ายอนิฏฐารมณ์ (ไม่ดี) ลาภะ มีลาภ อลาภะ เสื่อมลาภ ยสะ มียศ อยสะ เสื่อมยศ ปสังสา สรรเสริญ นินทา นินทา สุขะ สุข ทุกขะ ทุกข์ ทสกะ หมวด ๑๐ บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คอื วัตถุอันเป็นที่ตงั้แห่งการบา เพ็ญบุญ ๑๐ อย่าง ๑. ทานมัย บุญสา เร็จดว้ยการใหท้าน ๒. สีลมัย บุญสา เร็จดว้ยการรักษาศีล ๓. ภาวนามัย บุญสา เร็จดว้ยการเจริญภาวนา ๔. อปจายนมัย บุญสา เร็จดว้ยการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตนต่อ ผูใ้หญ่ ๕. เวยยาวัจจมัย บุญสา เร็จดว้ยการช่วยเหลือขวนขวายในกิจที่ชอบ ๖. ปัตติทานมัย บุญสา เร็จดว้ยการใหส้่วนบุญ ๗. ปัตตานุโมทนามัย บุญสา เร็จดว้ยการอนุโมทนาส่วนบุญ ๘. ธัมมัสสวนมัย บุญสา เร็จดว้ยการฟังธรรม ๙. ธัมมเทศนามัย บุญสา เร็จดว้ยการแสดงธรรม ๑๐. ทิฏฐุชุกัมม์ การทา ความเห็นใหต้รง
  • 7. ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ นี้ ขอ้ ๔-๕ จัดเป็น ศีล, ขอ้ ๖-๗ จัดเป็น ทาน, ขอ้ ๘- ๙ จัดเป็น ภาวนา ส่วนขอ้ ๑๐ จัดลงไดท้งั้ ๓ ประการ คิหิปฏิบัติ เป็นธรรมอันเป็นขอ้ปฏิบัติสา หรับคฤหัสถ์ หรอืฆราวาส ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ คอื ประโยชน์ในปัจจุบัน ๔ ๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยความหมัน่เพียรเอาจริงเอาจัง ๒. อารักขสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยความรักษา คุม้ครองมิใหภ้ารกิจบกพร่อง ๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชัว่เป็นมิตร ๔. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควร สัมปรายิกัตถประโยชน์ คอื ประโยชน์ในภายหน้า ๔ ๑. สัทธาสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยศรัทธา ๒. สีลสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยศีล ๓. จาคสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยการบริจาค ๔. ปัญญาสัมปทา ถึงพรอ้มดว้ยปัญญา สังคหวัตถุ คอื ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจกัน ๔ ๑. ทาน ใหปั้นสิ่งของ ๆ ตนแก่ผูท้ี่ควรใหปั้น ๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน ๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผูอื้่น ๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว ฆราวาสธรรม คือธรรมของฆราวาส/ผูค้รองเรือน ๔ ๑. สัจจะ ซื่อสัตย์ต่อกัน ๒. ทมะ รูจั้กข่มจิตของตน เอาใจเขามาใส่ใจเรา ๓. ขันติ อดทน ๔. จาคะ สละใหปั้นสิ่งของ ๆ ตนแก่ผูอื้่น มิตรปฏิรูป คือ คนเทียมมิตร/มิตรไม่แท้ ๔ จา พวก ๑. คนปอกลอก ๒. คนดีแต่พูด ๓. คนหัวประจบ ๔. คนชักชวนในทางฉิบหาย คนปอกลอก มีลักษณะ ๔ ๑. คิดเอาแต่ไดฝ้่ายเดียว ๒. เสียใหน้้อย คิดเอาใหไ้ดม้าก ๓. เมื่อเห็นภัยแก่ตัว จึงรับทา กิจของเพื่อน ๔. คบเพื่อนเพราะเห็นแก่ประโยชน์ของตัว คนดีแต่พูด มีลักษณะ ๔ ๑. เก็บเอาสิ่งล่วงแลว้มาปราศรัย ๒. อา้งเอาสิ่งที่ยังไม่มีมาปราศรัย ๓. สงเคราะห์ดว้ยสิ่งหาประโยชน์มิได้ ๔. ออกปากพึ่งมิได้ คนหัวประจบ มีลักษณะ ๔ ๑. จะทา ความชัว่ ก็คลอ้ยตาม ๒. จะทา ความดี ก็คลอ้ยตาม ๓. ต่อหน้า ว่าสรรเสริญ ๔. ลับหลัง ตงั้นินทา
  • 8. คนชักชวนในทางฉิบหาย มีลักษณะ ๔ ๑. ชักชวนดื่มน้า เมา ๒. ชักชวนเที่ยวกลางคืน ๓. ชักชวนใหมั้วเมาในการเล่น ๔. ชักชวนในการเล่นพนัน มิตรแท้ ๔ จา พวก ๑. มิตรมีอุปการะ ๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๓. มิตรแนะประโยชน์ ๔. มิตรมีความรักใคร่ มิตรมีอุปการะ มีลักษณะ ๔ ๑. ป้องกันเพื่อนผูป้ระมาทแลว้ ๒. ป้องกันทรัพย์สมบัติของเพื่อนผูป้ระมาท ๓. เมื่อมีภัย เป็นที่พึ่งพา นักได้ ๔. เมื่อมีธุระ ช่วยออกทรัพย์ใหเ้กินกว่าที่ออกปาก มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ มีลักษณะ ๔ ๑. ขยายความลับของตนแก่เพื่อน ๒. ปิดความลับของเพื่อนไม่ใหแ้พร่งพราย ๓. ไม่ละทิ้งในยามวิบัติ ๔. แมชี้วิตก็อาจสละแทนได้ มิตรแนะประโยชน์ มีลักษณะ ๔ ๑. หา้มไม่ใหท้า ความชัว่ ๒. แนะนา ใหต้งั้อยู่ในความดี ๓. ใหฟั้งสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง ๔. บอกทางสวรรค์ให้ มิตรมีความรักใคร่ มีลักษณะ ๔ ๑. ทุกข์ ๆ ดว้ย ๒. สุข ๆ ดว้ย ๓. โตเ้ถียงคนที่พูดติเตียนเพื่อน ๔. รับรองคนที่พูดสรรเสริญเพื่อน สมบัติของอุบาสก ๕ ประการ ๑. ประกอบดว้ยศรัทธา ๒. มีศีลบริสุทธ์ิ ๓. ไม่ถือมงคลต่นืข่าว คอื เชื่อกรรมไม่เชื่อมงคล ๔. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพุทธศาสนา (พาหิรทักขิไนย) ๕. บา เพ็ญบุญแต่ในพุทธศาสนา มิจฉาวณิชชา การค้าขายที่ผิด ๕ ๑. คา้ขายเครื่องประหาร ๒. คา้ขายมนุษย์ ๓. คา้ขายสัตว์เป็นสา หรับฆ่าเพื่อเป็นอาหาร ๔. คา้ขายน้า เมา ๕. คา้ขายยาพิษ ทิศ ๖ (ตรัสสอนแก่ สิงคาลกมาณพ) ๑. ปุรัตถิมทิศ คือ ทิศเบื้องหน้า ไดแ้ก่ มารดาบิดา ๒. ทักขิณทิศ คือ ทิศเบื้องขวา ไดแ้ก่ ครูอาจารย์ ๓. ปัจฉิมทิศ คอื ทิศเบื้องหลัง ไดแ้ก่ บุตรภรรยา ๔. อุตตรทิศ คอื ทิศเบื้องซา้ย ไดแ้ก่ มิตร
  • 9. ๕. เหฏฐิมทิศ คอื ทิศเบื้องต่า ไดแ้ก่ บ่าวไพร่ ๖. อุปริมทิศ คอื ทิศเบื้องบน ไดแ้ก่ สมณพราหมณ์ บุตรพึงบา รุงบิดามารดาด้วยสถาน ๕ ๑. ท่านไดเ้ลี้ยงมาแลว้ เลี้ยงท่านตอบ ๒. ช่วยทา กิจธุระของท่าน ๓. ดา รงวงศ์สกุล ๔. ประพฤติตนใหเ้ป็นผูค้วรรับทรัพย์มรดก ๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแลว้ ทา บุญอุทิศใหท้่าน มารดาบิดา ย่อมอนุเคราะห์บุตรด้วยสถาน ๕ ๑. หา้มมิใหท้า ความชัว่ ๒. ใหต้งั้อยู่ในความดี ๓. ใหศึ้กษาศิลปวิทยา ๔. หาภรรยาที่สมควรให้ ๕. มอบทรัพย์ใหใ้นสมัย ศิษย์พึงบา รุงครูอาจารย์ด้วยสถาน ๕ ๑. ดว้ยลุกขึ้นยืนรับ ๒. ดว้ยเขา้ไปยืนคอยรับใช้ ๓. ดว้ยเชื่อฟัง ๔. ดว้ยอุปัฏฐาก ๕. ดว้ยเรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ ครูอาจารย์ย่อมอนุเคราะห์ศิษย์ด้วยสถาน ๕ ๑. แนะนา ดี ๒. ใหเ้รียนดี ๓. บอกศิลปใหส้ิ้นเชิง ไม่ปิดบังอา พราง ๔. ยกย่อง ใหป้รากฏในเพื่อนฝูง ๕. ทา ความป้องกันในทิศทงั้หลาย สมณพรามหณ์ ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วยสถาน ๖ ๑. หา้มไม่ใหท้า ความชัว่ ๒. ใหต้งั้อยู่ในความดี ๓. อนุเคราะห์ดว้ยน้า ใจงาม ๔. ใหไ้ดฟั้งสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง ๕. ทา สิ่งที่เคยฟังแลว้ใหแ้จ่มแจง้ ๖. บอกทางสวรรค์ให้ อบายมุข ๖ คอื เหตุเครื่องฉิบหาย /ทางแห่งความเสื่อม ๖ อย่าง ๑. ดื่มน้า เมา ๒. เที่ยวกลางคืน ๓. เที่ยวดูการเล่น ๔. เล่นการพนัน ๕. คบคนชัว่เป็นมิตร ๖. เกียจครา้นทา การงาน ดื่มน้าเมา มีโทษ ๖ ๑. เสียทรัพย์ ๒. ก่อการทะเลาะวิวาท ๓. เกิดโรค ๔. ตอ้งติเตียน ๕. ไม่รูจั้กอาย ๖. ทอนกา ลังปัญญา เที่ยวกลางคืน มีโทษ ๖ ๑. ชื่อว่าไม่รักษาตัว ๒. ชื่อว่าไม่รักษาลูกเมีย ๓. ชื่อว่าไม่รักษาทรัพย์สมบัติ ๔. เป็นที่ระแวงของคนทงั้หลาย ๕. มักถูกใส่ความ ๖. ไดรั้บความลา บากมาก เที่ยวดูการเล่น มีโทษตามวัตถุที่ไปดู ๖ ๑. รา ที่ไหนไปที่นัน่ ๒. ขับรอ้งที่ไหนไปที่นัน่ ๓. ดีดสีตีเป่าที่ไหนไปที่นัน่ ๔. เสภาที่ไหนไปที่นัน่ ๕. เพลงที่ไหนไปที่นัน่ ๖. เถิดเทิงที่ไหนไปที่นัน่
  • 10. เล่นการพนัน มีโทษ ๖ ๑. เมื่อชนะย่อมก่อเวร ๒. เมื่อแพย้่อมเสียดายทรัพย์ที่เสียไป ๓. ทรัพย์ย่อมฉิบหาย ๔. ไม่มีใครเชื่อถือถอ้ยคา ๕. เป็นที่หมิ่นประมาทของเพื่อน ๖. ไม่มีใครประสงค์จะแต่งงานดว้ย คบคนชั่วเป็นมิตร มีโทษตามบุคคลที่คบ ๖ ๑. นา ใหเ้ป็นนักเลงการพนัน ๒. นา ใหเ้ป็นนักเลงเจา้ชู้ ๓. นา ใหเ้ป็นนักเลงสุรา ๔. นา ใหเ้ป็นคนลวงเขาดว้ยของปลอม ๕. นา ใหเ้ป็นคนลวงเขาซึ่งหน้า ๖. นา ใหเ้ป็นนักเลงหัวไม้ เกียจคร้านทา การงาน มีโทษ ๖ ๑. มักอา้งว่า หนาวนัก แลว้ไม่ทา งาน ๒. มักอา้งว่า รอ้นนัก แลว้ไม่ทา งาน ๓. มักอา้งว่า เวลาเย็นแลว้ แลว้ไม่ทา งาน ๔. มักอา้งว่า ยังเชา้อยู่ แลว้ไม่ทา งาน ๕´ มักอา้งว่า หิวนัก แลว้ไม่ทา งาน ๖. มักอา้งว่า กระหายนัก แลว้ไม่ทา งาน ************************** “โย โข อานนฺท ภิกฺขุ วา ภิกฺขุนี วา อุปาสโก วา อุปาสิกา วา ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺโน วิหรติ สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมฺมจารี โส ตถาคต สกฺกโรติ ครุกโรติ มาเนติ ปูเชติ ปรมาย ปูชาย.” ดูก่อนอานนท์ ผูใ้ดแล จะเป็นภิกษุก็ตาม เป็นภิกษุณีก็ตาม เป็นอุบาสกก็ตาม เป็นอุบาสิกาก็ตาม ถา้เป็นผูป้ระพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบยิ่ง ปฏิบัติธรรมอยู่ ผูน้นั้ชื่อว่า สักการะ เคารพ นับถือ บูชาพระตถาคต ดว้ยการบูชาอย่างยิ่ง มหาปรินิพพานสูตร ๑๐/๑๒๙ รวบรวมและเรียบเรียงโดย พระธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร ครูพระสอนศีลธรรมฯ สังกัด มมร. วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย วัดชากหมาก ต.สา นักทอ้น อ.บา้นฉาง จ.ระยอง ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๓